ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -lactam...

33
(313 417 . ชนกพร เผาศิริ / 2551) 1 N S O H PhH 2 COCHN H H CH 3 CH 3 COOH Penicillin G N S O H PhOH 2 COCHN H H CH 3 CH 3 COOH Penicillin V NAG NAM Ala D-Glu Lys D-Ala Gly (Gly) 3 Gly NAG NAM NAG NAM NAG NAM Ala Glu-D Lys Ala-D Gly (Gly) 3 Gly NAG NAM NAG NAM Ala D-Glu Lys D-Ala Gly (Gly) 3 Gly -Lactam Antibiotics ยาปฏิชีวนะในกลุมของ -lactam ที่สกัดไดจากรา Penicillium คือ Penicillin G และ Penicillin V ซึ่ง ยับยั้งการสราง cell wall ของแบคทีเรียในขั้นตอนสุดทายโดยเอนไซม cell wall transamidase (CWT) ผนังเซลล (cell wall) จัดไดวาเปนสิ่งที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของแบคทีเรียเพราะทําหนาที่เปน semipermeable barrier คืออนุญาตใหเฉพาะสารที่จําเปนตอการดํารงชีวิตของแบคทีเรียผานได นอกจากนี้ยังเปนผนังที่แข็งแรงและปองกันความดันออสโมติก (osmotic stress) ที่เกิดจากน้ําที่อยูรอบ ในสิ่งมีชีวิต (host) ที่แบคทีเรียไปอาศัยอยู และที่สําคัญคือปองกันไมใหเอนไซม protease จาก host เขา มายอยสลายโปรตีนตาง ในเซลลของแบคทีเรียอีกดวย เนื่องจากวาสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว (prokaryote) เทานั้นที่มี cell wall ในสัตวเลี้ยงลูกดวยนมและคนซึ่งถือวาเปน eukaryote ไมมี cell wall ดังนั้นเอนไซม ตาง ที่ใชในการสรางผนังเซลลจึงจัดไดวาเปนเปาหมายที่เหมาะสมในการออกแบบตัวยับยั้งเอนไซม (enzyme inhibitors) ซึ่งจะสามารถนํามาใชเปนยาปฏิชีวนะได โดยสารดังกลาวจะสงผลขางเคียง (side effect) ตอคนคอนขางนอยเนื่องจากวาไมมีเอนไซมชนิดดังกลาวในคน แบคทีเรียทั้งที่เปน Gram-positive และ Gram-negative ตางก็มีผนังเซลล ดังนั้นยาปฏิชีวนะทีออกแบบใหยั้บยั้งการสรางผนังเซลลก็จะออกฤทธิ์กับแบคทีเรียทั้งสองกลุมแตจะนอยกวาในกรณีของ Gram-negative ซึ่งมีผนังเซลลที่บางกวาและซอนอยูใต outer membrane ผนังเซลลของแบคทีเรีย ประกอบไปดวยชั้นของ peptidoglycan หลาย ชั้นที่เชื่อมตอกันดวยพันธะเปปไทด ในแตละชั้นของ peptidoglycan จะประกอบดวยหนวยที่ซ้ํา กันของ N-acetylglucosamine (NAG) และ N- acetylmuramic acid (NAM) ตอกันเปนสายโซโพลิเมอร และมี crosslink ระหวางสาย peptidoglycan แต ละสายดวยพันธะเปปไทดของกรดอะมิโน

Upload: lamtruc

Post on 31-Jan-2018

247 views

Category:

Documents


3 download

TRANSCRIPT

Page 1: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 1

N

S

OH

PhH2COCHN

H H

CH3

CH3

COOH

Penicillin G

N

S

OH

PhOH2COCHN

H H

CH3

CH3

COOH

Penicillin V

NAG NAM

AlaD-Glu

LysD-Ala

Gly

(Gly)3

Gly

NAG NAM NAG NAM

NAGNAM

AlaGlu-D

LysAla-D

Gly

(Gly)3 Gly

NAGNAMNAGNAM

AlaD-Glu

LysD-Ala

Gly

(Gly)3

Gly

-Lactam Antibiotics

ยาปฏิชีวนะในกลุมของ -lactam ท่ีสกัดไดจากรา Penicillium คือ Penicillin G และ Penicillin V ซ่ึงยับยั้งการสราง cell wall ของแบคทีเรียในขั้นตอนสุดทายโดยเอนไซม cell wall transamidase (CWT) ผนังเซลล (cell wall) จัดไดวาเปนส่ิงท่ีจําเปนตอการดํารงชีวิตของแบคทีเรียเพราะทําหนาท่ีเปน semipermeable barrier คืออนุญาตใหเฉพาะสารท่ีจําเปนตอการดํารงชีวิตของแบคทีเรียผานได นอกจากนี้ยังเปนผนังท่ีแข็งแรงและปองกนัความดนัออสโมติก (osmotic stress) ท่ีเกดิจากน้ําท่ีอยูรอบ ๆในส่ิงมีชีวติ (host) ท่ีแบคทีเรียไปอาศัยอยู และท่ีสําคัญคือปองกันไมใหเอนไซม protease จาก host เขามายอยสลายโปรตีนตาง ๆ ในเซลลของแบคทีเรียอีกดวย เนื่องจากวาส่ิงมีชีวิตเซลลเดียว (prokaryote) เทานั้นท่ีมี cell wall ในสัตวเล้ียงลูกดวยนมและคนซ่ึงถือวาเปน eukaryote ไมมี cell wall ดังนั้นเอนไซมตาง ๆ ท่ีใชในการสรางผนังเซลลจึงจัดไดวาเปนเปาหมายท่ีเหมาะสมในการออกแบบตัวยับยั้งเอนไซม (enzyme inhibitors) ซ่ึงจะสามารถนํามาใชเปนยาปฏิชีวนะได โดยสารดงักลาวจะสงผลขางเคียง (side effect) ตอคนคอนขางนอยเนื่องจากวาไมมีเอนไซมชนดิดังกลาวในคน แบคทีเรียท้ังท่ีเปน Gram-positive และ Gram-negative ตางก็มีผนังเซลล ดังนั้นยาปฏิชีวนะท่ีออกแบบใหยับ้ยั้งการสรางผนังเซลลก็จะออกฤทธ์ิกับแบคทีเรียท้ังสองกลุมแตจะนอยกวาในกรณขีอง Gram-negative ซ่ึงมีผนังเซลลท่ีบางกวาและซอนอยูใต outer membrane ผนังเซลลของแบคทีเรียประกอบไปดวยช้ันของ peptidoglycan หลาย ๆ ช้ันท่ีเช่ือมตอกันดวยพนัธะเปปไทด ในแตละช้ันของ peptidoglycan จะประกอบดวยหนวยท่ีซํ้า ๆ กันของ N-acetylglucosamine (NAG) และ N-acetylmuramic acid (NAM) ตอกันเปนสายโซโพลิเมอร และมี crosslink ระหวางสาย peptidoglycan แตละสายดวยพนัธะเปปไทดของกรดอะมิโน

Page 2: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 2

NAG NAM

AlaD-Glu

LysD-Ala

D-Ala

GlyGly

GlyGly

Gly

L-alanineracemase

D-alanine D-alanyl-D-alanine

+ UDP-acetylmuramyl tripeptide

UDP-acetylmuramyl pentapeptide

ในการสรางผนังเซลลแบงออกเปนสามข้ันตอนหลัก ๆ และใชเอนไซมประมาณสามสิบ

เอนไซม ในแตละข้ันตอนกมี็ตัวยับยั้งแบคทีเรียท่ีใชเปนยาปฏิชีวนะได ข้ันตอนหลักในการสรางผนังเซลลคือ 1. การสรางสารต้ังตน UDP-acetylmuramyl-pentapeptide โดยแบคทีเรียจะรับเอากรดอะมิโน L-alanine จาก host มาเปล่ียนเปน D-alanine กอน ท้ังนี้เพื่อปองกนัการถูกยอยสลายโดยเอนไซมจาก host จากนั้นจึงเกิดการสรางไดเปปไทด D-Ala-D-Ala ซ่ึงจะรวมตัวกบั UDP tripeptide เกิดเปน UDP pentapeptide

ในข้ันแรกนี้พบวามียาปฏิชีวนะ cycloserine ซ่ึงจะจับกับเอนไซม alanine racemase แบบไมยอนกลับจึงจดัวาเปน suicide substrate คือเปนสารท่ีไปจับกับเอนไซมแลวทําใหเอนไซมไมสามารถทําหนาท่ีเดิมไดอีกตอไป 2. การสรางสายยาว peptidoglycan ซ่ึงประกอบดวยสวนท่ีเปนโปรตีนและน้ําตาล ในข้ันนีพ้บวา UDP-acetylmuramyl-pentapeptide จะถูกเปล่ียนไปเปน N-acetylmuramic acid (NAM) โดยท่ี NAM ซ่ึงเช่ือมอยูกับ phospholipids ใน plasma membrane (PM) ของแบคทีเรียจะจับกับ N-acetyl-glucosamine (NAG) แลวจะมี diphosphate phospholipids carrier เปนตัวพาสายยาวของpeptidoglycan ดังกลาวเพื่อนาํออกไปสูบริเวณ periplasmic space แลวจะมีเอนไซมท่ีช่ือ peptidoglycan synthetase ชวยในการสราง peptidoglycan เพิ่มเติมข้ึนจากสวนท่ีมีอยูกอนหนานี ้

ในข้ันนีพ้บวายาปฏิชีวนะ Vancomycin และ Teicoplanin สามารถจับกับสวนท่ีเปน D-Ala-D-Ala ของสาย peptidoglycan ทําใหเกิดความเกะกะจนเอนไซม peptidoglycan synthetase ไมสามารถทําการสรางผนังเซลลได

รูปสายยาวของ peptidoglycan หนึ่งสาย

Page 3: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 3

-D-Ala

D-Ala

NAG NAM

NAM

AlaGlu-D

LysAla-D

Gly

(Gly)3 Gly

NAG

AlaD-Glu

LysD-Ala

Gly

(Gly)3

Gly

CWT

OH

NAG NAM

AlaD-Glu

LysD-Ala

Gly

(Gly)3

Gly

CWT

O

NH2

Crosslinked Strands

-D-Ala

RGlu-D

LysAla-D

Gly

(Gly)3 GlyCWT

OH

NH2

ROCHN

HN CH3

O

H CH3

COOHH CWT

O

ROCHN

O

H CH3

ROCHN

O

H CH3

RD-Glu

LysD-Ala

Gly

(Gly)3GlyHN

CWT

OH+

3. การสราง crosslink ของ peptidoglycan เอนไซม transpeptidase หรือ cell wall transamidase (CWT) จะทําหนาท่ีชวยในการสราง crosslink ระหวางสาย peptidoglycan ทําใหผนังเซลลมีความแข็งแรงมากยิ่งข้ึน ข้ันตอนของการเกิด crosslink เร่ิมจากกรดอะมิโน serine ในเอนไซม CWT ไปสรางพันธะโควาเลนตกบัสวนของ D-Ala-D-Ala ของ peptidoglycan สายท่ีหนึ่ง จากน้ันหมูอะมิโนของ peptidoglycan สายท่ีสองเขามาสรางพันธะเกดิเปน crosslink แลวทําใหไดเอนไซม CWT กลับคืนมา รูปแสดงการเกดิพันธะเปปไทดระหวาง peptidoglycan สองสาย

Page 4: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 4

CWT

OH

N

S

OH

PhH2COCHN

H H

CH3

CH3

COOH

CWT

O

HN

S

OH

PhH2COCHN

H H

CH3

CH3

COOH

N

S

OPenam

N

S

OPenem

N

S

OCarbapenem

N

S

OCephem

N

S

OMonobactam

ข้ันตอนการสรางพันธะเปปไทดในข้ันสุดทายของการสังเคราะหผนังเซลล จะถูกยบัยั้งไดดวยยาปฏิชีวนะในกลุมของ -lactam เนื่องจากวาโครงสรางของสารดังกลาวมีความคลายคลึงกับสวนท่ีเปน D-Ala-D-Ala ของสาย peptidoglycan ซ่ึงจัดวาเปนซับสเตรท (natural substrate) ของเอนไซม CWT เม่ือมี -lactam อยูในระบบของแบคทีเรีย เอนไซมจึงเลือกท่ีจะเขาไปจับ -lactam เพราะความวองไวตอปฏิกิริยาเพ่ือใหเกิดการเปดวงและลดความเครียดของวงส่ีเหล่ียมใน -lactam มีมากกวาการเขาไปจับกับซับเสรตทในสวนของ D-Ala-D-Ala ท้ังนี้การจับของเอนไซมกับ -lactam เปนแบบท่ีไมยอนกลับ ทําใหการยับยั้งเอนไซมมีประสิทธิภาพมากจนทําใหแบคทีเรียไมสามารถดํารงชีวิตอยูตอไปได นอกจากเอนไซม CWT แลวยังพบวามีเอนไซมท่ีจําเปนตอการสรางผนังเซลลของแบคทีเรีย และจับกับยาปฏิชีวนะในกลุมของ -lactam ได ซ่ึงเรียกเอนไซมในกลุมนี้วา penicillin binding protein (PBP) ตามช่ือของ -lactam ท่ีคนพบเปนตัวแรก ซ่ึงพบวามี PBP อยูประมาณหกเอนไซม มีรายงานวา PBP บางชนิดมีความจําเปนตอการรักษารูปรางใหอยูในรูปแทงสําหรับแบคทีเรียในระหวางการสรางผนังเซลล นอกจากนี้ PBP มียังมีความสําคัญในชวงเวลาของการแบงเซลล ดังนั้นการยับยั้งการทํางานของเอนไซมในกลุม PBP ดวยยาปฏิชีวนะเพียงสารเดยีวทําใหการทําลายแบคทีเรียมีประสิทธิภาพดียิ่งข้ึน จากโครงสรางของ -lactam ท่ีวองไวตอปฏิกิริยากับนวิคลีโอไฟลมาก ทําใหโปรตีนหรือเอนไซมบางชนิดในรางกายของคนท่ีมีหมู OH (serine), SH (cysteine), NH2 (lysine) อยูสามารถทําจับกับ -lactam แลวทําใหเกดิ antigenic penicilloyl protein ซ่ึงกอใหเกิดอาการแพยาได พบวาประชากรโลกประมาณ 6-8% จะมีอาการดังกลาวได ยาในกลุมของของ -lactam ท่ีใชในปจจบัุนมีอยูหลายรูปแบบ พบวามีอยูหาระบบหลักของวง -lactam ท่ีมีฤทธ์ิทางชีวภาพ

Page 5: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 5

N

S

OH

PhH2COCHN

H H

CH3

CH3

COOH

Penicillin G

OH-/ H2OHN

S

OH

PhH2COCHN

H H

CH3

CH3

COO

Bezylpenicilloic acid

O

H+/ H2O

N

S

H

H

CH3

CH3

COOH

Benzylpenillic acid

N

HOOC

PhH2C

+ Bezylpenicilloic acid

Zn2+, Cd2+,Cu2+, Pb2+

H2O

HN

S

OH

PhH2COCHN

H H

CH3

CH3

COO

Metallic salts of benzylpenicilloic acid

O

N

S

OH

PhOH2COCHN

H H

CH3

CH3

COOH

Penicillin V

เนื่องจากโครงสรางท่ีความวองไวตอปฎิกิริยาของวง -lactam ทําใหสารในกลุมนี้เกิดการสลายตัวในสภาวะตาง ๆ ไดคอนขางงายท้ังในสภาวะท่ีเปนเบสและเปนกรด การเก็บ -lactam ในสารละลายบัฟเฟอรท่ีมี pH อยูในชวง 6.0 – 6.8 จะชวยปองกันการสลายตัวได นอกจากนี้ระบบดังกลาวกค็วรที่จะไมมีโลหะไอออนใด ๆ ปะปนอยูเนื่องจากไอออนเหลานั้นสามารถทําหนาท่ีเปนกรดของลิวอิสและเรงปฏิกิริยาการสลายตัวของพันธะเอไมดได การที่ยาปฏิชีวนะมีความตานทานตอการสลายตัวในสภาวะท่ีเปนกรดออน ๆ ไดมีความสําคัญมาก เนื่องจากวาการจะใชยารักษาโรคโดยการรับประทานไดนัน้ อยางนอยยาชนิดนัน้ตองมีความตาน ทานการสลายตัวจากกรดได เพราะในกระเพาะอาหารมีความเปนกรดออน ๆ มิเชนนัน้แลวกต็องมีการใหยาโดยการฉีดเขาทางเสนเลือดเพียงอยางเดียว ซ่ึงก็เปนวิธีท่ีไมคอยสะดวกนัก หากตองทําบอยๆ สําหรับ -lactam ท่ีสกัดไดจากราและยังใชเปนยาปฏิชีวนะอยูในปจจุบันคือ Penicillin G และ Penicillin V นั้นพบวา Penicillin V มีความตานทานตอการสลายตัวในสภาวะท่ีเปนกรดไดดีกวา Penicillin G และสามารถใหยาโดยการรับประทานได ท้ังนี้จากโครงสรางของ Penicillin V ท่ี

แตกตาง Penicillin G ตรงท่ีมีการเพิ่มหมูดึง อิเล็กตรอนในตําแหนง ของ amide side-chain ซ่ึงสงผลใหมีการลดความเปนนิวคลีโอไฟลของ ออกซิเจนท่ีหมูเอไมดลง ทําใหการเปดวงของ -lactam เพื่อใหเกิดเปนอนุพันธของ penicillenic acid เปนไปไดยากข้ึน

Page 6: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 6

Penicillin

N

S

OH

HN

H H

CH3

CH3

COOH

H+

(pKa = 2.5-3)

N

C

O

C

C

OR

HC NH CH CO2H

C CH3

CH3

HS

Penicillenic acid

H2O

N

CN

CHCH

CH

S

R

CO2H

CH3

CH3

CO2H

Penillic acid

HN

CHCH2

CH

S CH3

CH3

CO2H

ROCHN

Penilloic acid(major product)

HN

C C

C

OR

HC NH CH CO2H

C CH3

CH3

HSO

HO

Penamaldic acid

NH2 CH CO2H

C CH3

CH3

HS

Penicillamine(major product)

R CONH CH2CHO

Penicilloaldehyde (major product)

C

O

R

Ampicillin

N

S

OH

HN

H H

CH3

CH3

COOH

C

ONH2

การสลายตัวของ penicillin ท่ี pH = 3 ในการสลายตัวของ penicillin ไปเปน penicillenic acid ซ่ึงเปนสารมัธยันตรท่ีไมคอยเสถียรนั้นนาจะเกิดจากโปรโตเนชันท่ีไนโตรเจนของวง -lactam กอนจากนัน้ออกซิเจนท่ีอยูในรูปแอนไอออนของหมูเอไมดจึงเขาไปทําปฎิกิริยา nucleophilic attack ท่ีคารบอนิลของหมูเอไมดในวงของ -lactam เพื่อเปดวง จากน้ันอิเล็กตรอนคูโดดเดีย่วของไนโตรเจนจึงเขาไปสรางพันธะไพกับคารบอนในตําแหนง ทําใหเกิดเปน immine และ thiol ข้ึน แลวจึงเปล่ียนไปอยูในรูปของ enamine จากกลไกดังกลาวก็จะพบวาปจจัยท่ีทําใหเกดิการสลายตัวของวง -lactam คือความเปนนวิคลีโอไฟลของออกซิเจนแอนไออนท่ี amide side chain ในคารบอนตําแหนงท่ี 6 เม่ือเติมหมูท่ีดึงอิเล็กตรอนแบบ inductive ไดอยางเชนออกซิเจนเขาไปจึงทําใหความเปนนิวคลีโอไฟลของออกซิเจนแอนไออนลดลง และทําใหลดอัตราการสลายตัวของ Penicillin V ในสภาวะท่ีเปนกรดได

การเติมหมูอะมิโนในตําแหนง คารบอน ของเอไมด อยางเชนในโครงสรางของ ampicillin ชวยเพิ่มความเสถียรของ -lactam ในสภาวะท่ีเปนกรดไดดีเชนกัน

Page 7: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 7

Methicillin

N

S

OH

HN

H H

CH3

CH3

COOH

C

O

OCH3

OCH3

N

S

OH

ROCHN

H H

CH3

CH3

COOH

Penicillin

HN

S

OH

ROCHN

H H

CH3

CH3

COOH

Penicilloic acid

OH

H+/ pH =3

โดยพบวาในสภาวะท่ีเปนกลางหรือเปนกรดเล็กนอย หมูอะมิโนจะอยูในรูปของ ammonium ion ซ่ึงเปนหมูท่ีดึงอิเล็กตรอนอยางแรง ผลของความเกะกะไมสามารถอธิบายความเสถียรในสภาวะท่ีเปนกรดของ -lactam เหลานีไ้ดเนื่องจาก Methacillin ซ่ึงมีหมู methoxy ท่ีใหอิเล็กตรอนแทนท่ีในวงเบนซีนกลับมีความวองไวตอกรดมากกวา Penicillin G ในสภาวะของกรดท่ีแรงจะไมพบการสลายตัวของ penicillin ไปเปนสารมัธยันตร penicilloic acid โดยจะพบเฉพาะในสภาวะท่ีเปนกรดออนหรือเปนเบสเทานั้น แตก็มีการศึกษาพบวา penicilloic acid จะอยูในสภาวะท่ีสมดลุกับ penamaldic acid และจะเกดิปฎิกิริยา decarboxylation ใหได penilloic acid ในสภาวะท่ีเปนกรด ยาปฎิชีวนะ Penicillin G และ Penicillin V ซ่ึงคนพบในยคุแรก ๆ ยังคงมีการใชอยูในปจจุบัน แตก็พบกับปญหาซ่ึงทําใหตองมีการพัฒนายาในกลุมนีใ้หมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ปญหาดังกลาวคือการดื้อตอยา ปจจยัท่ีสงผลใหเกิดการดื้อยาของแบคทีเรียประกอบดวย 1. การเกิด mutation ของ PBP ซ่ึงรวมท้ัง cell wall transpeptidase ดวย ปรากฏการณดังกลาวทําใหความสามารถในการเขาไปจบักับเอนไซมของยาในกลุม -lactam มีประสิทธิภาพนอยลงไป 2. การลดลงของ Bioavailability ของยา ในการออกฤทธ์ิตานแบคทีเรียอยางมีประสิทธิภาพ ตองมีปริมาณของยาในระบบชีวภาพหรือในแบคทีเรียท่ีมากพอ ในแบคทีเรียท่ีเปนชนิด Gram-negative มีขบวนการในการยับยั้งการเขาถึงผนังเซลลของแบคทีเรีย โดยการสราง Lipopolysaccharide (LPS) ไวรอบๆ peptidoglycan โดย LPS จะเปนตัวคอยควบคุมหรือกันไมใหยาเขาไปในระบบได จึงตองมีการพัฒนาอนุพนัธของ Penicillin ซ่ึงจะสามารถผานเขาไปในเซลลไดงายข้ึน นอกจากนีแ้บคทีเรียยังไดพัฒนาระบบท่ีจะคอยขับยาปฎิชีวนะออกมาโดยใชพลังงานเขาชวย

Page 8: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 8

N

S

OH

ROCHN

H H

CH3

CH3

COOH

penicillin pharmacophore

HN

S

OH

ROCHN

H H

CH3

CH3

COOHOH

-lactamase

penicilloic acid

3. การหล่ังเอนไซม -lactamase เพื่อมาทําลายพันธะ C-N ของเอไมดในวง -lactam ของยาปฏิชีวนะ การพัฒนาตัวเองของแบคทีเรียเร่ิมจากการไดมาซ่ึงยีนสําหรับ -lactamase แลวก็ผลิตออกมาในปริมาณท่ีมาก ๆ ข้ึน ซ่ึงเปนกลไกท่ีเปนเร่ืองปรกติสําหรับแบคทีเรียในกลุมของ Staphylococcus aureus และก็ไดมีการพัฒนากลไกในแบบเดยีวกันกับแบคทีเรียในตระกลูอ่ืน อีกดวย ในแบคทีเรียท่ีเปน Gram-positive จะมีการปลอยเอนไซม -lactamase ออกมายังบริเวณรอบ ๆ แบคทีเรีย ทําใหเกิดไฮโดรไลซิสของวง -lactam กอนท่ียาจะเขาถึงแบคทีเรีย สวนแบคทีเรีย Gram-negative จะเกดิไฮโดรไลซิสข้ึนบริเวณ periplasmic space ซ่ึงอยูกอนช้ันของ peptidoglycan

นอกจากเอนไซม -lactamase หรือ penicillinase ท่ีสามารถทําลายโครงสรางของการออกฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาของของยาในกลุม -lactam แลว กย็ังมีเอนไซม acylase ท่ีจะทําปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสท่ีบริเวณ amide sidechain ซ่ึงเปนข้ันตอนท่ีสามารถทําใหการออกฤทธ์ิของ -lactam ลดลงไดเชนกัน ซ่ึงจะไปลดความเสถียรของ -lactam ลง ถึงแมจะไมไดทําลายโครงสรางของวง -lactam โดยตรงก็ตาม การพัฒนาอนพุันธุของ penicillin เพื่อใหตานทานตอเอนไซม -lactamase ไดคือการเพิ่มความ เกะกะบริเวณ amide sidechain ท่ีคารบอนตําแหนงท่ีหก ทําใหเอนไซม -lactamase ไมสามารถเขาถึงวง -lactam ตัวอยางเชน methacillin ซ่ึงสามารถตานทานเอนไซม -lactamase ได อยางไรก็ตามการปรับเปล่ียนโครงสรางในลักษณะน้ีก็สงผลใหความสามารถในการท่ี methacillin ไปจับกับเอนไซมในกลุมของ PBP ไดนอยลงเชนกัน ยาปฎิชีวนะ oxacillin cloxacillin และ dicloxacillin เปนการปรับเปล่ียนโครงสรางโดยใชหลักการของ bioisosteric ซ่ึงเปนการแทนที่หมู benzyl ดวยวง isoxazoyl หลักการของ bioisosteric คือการใชหมูแทนท่ีท่ีมีคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ซ่ึงรวมไปถึงทางอิเล็กทรอนิกท่ีคลายคลึงกัน ท้ังนี้เพื่อเปนการทดลองเพ่ือเพิ่มฤทธ์ิทางชีวภาพหรือลดผลขางเคียงท่ีไมตองการ และปจจัยดานอ่ืนๆ ในคุณสมบัติของยา พบวายาปฏิชีวนะท้ังสามสารออกฤทธ์ิยับยั้งแบคทีเรียท่ีไมไดผลิตเอนไซม -lactamase ไดไมคอยดีนัก แตมีฤทธ์ิยับยั้งแบคทีเรียท่ีผลิต เอนไซม -lactamase ไดคอนขางดี แสดงใหเห็นวายาดังกลาวสามารถจับกับเอนไซม -lactamase ไดดกีวา PBP นอกจากนี้ยังพบวายา cloxacillin และ dicloxacillin มีความตานทานตอปฎิกิริยาไฮโดรไลซิสในสภาวะท่ีเปนกรดไดดีเนื่องจากมีหมูแทนท่ีท่ีมีคา EN ท่ีสูงเปนหมูแทนท่ีในวงแอโรมาติก การปรับปรุงโครงสรางของ penicillin มีอีกเหตุผลคือเพิม่ความหลกหลายในการออกฤทธ์ิของยาตอแบคทีเรียหลาย ๆ species (broad spectrum antibiotics) โดยเฉพาะแบคทีเรียในกลุม Gram-negative ซ่ึงมีผนังเซลลท่ีนอยและอยูถัดจากช้ัน

Page 9: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 9

N

S

OH

ROCHN

H H

CH3

CH3

COOH

penicillin pharmacophore

R

OCH3

OCH3

methicillin

R

Oxacillin; X = Y = HCloxacillin; X = H, Y = ClDicloxacillin; X = Y = Cl

X

Y

ON

CH3

COOH

carbenicillin

S

COOH

ticarcillin

N

S

OH

ROCHN

H H

CH3

CH3

COOH

penicillin pharmacophore

R

Ampicillin; X = HAmoxicillin; X = OH

X

H2N

D-configuration

ของ plasma membrane และ periplasmic space ลงมา ยาดังกลาวจะตองสามารถเคล่ือนท่ีผานท้ังสองบริเวณเพื่อมาออกฤทธ์ิยับยั้งการสรางผนังเซลลได

Carbenicillin และ ticarcillin เปนยาปฏิชีวนะท่ีออกฤทธ์ิกับแบคทีเรียในกลุมของ Gram-negative ไดดกีวา เนื่องจากความมีข้ัวของหมูคารบอกซิล ทําใหยาท้ังสองสารสามารถเคล่ือนท่ีผาน plasma membrane และ periplasmic space เพื่อไปยับยั้งการสรางผนังเซลลไดดีกวาโมเลกุลท่ีมีข้ัวนอยกวาอยาง penicillin G

ยาปฏิชีวนะในกลุมของ Ampicillin และ Amoxicillin ซ่ึงมีหมูอะมิโนท่ี –คารบอน และมีความเปนข้ัวมากข้ึน จะทําใหยาในกลุมนีอ้อกฤทธ์ิไดดกีับแบคทีเรียในกลุม Gram-negative ดวย นอกจากนี้การเพิ่มไครัลคารบอนใหเปน D-isomer พบวามีฤทธ์ิท่ีดีกวา L-isomer หรือโมเลกุลท่ีไมมีไครัลคารบอนท่ีตําแหนง อยาง penicillin G ประมาณแปดเทา

Page 10: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 10

N

O

OH

H

COOH

clavulanic acid

OH

-lactamase

OH

N

S

OH

H

COOH

OO

Amoxicillin

N

S

OH

HN

H H

CH3

CH3

COOH

C

ONH2

HOSulbactam

Augmentin

N

O

OH

H

COOH

clavulanic acid

OH

N

S

OH

H

COOH

sulbactam

OO

ท้ังนี้พบวาการเพ่ิมความเปน broad spectrum antibiotics ของ Ampicillin และ Amoxicillin ไมเกี่ยวของกับการตานทานตอเอนไซม -lactamase โดยพบวา ยาท้ังสองสารจะวองไวตอ -lactamase มากกวา penicillin G

ในการรักษาโรคติดเช้ือจากแบคทีเรียจึงไมมีประสิทธิภาพมากนักหากใช -lactam antibiotic เพียงอยางเดยีว จนกระท่ังมีการคนพบผลิตภัณฑทางธรรมชาติจากแบคทีเรียท่ีสามารถจับกับเอนไซม -lactamase ไดคือ clavulanic acid ซ่ึงตอมาก็ไดมีการพัฒนาโครงสรางของ -lactamase inhibitors สารใหม ๆ ข้ึนมาอีกเชน sulbactam สารท่ีจัดเปน -lactamase inhibitors ถือไดวาเปนยาปฏิชีวนะท่ีมีฤทธ์ิคอนขางออน แตสารเหลานีจ้ะทําหนาท่ีในการปองกันยาปฏิชีวนะท่ีแทจริงจากปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสในแบคทีเรียได ดงันั้นในปจจุบันจึงมีการใชยาท้ังสองประเภทในลักษณะผสมกัน อยางเชน ยาท่ีมีช่ือทางการคาวา Augmentin หรือ Amoxy จะมีสวนผสมของ amoxicillin กับ sulbactam หรือ clavulanic acid ผสมอยู

Page 11: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 11

N

O

H

COOH

thienamycin

S

H

HO

CH3

H

NH2

N

O

H

COOH

imipenem

S

H

HO

CH3

H

HN

NH

-lactamase

H2C

OC N

CH

C

C

XR

COOHOH

-lactamase

H2C

C HN

CH

C

C

XR

COOHO

O

I

-lactamase

H2C

C N

CH

C

C

XR

COOHO

O inactivation

-lactamase

HC

C HN

CH

C

C

XR

COOHO

O

H2O

H2O

-lactamase

OH

+ hydrolysis products

-lactamase

H2C

C N

CH

C

CH

XR

COOHO

O

IIH2O

นอกจากนี้ยังมีการคนพบผลิตภัณฑทางธรรมชาติท่ีเปน -lactamase inhibitors เพิ่มข้ึนอีกคือสาร thienamycin ซ่ึงสกัดไดจาก Streptomyces cattlea สาร thienamycin เปนสารท่ีมีโครงสรางนาสนใจตรงท่ีวามีฤทธ์ิเปนสารตานแบคทีเรียท่ีดีมาก ท้ังยังเปนสารยับยั้งเอนไซม -lactamase ท่ีดมีาก ๆ ดวยเชนกัน โดยจะเห็นไดวาในโครงสรางของ thienamycin นั้นมีอะตอมของซัลเฟอรอยูขางนอกวงหาเหล่ียม แตพบวา thienamycin ไมเคยถูกใชเปนยาปฏิชีวนะ เนื่องจากวาในสภาวะท่ีเปนสารละลายน้ีจะเกิดการสลลายตัวไดงายมากและหมดฤทธ์ิไปในท่ีสุด แตเม่ือมีการปรับเปล่ียนโครงสรางไปเปน imipenem แลวพบวาสารนีส้ามารถซึมผานผนังเซลลของแบคทีเรียไดดี มีความเสถียรและยับยั้งเอนไซม -lactamase หลาย ๆ เอนไซมได กลไกในการยบัยั้งเอนไซม -lactamase ของ-lactamase inhibitors

Page 12: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 12

N

O

OH

H

COO-K+

clavulanate potassoim

OH

N

O

H

COO-

imipenem

S

H

HO

CH3

H

HN

NH2+

CNH

O

C CH(CH2)2SCH2CH

HOOC

NH3+

COO-

cilastatin

จากกลไกในการยับยั้งเอนไซม -lactamase โดยพบวา active site ของเอนไซมจะเกีย่วของกับกรดอะมิโน serine ทําใหสามารถแบง -lactamase inhibitors ออกไดเปนสองกลุมข้ึนอยูกับลักษณะของการจับกับเอนไซม กลุมแรกจัดเปน Class I อยางเชน clavulanic acid ซ่ึงมีอะตอมของออกซิเจนเปนองคประกอบของวงหาเหล่ียม เม่ือเกิดการจับกับเอนไซม ทําใหมีการเปดออกของวงหาเหล่ียมแลวทําใหอยูในรูปของ imine และ acylenzyme intermediate ซ่ึงสามารถเกิดการสลายตัวไดจากปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสเพื่อใหไดเอนไซมกลับคืนมาพรอมกับผลิตภัณฑท่ีไมสามารถทําหนาท่ีเปน antibiotic ไดอีกตอไป หรืออาจจะเปนไดวา imine intermediate ของเอนไซมท่ีเกิดข้ึนจะเกิดการ tautomerize ไปเปน enamine intermediate ซ่ึงมีความเสถียรและทําใหเอนไซม -lactamase ไมสามารถทําหนาท่ีไดอีกตอไป การที่สารยับยั้งเอนไซมมีการจับกับเอนไซมแลวไดเปน acylenzyme intermediate ท่ีมีความเสถียรไดนั้น มีช่ือเรียกขบวนการเชนนี้วา transient inhibition หรือการยับยั้งแบบช่ัวคราว เพื่อจะเปดโอกาสให -lactam antibiotics ตัวอ่ืน ๆ ไปจับกับเอนไซมท่ียับยัง้การสรางผนังเซลลได จะเหน็ไดวาการยับยั้งเอนไซมของ Class I เปนการทําใหเอนไซมไมสามารถทําหนาท่ีไดอยางถาวร สวนในการยับยั้งของ Class II อยางเชน thienamycin จะจบักับเอนไซมแลวทําใหอยูในรูปของ cyclic imime acylenzyme intermediate ซ่ึงถือวาเปน transient inhibition เชนกัน จากข้ันตอนการยับยั้งของเอนไซมท้ังสองลักษณะไมสามารถระบุไดแนชัดวาการยบัยั้งในแบบของ Class I หรือ Class II จะมีประสิทธิภาพมากวากนั ท้ังนี้ตองข้ึนกับปจจัยอ่ืน ๆ เกี่ยวกับโครงสรางของสารนั้น ๆ อีกดวย ยกตัวอยางเชน clavulanic acid ซ่ึงนํามาใชทางเภสัชในรูปของเกลือ clavulanate potassium โดยพบวาสารนี้มีความเสถียร ในสภาวะท่ีเปนกรด (สังเกตวาในโครงสรางไมมีหมูแทนท่ี ท่ีเปน amide sidechain ในคารบอนตําแหนงท่ี 6) ยาในช่ือของ Augmentin ท่ีเกิดจากผสมกนัของ amoxicillin กับ clavulanate potassium ใชในการรักษาโรคติดเช้ือบริเวณผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ หู และระบบทางเดินปสสวะ ยา Primaxin ซ่ึงประกอบดวย imipenem ซ่ึงอยูในรูปของ zwiterrian ion ในสภาวะท่ีเปนกลาง ผสมกับ cilastatin ใชในการรักษาโรคติดเช้ือไดหลากหลายชนิดมากกวา Augmentin รวมท้ังการติดเช้ือในระบบสืบพนัธุ

Page 13: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 13

oxyanion hole

NH

NHO

N

Ser70

O HLys73

H2N

O Ser130H

Class A -lactamase

oxyanion hole

NH

NHO

N

Ser64

O H

Tyr150

H2N Lys315

Class C -lactamase

O H

ความสามารถในการยับยั้งเอนไซม -lactamase ของ imipenem มีเพิ่มข้ึนมาจากโครงสรางท่ีเปนวง -lactam ธรรมดาก็คือมีการมีพันธะคูในวง cyclopentene ท่ีเช่ือมอยูกับวง -lactam ทําใหเพิ่มความความเครียดของโครงสรางมากข้ึน imipenem จึงมีความวองไวตอปฏิกิริยาการเปดวงมากข้ึนเชนกัน สาร cilastatin จัดวาเปนตัวยับยั้งการทํางานของเอนไซม dehydropeptidase-1 ซ่ึงหล่ังออกมาจากตับ การศึกษาพบวา imipenem จะสลายตัวไดงายมากจากเอนไซมชนิดนี้ วิธีรักษาโรคโดยใชหลักการของ drug combination จะชวยให imipenem สามารถทําหนาท่ีเปน antibitotic ไดอยางสมบูรณข้ึน จากการศึกษารายละเอียดของเอนไซม -lactamase (Nat. Prod. Rep. 1999, 16, 1-19) ใหลึกยิ่งข้ึนไป พบวาสามารถแบงประเภทของเอนไซมไดเปน Class A, B, C และ D โดยขึ้อยูกับลําดับของกรดอะมิโนในเอนไซม ท้ังนี้เอนไซมท่ีมีการศึกษามากที่สุดคือ Class A และ C ซ่ึงเปนเอนไซมท่ีอยูในแบคทีเรียท่ีกอใหเกดิโรคท่ีสําคัญ ๆ ในคน ลักษณะบริเวณ active site ของเอนไซมท้ังสองกลุมมีความตางกันในสวนของกรดอะมิโนขางเคียงนอกจาก serine ท่ีทําหนาท่ีในการเปดวงของ -lactam ใน Class A -lactamase กรดอะมิโน Lys73 จะทําหนาท่ีเปนเบสเพ่ือจะดึงโปรตรอนออกจาก หมูไฮดรอกซิลของ Ser70 จากนั้นออกซิเจนแอนไอออนก็จะทําหนาท่ีเปดวง โดยไนโตรเจนจะไดรับโปรตรอนจาก Ser130 ใน Class C -lactamase กรดอะมิโน Tyr150 จะถูก deprotonate ให phenoxide anion ซ่ึงทําหนาท่ีไฮโดรไลซพันธะเอไมดได จากโครงสรางใน active site ของเอนไซมท้ังสองกลุมช้ีใหเหน็วาวงแหวนส่ีเหล่ียมของ -lactam ไมไดมีผลตอการจับกับเอนไซม จึงไดมีการพัฒนาสารยับยั้งเอนไซมข้ึนมา

Page 14: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 14

Phosphonic acid derivatives

R C N

O H

CH2 P

O

O

X

N

S

OH

HN

H H

CH3

CH3

COOH

COOH

carbenicillin

S

COOH

ticarcillin

C

O

N

S

OH

HN

H H

CH3

CH3

COOH

C

O

ใหมท่ีมีโครงสรางแตกตางกันไปจากเดิม เพื่อลดปญหาของการดื้อยาจากการใชสารท่ีมีโครงสรางเดิม ๆ เปนเวลานาน ๆ กลุมวิจัยของ Pratt และ Govardhan (J. Org. Chem. 2006, Synthesis and evaluation of ketophosphonates as -lactamase inhibitors) พบวาสารประกอบเปปไทดท่ีเปนโซตรง (RO(หรือS)-CO-AA-R’-COOH) สามารถถูกไฮโดรไลซไดดวยเอนไซม -lactamase ในกลุม A B และ C จึงไดทําการศึกษาเพิ่มเติมพบวา สารท่ีมีโครงสรางท่ี เปนอนุพันธุของ phosphonic acid มีฤทธ์ิในการยับยั้ง เอนไซม Class C -lactamase ได เม่ือ X เปน leaving group ท่ีดี และ X จะถูกแทนท่ีดวยออกซิเจน จาก serine เม่ือทดลองโดยใช X-ray crystallography ทําใหสรุปไดวาคุณภาพท่ีดีของ leaving group มีความ สําคัญมากกวาความคลายคลึงกันในโครงสรางของสารยับยั้งเอนไซมกบัซับเสตรทของเอนไซม แบบฝกหัดท่ี 1 1. carbenicillin และ ticarcillin ควรมีความเสถียรในสภาวะท่ีเปนกรดหรือไม หากไมเสถียรควรจะมีการสลายตัวใหผลิตภัณฑท่ีมีโครงสรางอยางไรบาง 2. สารท้ังสองชนิดควรมีความตานทานตอเอนไซม -lactamase หรือไม แบบฝกหัดท่ี 2 ในสภาวะท่ีเปนกลางของสารละลายน้ํา โครงสรางของ Ampicillin และ Amoxicillin ควรมีลักษณะอยางไร และสารท้ังสองควรละลายนํ้าไดดีหรือไม

Page 15: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 15

N

O

HN

H H

cephalosporin C

C

ONH2

HOOCS

COOH

O

O

CH3

NO

HN

H H

C

ONH2

HOOCS

COOH

O

O

CH3

ต้ังแตเร่ิมมีการคนพบ penicillin ซ่ึงสามารถยับยั้งการสังเคราะหผนงัเซลลไดนั้น มีการศึกษาเกีย่วกับ structure activity relationship (SAR) ของสารในกลุมนี้คอนขางนอย เพื่อปรับเปล่ียนโครงสรางของ penicillin กอนนําออกสูทองตลาด ตางจาก -lactam antibiotics ในกลุมถัดไปคือ cephalosporins ซ่ึงตองใช SAR คอนขางมากกวาจะพบสารท่ีสามารถในในการรักษาไดด ี สาร Cephalosporin C เปนสารท่ีสกัดไดจาก Cephalosporium acremonium ซ่ึงพบวาเปนสารตานแบบออน ๆ ตอแบคทีเรียท่ีดื้อตอยา penicillin จากโครงสรางท่ีเปนหกเหล่ียมเช่ือมอยูกับวง -lactam นาจะสงผลใหโครงสรางของ Cephalosporin C มีความเครียดและวองไวตอปฎิกิริยาการเปดวงนอยกวากรณขีอง penicillin แตท้ังนี้การทีมี่พันธะคูในวงหกเหล่ียม (เพิ่มความเครียด) และมีหมู acetoxy ซ่ึงเปนหมูหลุดออกท่ีด ีและตออยูกับคารบอนบน C3 ทําใหโครงสรางดังกลาวเปนเสมือนแหลงรวมของอิเล็กตรอนและมีความวองไวตอนวิคลีโอไฟลมากข้ึน กลไกของการยับยั้งการสังเคราะหผนังเซลลของแบคทีเรียกเ็กดิไดในลักษณะเดียวกนักับ penicillin แบบฝกหัดท่ี 3 1. แสดงผลิตภัณฑท่ีเปนไปไดท้ังหมดจากการสลายตัวของ สาร Cephalosporins ในสภาวะท่ีเปนกรด (กําหนดหมูแทนท่ีของเอไมดท่ีตําแหนง C7 เปน R) 2. แสดงกลไกในการจับกนัระหวาง Cephalosporins กับเอนไซม -lactamse

Page 16: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 16

NO

HN

H H

C

O

R1

S

R2

COOH

12

3

45

67

8

First Generation R1 R2 Acid Resistant -lactamseresistance

Cephalexin

Cephradine

Cefadroxil

Cefaclor

Cephalothin

Cephapirin

Cefazoin

CH

NH2

CH

NH2

CH

NH2

CH

NH2

HO

CH3

CH3

CH3

Cl

S CH2

CH2OCOCH3

N S CH2

N

NN CH2

CH2OCOCH3

NN

S CH3H2CS

Yes

Yes

Yes

Yes

No

No

No

Poor

Poor

Poor

Poor

Poor

Poor

Poor

การปรับปรุงโครงสรางของ Cephalosporin C เกิดจากวิธีการแบบ semisynthesis โดยการเติมหมูแทนท่ีในสวนของเอไมดท่ีคารบอนตําแหนงท่ีเจด็และท่ีคารบอนท่ีตําแหนงท่ีสาม สามารถแบงสารออกไดเปนสามกลุมตามคุณสมบัติท่ีไดรับการพัฒนาข้ึนกอนนําออกสูทองตลาด จากการทดลองของ Cephalosporins พบวาไมมีปฎิกิริยาการเปดวงของ -lactam จากออกซิเจนแอนไออนท่ีหมูเอไมดในคารบอนตําแหนงท่ีเจ็ด เพื่อใหไดเปนวง oxazolone เชนเดยีวกันกับการเกิดเปน penicillanic acid จากปฎิกิริยาของ penicillin G ในสภาวะที่เปนกรด แตพบวาในสภาวะท่ีเปนเบสหรือเปนกลาง หมูอะมิโนท่ี -carbon ของหมูเอไมดท่ี C7 อยางเชนในโครงสรางของ cephradine หรือ cefadroxil จะทําหนาท่ีเปนนิวคลีโอไฟลแลวเปดวงของ -lactam ไดเปนอนุพันธุของ diketonpiperazine

Page 17: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 17

NO

HN

H H

C

O

R1

S

R2

COOH

12

3

45

67

8

Second Generation R1 R2 Acid Resistant -lactamseresistance

Cefamandole

Cefonacid

Ceforanide

Cefuroxime

Cefoxitin

CH

OH

CH

OH

CH2

No

Poor-Average

CH2NH2

OC

NOCH3

SCH2

N N

NNCH3

CH2S

N N

NNCH2CO2H

CH2S

N N

NNCH2CO2H

CH2S

CH2OCONH2

CH2OCONH2

No

No

No

No

Average

Poor-Average

Good

Good

Third Generation R1 R2 Acid Resistant -lactamseresistance

Moxalactam

Cefotetan

Cefotaxime

Cefoperazone

CH

CO2H

CH

GoodN N

NNCH3

CH2S

N N

NNCH3

CH2SNo

NoHO

S

O

X

S

SH2NOC

H2NOC

S

NH2N C

NOCH3

CH2OCONH2 S

SN N

NNCH3

CH2SCH

NH

HO

C O

N

NCH2CH3

O

O

No

No

Good

Good

Good

Page 18: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 18

azthreonam

N

S

+H3N

C CONH

N

CH3

OSO3

-

NOC

CH3

CH3

HOOC

norcardin A

N

OCH

COOH

OHOCHNC

NOH

HOOCHC(H2C)2O

H2N

carumonam

N

O

NHO

SO3H

NH2

OO

N

S

NH2N

O

COOH

N

NH

O

C6H5

NH2

O Cl

COOH

Lorabid

N

ONH

O

COOH

O

COOH

Latamoxef

S

NN

NN

OMe

HO

นอกจากนี้ยังมีการสังเคราะห -lactam antibiotics ท่ีมีโครงสรางเปน monobactam เพิ่มเติม ยกตัวอยางเชน Azthreonam Nocardin A และ Carumonan ท้ังสองสารมีฤทธ์ิในการตานทานเอนไซม -lactamase ไดคอนขางดีซ่ึงสารเหลานี้ลวนมีโครงสรางอยางเดียวท่ีเหมือนกันกับสาร -lactam antibiotics สารอ่ืน ๆ คือวง -lactam ดงันั้นจึงสรุปไดวาโครงสรางท่ีมีผลตอฤทธ์ิทางชีวภาพ (pharmacological activity) ของสารในกลุม -lactam antibiotics ท้ังหมดคือ วง -lactam ไมใชหมูแทนท่ีท่ีตําแหนงท่ีสองหรือหก หรือโครงสรางท่ีเปนวงของ thiazolidine แตอยางใด ท้ังยังมีการสังเคราะหยาในกลุมอ่ืน ๆ ท่ีใหผลในการรักษาท่ีดีเชนกนั เชน Latamoxef และ Lorabid

Page 19: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 19

penicillin V

N

O

HN

O

PhO

H H

S

CO2H

HN

O

HN

O

PhO

H H

S

CO2HOH

HN

O

HN

O

PhO

H H

S

CO2HOtBu

N

O

O CHO

CO2tBu

tbutyl phthalimido- malonaldehyde

D-penicillaminehydrochloride

HCl .H2N

HS CH3

CH3

CO2H

(+/_) valine

H3CCO2H

CH3

NH2

ClCH2COCl

(78-79%)H3C

CO2H

CH3

HN O

Cl

Ac2O

(75%)

N

O

O

CH3

H3C

H3C

1. HCl, H2O, reflux

MeOH (75%)

Me

O

NH

CO2Me

MeHSMe

2. Acetone

(100%)NH

S

CO2H

CH3

CH3

H3C

H3C

HCO2H, Ac2O

(74%)N

S

CO2H

CH3

CH3

H3C

H3C

CHO

isopropylidene-DL-penicillamine

N-formyl isopropylideneDL-penicillamine

การสังเคราะห -lactam antibiotics การสังเคราะห penicillin มีความทาทายเนือ่งจากโครงสรางท่ีมีไครัลคารบอนถึงสามตําแหนง การสังเคราะหโดยกลุมวจิัยของ Sheehan, J. C. แหง MIT ในชวง 1957 (Sheehan, J. C. The Enchanted Ring: The untold Story of penicillin, 1982) นํามาซ่ึงปฎิกิกริยาท่ีนาสนใจและสามารถนํามาประยกุตใชในการสังเคราะหในยุคปจจบัุนได

Page 20: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 20

1. brucine

3. conc. HCl

2N HCl

(99%)N

S

CO2H

CH3

CH3

H3C

H3C

CHO

N-formyl isopropylideneDL-penicillamine

2. resolution

N

S

CO2H

CH3

CH3

H3C

H3C

CHO

N-formyl isopropylideneD-penicillamine

HCl-H2N

HS

CO2H

CH3

CH3

hydrochloride

D-penicillamine

Brucine

NO

O

MeO

MeO

N

H

H

H

H

NaOAc,HCl-H2N

HS

CO2H

CH3

CH3

hydrochloride

D-penicillamine

+

N

O

O

BuO2tC

CHO

tButyl phthalimido

malonaldehydate

EtOH, H2O

D-+ (D-

HNO

N H HS

CO2HOtBu

O

O

1. N2H4

2. HCl, H2O

HNO

ClHH2N H HS

CO2HOtBu

PhOCH2COCl

Et3N (70%)HNO

NH H HS

CO2HOtBu

O

PhO

1. HCl, CH2Cl22. pyr., acetone, H2O

HNO

NH H HS

CO2HOH

O

PhO 1. KOH

2.

(100%)

N C N

NO

NH H HS

CO2K

O

PhO

(10-12 %)

Page 21: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 21

HNO

NH H HS

CO2HOH

O

PhO 1. KOH

2.

N C N

HN

O

H HS

CO2K

N

OPhO

HN

O N

S

OCOOH

Penicillin G

Me3SiCl/TEA

HN

O N

S

OCOOSiMe3

PCl5, pyridine

N

Cl N

S

OCOOSiMe3

BuOHN

OBu N

S

OCOOSiMe3

H3O+

H2N

N

S

OCOOH

6-aminopenicillanic acid (6-APA)

HN

N

S

OCOOH

Methicillin

OMe

OMe

O

HN

N

S

OCOOH

Cloxacillin

Cl

O

N

O

HN

N

S

OCOOH

Ampicillin

N3

O

Pd/C, H2

อนุพันธุอ่ืน ๆ ของ penicillin จะไดมาโดยวธีิ semisynthesis จาก penicillin

Page 22: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 22

H2N

N

S

OCOOH

6-aminopenicillanic acid (6-APA)

1. HONO

2. Br2 N

S

OCOOH

Br

Br

KMnO4

N

S

OCOOH

Br

Br OOPd/C, H2

N

S

OCOOH

OO

Sulbactam

N N

NN

CH3

N N

NN

CH3

HN

N

O

Cephalosporin C

H HS

OAc

CO2H

OHOOCNH2

1. NOCl

2. H3O+

H2N

N

O

7-aminocephalosporanic acid (7-ACA)

H HS

OAc

CO2H

HN N

NN

S

CH3

H2N

N

O

H HS

CO2H N N

NN

S

CH3

1.

2. Zn

Ph

OCOCHCl2

COCl

HN

N

O

H HS

CO2H N N

NN

S

CH3

O

OH

Cefamandole

S

COCl

HN

N

O

H HS

OAc

CO2H

S

O

Cephalothin

N

HN

N

O

H HS

CO2

S

O N

Cephaloridine

Page 23: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 23

N

S

OCOOPNB

O

NCS

2. TiCl4

Cefaclor

HN

O

ON

S

O

COOPNB

O

HN

O

PhO Cl

ZnCl2

N

S

O

COOPNB

O

HN

O

PhO

1. PCl5/ pyr.

N

S

O

COOPNB

HN

O

PhO

OH

1. O3

2. Hydrolysis

N

S

O

COOPNB

H2N

Cl

Ph

NHtBoc

CO2H1.

2. TFA

3. H3O+

N

S

O

COOH

HN

ClO

NH2

BnNH2

2. Pd/C, H2

1. HCl

O

CO2Et CO2Et

NHBn

CO2Et CO2Et

O

ONBn

CO2Et CO2Et

O

NaCNBH4

NHBn

CO2Et CO2Et

OH

O

O

CO2H

NH2

BnOH

HClCO2H NH2

CO2Bn

OH

การสังเคราะห imipenem

Page 24: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 24

CO2H NH2

CO2Bn

OH

DCC

NH

CO2Bn

OH

O

2. Pd/C, H2

1. TMSCl

N

CO2H

OH

O TBDMS

O

O

O

O

1. CDI2. PNBOH3. HCl

NH

OH

O

O

CO2PNB

DEAD

PPh3

NH

OH

O

O

CO2PNB

TsN3

NH

OH

O

O

CO2PNBN2

Rh(OAc)2

NH

OH

O

O

CO2PNB

N

OH

O

O

CO2PNB

(PhO)2POCl

2. NaOH3. HCl

N

OH

O

OPO(OPh)2

CO2PNB

i-Pr2NEt

HS

HN

N

H

SiMe3N

OH

O

CO2H

S

HN

NH

H

Imipenem

1.

Page 25: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 25

1. SOCl2/ MeOH

2. NH3OH

H2N

O

BzOCOCl

PySO3

OH

NH2

H2N

O

OH

NH2

BzOCOHN

O

OH

MsCl

NH2

BzOCOHN

O

OSO2CH3

NHSO3

BzOCOHN

O

OSO2CH3KHCO3

NBu4NSO3

BzOCOHN

O

Pd/C, H2

NSO3H

BzOCOHN

O

N

S

H2N

N

CO2H

O

CO2Bz

1. DCC

2. TFA

N

S

H2N

N

C

O

CO2H

NSO3H

HN

OO

aztreonam

การสังเคราะห imipenem

Page 26: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 26

(L-AAA)L--Aminoadipic Acid

H2NCOOH

COOH

L-Cysteine

H2NSH

COOH

L-Valine

H2N

COOH

NAD+

NH2 NH2HO2C

L-Lys

NH2 OHO2C

-aminoadipic acid-semialdehyde

(L-AAA)L--Aminoadipic Acid

H2NCOOH

COOHNHO2C

piperideine-

6-carboxylic acid

การผลิต Penicillinในระบบอุตสาหกรรม (Ref : Elander, R. P Appl. Microbiol. Biotechnol. 2003, 61, 385-392)

เร่ิมจากการหมักจุลินทรีย Penicillium chrysogenum มีการควบคุมท้ังในเร่ืองของอุณหภูมิ, pH, การละลายของ O2, CO2, glucose หรือ sucrose, แอมโมเนยี เปนตน สารต้ังตนเชน phenylacetic acid (สําหรับสังเคราะห Penicillin G) หรือ phenoxyacetic acid (สําหรับสังเคราะห Penicillin V) ถูกเติมเขาไปในระบบ หลังจากการหมักสมบูรณ สารผสมท้ังหมดจะถูกสกัดท่ีสภาวะท่ีเปนกรดโดย organic solvents ( amyl, butyl หรือ isobutyl acetate) สารพวก pigments และ impurities ถูกกําจัดออกไปโดย activated charcoal แลวทําการตกผลึก Penicillin โดยการเติม potassium acetate แลวลางดวย organic solvent ใหบริสุทธ์ิ

วิถีชีวสังเคราะหของ Penicillin ไดมีการศึกษาจนไดรูเอนไซมท่ีเกี่ยวของในแตละข้ันตอนแลว สารต้ังตนท่ีใชในการสังเคราะห Penicillin ประกอบดวย กรดอะมิโนสามชนิดคือ กรดอะมิโน L-AAA สังเคราะหไดจากกรดอะมิโน L-Lysine โดยใชเอนไซม transamidase ใหไดเปน aminoadipic acid semialdehyde จากน้ันเปนปฎิกิริยา addition และตามดวย hydrolysis ของ imine ไดเปน aminoadipic acid

Page 27: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 27

HO2C

NH2R

H

N

C

OH

HO

PO

CH3

PLP

-H2O

N

HC

OH

N

PO

CH3

CO2HR

H

H N

HC

OH

N

PO

CH3

CO2HR

H

H

N

H2C

OH

N

PO

CH3

CO2HR

+H2O

N

H2C

OH

O

PO

CH3

CO2HR

NH2

ACV

H2N

COOH

NH

SH

ONHO

COOH

Module1 Module2 Module3 release

A PCP C A PCP C A PCP C E TE

A: adenylation domain

PCP: peptidyl carrier protein domainC: condensation domainE: epimerization domainTE: thioesterase domain

S

O

CO2H

H2N

S

O

H2N HS

S

O

H2N

D

O2

NH

S

NHO

COOH

D

Fe

O

EnzNH

S

NO

COOH

D

Fe

OH

Enz

isopenicillin N

เอนไซม transamidase จะใช pyridoxal 5’ phosphate เปน coenzyme

Page 28: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 28

NH

SH

NH

O

O O

OH

H3C CH3

PO

PO

O

O

O

O

ON

N

N

N

OHO

PO

O O

H2N

Coenzyme A

CysteaminePantathenic acid A

cyl c

arri

er

isopenicillin N

N

O

HN

O

H H

S

CO2H

CO2H

H2N

hydrolysis

PhCH2COSCoA

N

O

HN

O

H H

S

CO2Hpenicillin G

N

O

H2N H H

S

CO2H

6-aminopenicillinic acid(6-APA)

ในระบบชีวภาพจะทําการกระตุนกรดคารบอกซิลใหอยูในรูปของ thioester โดยใช coenzyme A

Page 29: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 29

isopenicillin N

N

O

HN

O

H H

S

CO2H

CO2H

H2N

epimerase

penicillin N

N

O

HN

O

H H

S

CO2H

CO2H

H2N

N

O

HN

O

H HS

O2/2-oxoglutarate

N

O

HN

O

H HS

OH

O2/2-oxoglutarate

acetyl-CoA

N

O

HN

O

H HS

OAc

cephalosporin C deacetylcephalosporin C

FeII

O2H

His

Glu O

OHis

COOH

O

RH2

H2O

5-Coordinatespecies

O2

CO2

FeIV

O

His

Glu OR

OR'His

RH2

FeIII

OH

His

Glu OR

OR'His

RH

Rebound

H-abstraction

FeII

His

Glu OR

OR'HisROH

FeII

OH2

His

Glu OR

OR'HisR (=)

วิถีชีวสังเคราะหของ cephalosporin จะเกี่ยวของกับการสังเคราะหของ penicillin โดยมีข้ันตอนของการขยายวงแหวนหาเหล่ียม ซ่ึงอาจจะเกิดผานกลไกของอนุมูลอิสระ ตามดวยปฏิกิริยาไฮดรอกซิลเลชัน ของหมูเมทิล

Page 30: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 30

N

N

N

N

H2C NH

OH

H2N

C

O

NH CH

CH2

CH2

COOH

COOH

6-Methylpterin p-aminobenzoic acidGlutamate

Pteroylglutamic acid (folic acid)

NH2

CO OH

p-aminobenzoic acid(PABA)

NH2

SO NH2

O

sulfanilamide

(pKa = 10.4)

Sulfonamide Antibiotics

สารในกลุมนีจ้ะทําหนาท่ียบัยั้งเอนไซมท่ีใชในการสราง Pteroglutamic acid (folic acid) โดยเอนไซมท่ีถูกยับยั้งจะเปนเอนไซมท่ีช่ือ dihydropteroate synthetase ซ่ึงจะเปนเอนไซมท่ีทําหนาท่ีนําเอาโครงสรางของ PABA (p-aminobenzoic acid) เขาไปรวมในโครงสรางของกรดโฟลิก กรดโฟลิกหรือวิตามินบีหก มีความสําคัญในการแบงเซลลหรือการเจริญเติบโตของท้ังแบคทีเรียและสัตวเล้ียงลูกดวยนม ในขณะท่ีแบคทีเรียตองสังเคราะหกรดโฟลิกข้ึนเองจากกรดอะมิโนท่ีดึงไปจาก host ในสัตวเล้ียงลูกดวยนมจะไดรับกรดโฟลิกมาจากอาหาร ดังนั้นสารยับยั้งเอนไซมท่ีใชในการสังเคราะหกรดโฟลิกในแบคทีเรียจึงจดัไดวาเปนสารปฎิชีวนะท่ีไมสงผลกระทบตอมนุษย เนื่องจากโครงสรางของยาท่ีไมซับซอนมากนัก การสังเคราะหยาในกลุมนี้จึงไมมีปฎิกิริยาท่ีหลากหลายข้ันตอน การรักษาโรคจากเช้ือแบคทีเรียบางอยาง เชน โรคติดเช้ือของแผลเปนหนอง (ulcerative colitis) สามารถทําไดโดยการใชยา sulfasalazine หรือ olsalazine นอกจากนี้ยังมียาในกลุมท่ีเปนยาขับปสสาวะเชน chlorphenamide ท้ังยังมียาจําพวกท่ีใชรักษาโรคเบาหวานในกลุมของ sulfonylureas ซ่ึงมีกลไกในการออกฤทธ์ิตางจากยาท่ีเปนยาปฎิชีวนะ

Page 31: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 31

NH

H3C

O

Acetanilide

HSO3ClNH

H3C

O

SO2Cl

1) NH3

2) H3O+1) RNH2

2) H3O+

H2N SO2NHR H2N SO2NH2

Sulfanilamide

H2N SO2NH2

Sulfanilamide

N

H2N

H2N SHN

O

O N

HONO

HO2C

HO

N SHN

O

O N

N

HO2C

HO

Sulfasalazine (Prodrug for Ulcerative Colitis)

NH2

HO2C

HO

4-Aminosalicyclic acid (Active metabolite)

NH2HO

Olsalazine

H3CO2C

NHO

H3CO2C

OH

CO2CH3

N

1. HNO2

2. methyl salicylate3. H3O+

Page 32: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 32

Cl

HSO3Cl

Cl

SO2Cl

SO2Cl

NH3

Cl

SO2NH2

SO2NH2

Chlorphenamide

1) HSO3Cl

Furosemide

2) NH3Cl Cl

CO2H

Cl Cl

CO2HH2NO2S

2,4-Dichlorobenzoic acid

ONH2

Cl NH

CO2HH2NO2S

O

Cl F

CN

Benzonitrile

Cl NH

S

N N

NH

N

Azosemide

แบบฝกหัดท่ี 4 จงออกแบบขั้นตอนในการสังเคราะห azosemide จาก benzonitrile พรอมท้ังระบุรีเอเจนตท่ีเหมาะสมดวย (ขอสังเกต: tetrazole ถือวาเปน bioisosteric ของ carboxyl เนื่องจากมีคา pKa ใกลเคียงกัน)

Page 33: ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 -Lactam Antibioticschemsci.kku.ac.th/chanokbhorn/ppt/G.pdf · (313 417 อ. ชนกพร เผ าศิริ/ 2551) 1 N S O H

(313 417 อ. ชนกพร เผาศิริ/ 2551) 33

HNC

O

H3C

2-Phenyl ethylamine

1) HSO3Cl

2) NH33) OH-

H2N

S

O

O

NH2

Cl COCl

OCH3

NH

S

O

O

NH2

O

Cl

OMe

N C O

S

O

O

NH C

O

HN

Glyburide (Micronase)

H3C SO2NH2 H3C S

O

O

NH C

O

OC2H5

Tolazamide

C

O

Cl OC2H5

NH2N

H3C S

O

O

NH C

O

HN

N