สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี

5

Click here to load reader

Upload: dokdai

Post on 02-Nov-2014

5 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี

มารี คูรี : นักเคมีหญิงเหล็ก ผูพิชิตรางวัลโนเบลถึง 2 คร้ัง

ในวันนี้ (วันท่ี 7 พฤศจิกายน 2554) ทางเวบ็ google ไดนํารูปของการทดลองของมารี คูรี มาปรบัเปนโลโกของทางเวบ็

เพราะวันนี้เปนวันครบรอบ 144 ป ท่ีมารี คูร ีนักเคมีผูวิจัยเกี่ยวกับรังสี นั้นไดกําเนิดข้ึนมา และสรางปรากฎการณใหมใหกับ

วงการเคมี ซึ่งในอดีตนั้นยังไมสตรีใดทําไดถึงขนาดนี้

มารี คูรี หรือ มาเรีย ซกวอดอฟสกา คูรี เกิดเม่ือวันท่ี 7 พฤศจิกายน 2410 หรือเม่ือ 144 ปท่ีแลว (ในประเทศไทย

ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว - รัชกาลท่ี 4) เกิดที่กรุงวอรชอร ประเทศโปแลนด ซึ่งในชวงนั้น

ประเทศโปแลนดนั้นถูกยึดครองโดยรัสเซีย ซึ่งนอกจากรัสเซียจะกดข่ีโปแลนดแลว ยังกีดกันไมใหชาวโปแลนดรับ

การศึกษาข้ันสูงอีกดวย

ดังนั้น มารี คูรี ซึ่งเปนผูท่ีใฝรูจึงหาโอกาสในการเรียน โดยตอนแรกเธอตองการไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยคราคอฟ แตเธอ

กลับถูกตอบกลับมาวา เธอเหมาะกับการเรียนคหกรรมศาสตรมากกวา เธอจึงไปเรียนท่ีมหาวิทยาลัยชอรบอนน ประเทศ

ฝรั่งเศส

เนื่องจากการเดินทางไปศึกษาตอตางประเทศนั้นมีคาใชจายท่ีสูง ดังนั้นเธอจึงใหพี่สาวของเธอ นามวา บรอนยา ไป

ศึกษาแพทยศาสตรกอน โดยในระหวางนั้นเธอก็เปนครูสอนหนังสือ และเม่ือบรอนยาเรียนจบแลว บรอนยาจึงสงเสียมา

เรียเรียนทางวิทยาศาสตรบาง โดยในป พ.ศ 2434 เธอไดเปลี่ยนช่ือเปนมารี และเขาเรียนวิชาฟสิกสและคณิตศาสตร ท่ี

มหาวิทยาลัยซอรบอหน จนสําเร็จการศึกษาปริญญาโทสาขาฟสิกสในป พ.ศ 2436 และปริญญาโทสาขาคณิตศาสตรใน

ปพ.ศ 2437

Page 2: สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี

ในปเดียวกัน เธอไดพบกับปแอร คูรี ผูซึ่งเปนอาจารยทางฟสิกสและเคมีท่ี École supérieure de physique et de chimie

industrielles de la ville de Paris (ESPCI) และไดเกิดความรูสึกผูกพันกัน จนกระท่ังแตงงานกันในป พ.ศ 2438 จากนั้นมาท้ัง

สองก็ไดใชเวลารวมกันหลังแตงงานโดยการข่ีจักรยานรอบ ฝรั่งเศส และทํางานในหองแลบ

จนกระท่ังในป พ.ศ 2440 มารีใหกําเนิดลูกสาวคนแรกนามวา "อีแรน" และไดเขาเรียนระดับปริญญาเอกในเวลา

ตอมา ซึ่งการเรียนระดับปริญญาเอกนั้น จะตองเลือกหัวขอวิทยานิพนธเอง เธอจึงไดคนควา และพบวาในชวงป 2439 นั้น

เฮนรี แบคเคอเรล ไดคนพบเกลือของยูเรเนียม ซึ่งพบวาแมอยูในท่ีมืดก็ทําใหฟลมนั้นมัวได เธอจึงตองการศึกษาวามีรังสี

อะไรอยูภายในสารประกอบนี้ ซึ่งเพื่อใหไดผล เธอจึงรวมมือกับนองออกแบบ Electrometer จึงสามารถวัดกระแสไฟฟาได

ดี โดยเธอนั้นไดพบวารังสีนั้นไมไดเกิดจากการทําปฏิกิริยาของโมเลกุล แตออกมาจากอะตอมของมันเอง

ในป พ.ศ 2441 เธอไดนําแรพิตซเบลนดมาสกัดจนคนพบธาตุ Po (โพโลเนียม) และธาตุ Ra (เรเดียม) โดยเธอพบวา

Ra นั้นแผรังสีไดดีกวา U ถงึ 2 ลานเทา จนกระท่ังในป พ.ศ 2445 เธอจึงแยกธาตุยูเรเนียมบริสุทธ์ิออกในรูปของ RaCl2 ได

และในปตอมา (พ.ศ 2446) เธอจึงไดรับปริญญาเอกในสาขาฟสิกส

ในปเดียวกันนั้นเอง มารี , ปแอร และแบกเกอเรล นั้นไดรับรางวัลโนเบลสาขาฟสิกส โดยแบกเกอเรลไดรับรางวัลจาก

การคนพบปรากฎการณกัมมันตรังสี และครอบครัวคูรีนั้นไดรางวัลจากการคนพบและศึกษาธรรมชาติของกัมมันตรังสี ซึ่ง

นับวาเปนครั้งแรกของเวทีโนเบลท่ีผูหญิงไดรับรางวัลโนเบลเฉกเชน เดียวกับผูชาย

(The Radioactive : คําบัญญัติโดยครอบครัวคูรี)

Page 3: สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี

อยางไรก็ตาม เนื่องจากสมัยนั้นผูคนยังมองวา วิทยาศาสตรยังเปนเรื่องของผูชาย ดังนั้นเม่ือมารีไดรับรางวัล สงัคม

หลายกลุมจึงมองวา เธอติดสอยหอยทายสามีไดรับรางวัลหรือเปลา ซึ่งนั่นทําใหเธอทํางานหนักข้ึนเพื่อพิสูจนตัวเอง

ในป พ.ศ 2447 เธอใหกําเนิดลูกสาวอีกคนนามวา "อีฟ" และอีก 2 ปตอมา คือป พ.ศ 2449 เกิดโศกนาฎกรรมอันนา

เศราข้ึน เม่ือปแอร สามีของเธอ ถูกรถมาชนตายคาท่ีขณะกําลังขามถนน เธอจึงรูสึกเศรามาก แตก็ยังต้ังใจท่ีจะทํางานตอไป

ทางมหาวิทยาลัยซอรบอหน จึงแตงต้ังเธอเปนศาสตราจารยหญิง ซึ่งถือวาเปนประวัติศาสตรครั้งแรกของมหาวิทยาลัย

ในป พ.ศ 2454 (คือ 100 ปท่ีแลว) เธอก็ไดรับรางวัลโนเบลสาขาเคมี ซึ่งถือเปนรางวัลโนเบลครั้งท่ี 2 ของเธอ ใน

ฐานะท่ีเธอคนพบธาตุ U และ Po แมในขณะนั้นเธอจะมีขาวคราวท่ีไมดีเทาไร แตเธอก็ตัดสินใจรับรางวัล และต้ังใจทํางาน

ตออยางเต็มท่ี แตแมกระนั้น ชาวฝรั่งเศสก็ยังไมยอมรับความสามารถของเธอ เพราะเมื่อเธอสมัครเขา French Academy of

Science เธอกลับถูกปฏิเสธ และรูสึกอยากกลับบานเกิดท่ีประเทศโปแลนด แตเธอตองการพิสูจนใหรูวา แมเธอเปนคนตาง

ดาว แตเธอก็รักประเทศฝรั่งเศสอยางจริงใจ

รางวลัโนเบลของมารี คูร ีในป พ.ศ 2454

ดวยความพยายามของเธอ ในป พ.ศ 2457 Institut du radium ไดถือกําเนิดข้ึน โดยเนนท่ีจะพัฒนานักวิทยาศาสตร

รุนใหมในสาขาเคมี ฟสิกส และการแพทย ซึ่งถือวาประสบความสําเร็จอยางดีงาม เพราะมีผูไดรางวัลโนเบลหลายคน

รวมถึงอีแรน ลูกสาวของเธอดวย

อยางไรก็ตาม ในชวง พ.ศ 2457 - 2461 นั้น สงครามโลกครั้งท่ี 1 ไดถืออุบัติข้ึน มารีและอีแรน จึงไดทําจิตอาสา

โดยการออกหนวยรถวิทยาศาสตร ซึ่งมีช่ือเรียกกันท่ัวไปวา petites Curies หรือ Little Curies โดยภายในนั้นมีอุปกรณทาง

รังสีวิทยาอยู ซี่งการออกหนวยดังกลาวนั้นทําใหเธอไดเปลี่ยนทัศนคติของสังคมสมัยนั้นโดย สิ้นเชิง

เม่ือสงครามสิ้นสุดลง เธอไดเดินทางไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อของบสนับสนุนการวิจัยเรเดียม โดยในการ

Page 4: สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี

เดินทางดังกลาว ประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกาไดใหเรเดียมบริสุทธ์ิหนัก 1 กรัม

ในป พ.ศ 2477 มารีไดจัดต้ังมูลนิธิคูรีข้ึน เพื่อสนับสนุนงานวิจัยวิทยาศาสตรและการแพทย และในป พ.ศ 2478

เธอเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง ซึ่งเปนโรคท่ีเธอเปนมานาน เนื่องจากการทดลองกัมมันตรังสีของเธอ ซึ่งเธอเสียชีวิตในวันท่ี 4

กรกฎาคม 2478 สิริอายุ 67 ป

จากนั้นในป พ.ศ 2535 ศพของปแอร และ มารี ไดถูกนําไปฝงอยางสมเกียรติท่ี ปาเตออง ซึ่งเปนสถานท่ีฝงศพ

บุคคลอันทรงเกียรติแหงประเทศฝรั่งเศส และในปเดียวกันนั้น ทางรัฐบาลฝรั่งเศสไดจัดพิมพธนบัตรราคา 500 ฟรังก ซึ่งมี

ภาพของท้ังสองบนธนบัตรดวย

จะเห็นไดวา ชีวิตของ มารี คูร ีนั้นไมไดโรยไปดวยกลีบกุหลาบเลย ทุกอยางนั้นแลกดวยความพยายาม และ

ความเสี่ยงท้ังนั้น โดยเฉพาะความเสี่ยงทางดานกัมมันตรังสี ซึ่งในสมัยกอนนั้นไมไดมีวิธีการปองกันท่ีดีเหมือนปจจุบันนี้

ทําใหคนในครอบครัวและตัวเธอนั้น ตางจบชีวิตดวยโรคมะเร็ง ซึ่งเปนโรคท่ีแมคนปจจุบันก็ไมปรารถนาท่ีจะเปน

และเพื่อเปนการยกยองมารี คูรี นักเคมีสตร ีผูพลิกโฉมวงการเคมีใหคนท้ังโลกเห็นวา ผูหญิงนั้นก็ยังมีศักยภาพ

และความสามารถไมดอยไปกวาผูชาย และนักเคมีนั้นก็สามารถทําจิตอาสาเพื่อรับใชสังคมไดเชนเดียวกับอาชีพอื่นๆ

ประกอบกบัในป พ.ศ 2554 นั้นครบรอบ 100 ป ท่ีมารี คูรี ไดรับรางวัลโนเบลสาขาเคมีแตเพียงผูเดียว ทาง IUPAC และ

UNESCO จึงไดสถาปนาปนี้เปน "ปเคมีสากล (International Year of Chemistry)"

สําหรับวัตถุประสงคของปเคมีสากลนั้นมีดังนี้

1. เพื่อเพิ่มความตระหนักรูทางเคมีใหกับสังคมสวนรวม

2. เพื่อกระตุนใหเยาวชนมีความสนใจในวิชาเคมีมากข้ึน

3. เพื่อกระตุนความคิดในการพัฒนาอนาคตดวยเคมี

4. เพื่อเฉลิมฉลอง 100 ป ท่ีมารี คูรี ไดรับรางวัลโนเบล อันเปนการพลิกโฉมบทบาทสตรีในวงการวิทยาศาสตร

โดยไดมีการจัดกิจกรรมตางๆ มากมาย เชน การประชุมทางวิชาการ การเผยแพรความรูทางเคมีใหบุคคล

ตางๆ ภายใตแนวคิดท่ีวา “Chemistry—our life, our future" หรอื "เคมี คือชีวติและอนาคตของเรา"

เราในฐานะผูมีความสนใจทางดานเคมี ควรจะรวมกันตระหนักรูวา เรื่องเพศนั้นไมไดมีความสําคัญตอ

การพัฒนาองคความรูทางวิทยาศาสตรเลย แตข้ึนอยูกับพยายามบนพื้นฐานของการศึกษา แตท้ังนี ้ความปลอดภัยก็

เปนสิ่งท่ีสําคัญอยางยิ่งยวด และละเลยไมไดแมแตนอย

นอกจากนี ้การพัฒนาความตระหนักรูทางเคมีนั้นก็ถือวาเปนสิ่งสําคัญมากพอๆ กับการพัฒนาองคความรู

ทางเคมีเลยทีเดียว เพราะปจจุบันนั้นเคมีกลายเปนสวนหนึ่งในชีวิตประจําวันของเราอยางหลีก เลี่ยงไมได ดังนั้น

การเผยแพรความรูทางเคมีใหคนท่ัวไปไดรับรูนั้นถือวาสําคัญยิ่ง โดยเฉพาะการใชหลักเคมีในชีวิตประจําวัน

รวมถึงการพัฒนาการศึกษาวิชาเคมีในระดับตางๆ ใหมีความทัดเทียมกับสากลใหมากกวานี้ โดยเฉพาะการทดลอง

Page 5: สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี

ซึ่งเปนท่ีนาเศราวาการทดลองนั้นยังไมมากเทาท่ีควร เพราะละเลยแนวคิดวาพื้นฐานเคมีสวนใหญลวนเกิดจากการ

ทดลอง ดังนั้น การเพิ่มการทดลองจะทําใหเยาวชนเขาใจในวิชาเคมีไดมากยิ่งข้ึน

เพราะหากทุกๆ คน มองเห็นเคมีเปนสวนหนึ่งท่ีสําคัญของการขับเคลื่อนโลกใบนี้แลว โลกใบนี้จะกาว

ไปขางหนาไดมากกวาท่ีใจคิดอยางแนนอน !

ที่มา

http://chem-is-try-knowledge.blogspot.com/2011/11/2.html