บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

26
พระผูมีพระภาคทรงประธานโอวาทไววา พระผูมีพระภาคทรงประธานโอวาทไววา ... ... สมถกัมมัฏฐาน สมถกัมมัฏฐาน สมาธึ ภิกฺขเว ภาเวถ สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงยังสมาธิใหเกิด ชนผูมีจิตเปนสมาธิแลว ยอมรูตามความเปนจริง จุดประสงคแหงพระพุทธพจนนี้ คือ พระพุทธองค จุดประสงคแหงพระพุทธพจนนี้ คือ พระพุทธองค ทรงอยากใหพุทธบริษัท บําเพ็ญสมาธิเพื่อทําใจใหสงบ ทรงอยากใหพุทธบริษัท บําเพ็ญสมาธิเพื่อทําใจใหสงบ เมื่อใจสงบ ยอมคิดดี พูดดี ทําดี เมื่อใจสงบ ยอมคิดดี พูดดี ทําดี

Upload: onpa-akaradech

Post on 16-Jun-2015

425 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

พระผูมีพระภาคทรงประธานโอวาทไววาพระผูมีพระภาคทรงประธานโอวาทไววา......สมถกัมมัฏฐานสมถกัมมัฏฐาน

สมาธึ ภิกฺขเว ภาเวถ สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงยังสมาธิใหเกิด ชนผูมีจิตเปนสมาธิแลว ยอมรูตามความเปนจริง จุดประสงคแหงพระพุทธพจนนี้ คือ พระพุทธองคจุดประสงคแหงพระพุทธพจนนี้ คือ พระพุทธองคทรงอยากใหพุทธบริษัท บําเพ็ญสมาธิเพื่อทําใจใหสงบ ทรงอยากใหพุทธบริษัท บําเพ็ญสมาธิเพื่อทําใจใหสงบ เมื่อใจสงบ ยอมคิดดี พูดดี ทําดีเมื่อใจสงบ ยอมคิดดี พูดดี ทําดี

Page 2: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

ใจที่เปนสมาธิยอมเห็นส่ิงตางๆได รูผิดชอบชั่วดี แตใจที่เปนสมาธิยอมเห็นส่ิงตางๆได รูผิดชอบชั่วดี แตใจนี้โดยปกติมักจะมีอารมณ คือ ใจนี้โดยปกติมักจะมีอารมณ คือ ส่ิงที่ขัดขวางไมใหส่ิงที่ขัดขวางไมใหทําความดี ใหหวั่นไหวทําความดี ใหหวั่นไหว เรียกวา เรียกวา ““นิวรณนิวรณ””

นิวรณ นิวรณ ๕ ๕ คือคือ

33. . ถีนมิทธะถีนมิทธะ22. . พยาบาทพยาบาท11. . กามฉันทกามฉันท

44. . อุทธัจจกุกกุจจะอุทธัจจกุกกุจจะ

55. . วิจิกิจฉาวิจิกิจฉา

Page 3: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

1. กามฉันท หมายถึง ความพอใจรักใครในกามคุณ ๕ มีรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ดวยอํานาจของกิเลสกามหลงใหลในกามสุข คนที่มากไปดวยกามฉันทควรแกดวยการเจริญอสุภกัมมัฏฐาน

2. พยาบาท หมายถึง ความโกรธจัด ดวยกําลังโทสะอยางแรง ถึงกับมีความพยาบาทคิดจองลางจองผลาญผูอื่น คนผูมีความพยาบาท มักโกรธงายโมโหราย ควรแกดวยการเจริญพรหมวิหารธรรม ๓ ขอ คือ เมตตากรุณา และ มุทิตา

Page 4: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

3. ถีนมิทธะ หมายถึง ความหดหูทอแทและเคลิบเคลิ้มเศราซึมแหงจิต คนผูมีถีนมิทธะมักยอทอในกิจการงานที่ตองทําควรแกดวยการเจริญอนุสสติกัมมัฏฐานนึกถึงความดีของตนหรือคุณของพระรัตนตรัย เปนตน...4. อุทธัจจกุกกุจจะ หมายถึง ความฟุงซาน อึดอัด วิตกกังวลอันเปนเหตุใหใจไมปกติ ควรแกดวยการเพงกสิณเพ่ือใหใจแนวแน หรือเจริญมรณัสสติกัมมัฏฐาน5. วิจิกิจฉา หมายถึง ความลังเลสงสัยตัดสินใจไมไดแก ดวยการเจริญธาตุกัมมัฏฐานหรือวิปสสนากัมมัฏฐาน

Page 5: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

สมาธิสมาธิ....แปลวาแปลวา ความตั้งม่ันแหงจิต หมายถึง ความตั้งม่ันแหงจิต หมายถึง อาการที่ทําจิตใหวางจากนิวรณ ควรแกการงานเปนอาการที่ทําจิตใหวางจากนิวรณ ควรแกการงานเปนการรวบรวมความคิดของใจ ใหตรงไปในทิศทางการรวบรวมความคิดของใจ ใหตรงไปในทิศทางเดียวกัน เดียวกัน มี มี ๒ ๒ อยาง คืออยาง คือ1. อุปจารสมาธิ สมาธิเปนแตเฉียด ๆ คือสมาธิที่เกือบแนวแนสามารถระงับนิวรณไดองคฌานก็เริ่มเกิดข้ึน เพียงแตวายังไมมีกําลังมากพอเพราะจิตยังไมสงบนิ่งในอารมณ

Page 6: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

การทําใจใหสงบเปนสมาธิการทําใจใหสงบเปนสมาธิ โดยวิธีคือเจริญโดยวิธีคือเจริญสมถสมถกัมมัฏฐานนี้ ตองมีอารมณเปนเครื่องยึดเหนี่ยวในกัมมัฏฐานนี้ ตองมีอารมณเปนเครื่องยึดเหนี่ยวในที่นี้ทานไดแสดงหัวใจที่นี้ทานไดแสดงหัวใจสมถสมถกัมมัฏฐาน กัมมัฏฐาน ๕ ๕ อยาง อยาง อันอันเปนคูปรับของนิวรณ เปนคูปรับของนิวรณ ๕ ๕ เพื่อเปนอุบายเพื่อเปนอุบายเจิรญเจิรญสมาธิสมาธิ

2. อัปปนาสมาธิ สมาธิแนวแน คือ สภาวะจิตของบุคคลผูบําเพ็ญสมถกัมมัฏฐาน จนจิตแนบแนนคงอยูในอารมณกัมมัฏฐาน ไมฟุงซานไปที่อื่น ตั้งม่ันในอารมณเดียวที่เรียกวา “เอกัคคตาจิต”

Page 7: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

หัวใจหัวใจ......สมถกัมมัฏฐาน

1. กายคตาสติ2. เมตตา3. พุทธานุสสติ4. กสิณ5. จตุธาตุววัตถาน

Page 8: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

1.กายคตาสติ หมายถึง สติที่ไปในกาย คือการใชสติพิจารณาถึงอวัยวะในรางกายของตนและของผูอื่น ใหเห็นเปนของไมงดงาม เรียกวา มูลกมัมัฏฐาน หรือ ตจปญจกกัมมัฏฐาน โดยการพิจารณาทั้งอนุโลมและปฏิโลม ในอาการ ๕ อยาง คือ

พิจารณาโดยอนโุลม คือตามลําดับดวยอาการ พิจารณาโดยอนโุลม คือตามลําดับดวยอาการ ๕ ๕ อยาง คืออยาง คือ... ... เกสา เกสา โลมา โลมา นขานขา ทนฺทนตฺา ตา ตโจตโจพิจารณาโดยปฏิโลม คือการยอนลําดับ ดวยอาการ พิจารณาโดยปฏิโลม คือการยอนลําดับ ดวยอาการ ๕ ๕ อยาง คืออยาง คือ... ... ตโจตโจ ทนฺทนตฺา ตา นขานขา โลมา เกสาโลมา เกสา กมัมัฏฐานขอนี้กมัมัฏฐานขอนี.้... .... อํานวยผลเพียงข้ันอุปจารสมาธิอํานวยผลเพียงข้ันอุปจารสมาธ ิ และเปนและเปนประโยชนแกผูมีกามฉนัทเปนเจาเรือน เพราะทําใหไมยดึมั่นในประโยชนแกผูมีกามฉนัทเปนเจาเรือน เพราะทําใหไมยดึมั่นในกายของตนและของผูอื่นกายของตนและของผูอื่น......

Page 9: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

2. เมตตา หมายถึง ความรกัที่ไมเจือดวยความใคร คือความปรารถนาดหีวังดีตอผูอื่น คิดนําสุขไปใหเขาโดยสวนเดียว การแผเมตตาในที่น้ี เบื้องตนตองแผโดยเจาะจงกอน เชน แผใหกับคนในครอบครัว เมือ่ชํานาญแลว จึงแผไปโดยไมเจาะจงบุคคลหรือสัตวโดยไมเลือก

กัมมัฏฐานนี้กัมมัฏฐานนี.้.....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอัปปนาสมาธิอํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอัปปนาสมาธิและเปนประโยชนแกผูมีความพยาบาทและเปนประโยชนแกผูมีความพยาบาท เพราะทําใหเปนอยูเพราะทําใหเปนอยูดวยความไมมีเวรไมมีภัยตอกัน รักใครชวยเหลือกันดวยความไมมีเวรไมมีภัยตอกัน รักใครชวยเหลือกัน......

Page 10: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

3. พุทธานุสสติ หมายถึง การระลกึถึงคณุของพระพุทธเจา คอื การสาํรวมจิตนอมถึงพระพุทธคุณทั้ง ๙ ตามบทพุทธคุณ เชน อิติป โส ภควา อรหัง สัมมา เปนตน หรอื พุทธคุณ ๓ คือ พระปญญาคุณพระวิสุทธิคุณ และพระกรุณาธคิุณทั้งหมดหรอืบทใดบทหน่ึงจนจิตสงบต้ังมั่นเปนสมาธิ

กัมมัฏฐานนี้กัมมัฏฐานนี.้.....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอุปจารสมาธิอํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอุปจารสมาธิและเปนประโยชนแกผูที่มีถีนมิทธะและเปนประโยชนแกผูที่มีถีนมิทธะ เพราะทําใหจิตใจไมหดเพราะทําใหจิตใจไมหดหูไมยอทอตออุปสรรคที่มาขัดขวางในการทําความดีงามหูไมยอทอตออุปสรรคที่มาขัดขวางในการทําความดีงาม

Page 11: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

4. กสิณ หมายถึง เคร่ืองหมายจูงใจหรือวัตถุสําหรับเพง คือ การทํากัมมัฏฐาน โดยการเพงหรือการยึดเอากสิณเปนอารมณที่เรียกกันวา เพงกสิณ 10 อยาง คือ ปฐวีกสิณ (ดนิ)อาโปกสิณ (น้ํา) เตโชกสิณ (ไฟ) วาโยกสณิ (ลม) ๔ อยางนี้เรียกวา ภูตกสิณ คือ ธาตุ ๔ นีลกสิณ สีเขียว ปตกสิณ สีเหลือง โลหิตกสิณ สแีดง โอทาตกสิณ สีขาว ๔ อยางนี้ เรียกวา วัณณกสณิ คือ กสิณส ี อาโลกกสิณ (แสงสวาง)อากาสกสิณ ความวางเปลา

กัมมัฏฐานนี้กัมมัฏฐานนี.้.....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิข้ันอัปปนาสมาธิอํานวยผลใหจิตเปนสมาธิข้ันอัปปนาสมาธแิละและเปนประโยชนแกผูที่อุทธัจจกุกกุจจะเปนประโยชนแกผูที่อุทธัจจกุกกุจจะเพราะทําใหจิตนิ่งจดจอและเพราะทําใหจิตนิ่งจดจอและอดทนในงานที่กระทําอดทนในงานที่กระทํา

Page 12: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

5. จตุธาตุววัตถาน หมายถึง กาํหนดธาตุ ๔ คือ การกําหนดพิจารณารางกาย ใหเห็นสภาวะท่ีเปนอยูจริงวาเปนส่ิงท่ีเกิดจากการรวมตัวกันของธาตุ ๔ รวมกันเขาเปนรางกาย หรือแมแตส่ิงตาง ๆ ท่ีมนุษยไดสรางขึ้นท้ังรางกายและส่ิงของเปนส่ิงท่ีเกิดจากธาตุ เมื่อธาตุรวมกันจึงทําใหเกิดสังขาร ท้ังท่ีมีใจครองและมิมีใจครอง

กัมมัฏฐานนี้กัมมัฏฐานนี.้.....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอุปจารสมาธิอํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอุปจารสมาธิและเปนประโยชนแกผูที่วิจิกิจฉา และเปนประโยชนแกผูที่วิจิกิจฉา เพราะทําใหคลายความเพราะทําใหคลายความสงสัย ไมหลงเขาใจผิดในสภาพที่เปนอยูจริงของสิ่งตางๆสงสัย ไมหลงเขาใจผิดในสภาพที่เปนอยูจริงของสิ่งตางๆ

Page 13: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

ความหมายของความหมายของ......สมถกัมมัฏฐานสมถกัมมัฏฐานสมถะสมถะ... ... มีความหมายอยู มีความหมายอยู ๓ ๓ อยาง คืออยาง คือ......1. ธรรมเปนเคร่ืองสงบระงับของจิต2. ธรรมอันทําใหจิตสงบระงับจากนิวรณูปกิเลส3. ความสงบระงับของจิตในภายใน

กัมมัฏฐานนี้กัมมัฏฐานนี.้.....ไดแกอารมณที่ตั้งของจิต คือสิ่งที่ยดึผูกจิตไวไดแกอารมณที่ตั้งของจิต คือสิ่งที่ยดึผูกจิตไวไมใหฟุงซาน ใหสงบนิง่อยูกับกัมมัฏฐาน ไมใหฟุงซาน ใหสงบนิง่อยูกับกัมมัฏฐาน สมถสมถกัมมัฏฐาน จึงหมายถึงอุบายเปนเคร่ืองสงบใจกัมมัฏฐาน จึงหมายถึงอุบายเปนเคร่ืองสงบใจ โดยใชสติโดยใชสติกําหนดอารมณกัมมัฏฐานอยางใดอยางหนึ่งในอารมณ กําหนดอารมณกัมมัฏฐานอยางใดอยางหนึ่งในอารมณ ๔๐ ๔๐ วิธีวิธี

Page 14: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

กัมมัฏฐาน กัมมัฏฐาน ๔๐ ๔๐ อยางอยาง

11. . กสิณ กสิณ 1010

ซึ่งเปนอารมณของสมถกัมมฏัฐาน เพื่อทําใจใหสงบซึ่งเปนอารมณของสมถกัมมฏัฐาน เพื่อทําใจใหสงบระงับจากนิวรณูปกเิลส ระงับจากนิวรณูปกเิลส มี มี ๗ ๗ หมวด คอืหมวด คอื......

22. . อสุภะ อสุภะ 101033. . อนุสสติ อนุสสติ 1010

44. . พรหมวิหาร พรหมวิหาร 55. . อาหาเรปฏิกูลสัญญา อาหาเรปฏิกูลสัญญา 11

66. . จตุธาตุววตัถาน จตุธาตุววตัถาน 11

77. . อรูป อรูป 44

Page 15: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

11. . กสิณ กสิณ 1010

1. ปฐวีกสิณ

ภูตกสิณ ๔ คือ..2. อาโปกสิณ 3. เตโชกสิณ 4. วาโยกสณิ

วัณณวัณณกสิณ กสิณ ๔ ๔ คือคือ....5. นีลกสิณ 6. ปตกสิณ 7. โลหิตกสิณ 8. โอทาตกสณิ

9. อาโลกกสิณ 10. อากาสกสิณ

Page 16: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

กสิณกสิณ......หมายถึงหมายถึง เครื่องหมายจงูใจ หรือ วัตถุเครื่องหมายจงูใจ หรือ วัตถุสําหรับเพงเพื่อยึดดึงใจไวในเวลาทํากรรมฐาน นิยมสําหรับเพงเพื่อยึดดึงใจไวในเวลาทํากรรมฐาน นิยมเรียกวาเพงกสิณ มี เรียกวาเพงกสิณ มี 1010 อยาง คอือยาง คอื......1. ปฐวีกสิณ เพงดินเปนอารมณ บริกรรมวา ปฐวี ๆ2. อาโปกสิณ เพงน้ําเปนอารมณ บริกรรมวา อาโป ๆ3. เตโชกสิณ เพงไฟเปนอารมณ บริกรรมวา เตโช ๆ4. วาโยกสิณ เพงลมเปนอารมณ บริกรรมวา วาโย ๆ5. นีลกสิณ เพงสีเขียวเปนอารมณ บริกรรมวา นีลํ ๆ

Page 17: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

6. ปตกสิณ เพงสีเหลืองเปนอารมณ บริกรรมวา ปตกํ ๆ

7. โลหิตกสิณ เพงสีแดงเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ๆ

8. โอทาตกสิณ เพงสีขาวเปนอารมณ บริกรรมวา โอทาตํ ๆ

9. อาโลกกสิณ เพงถึงแสงสวาง บริกรรมวา อาโลโก ๆ

10. อากาสกสิณ เพงถึงอากาศ บริกรรมวา อากาโส ๆ

********************************

Page 18: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

อสุภะ อสุภะ 1010 อยางอยาง1. อุทธุมาตกอสุภะ2. วินีลกอสุภะ3. วิปุพพกอสุภะ4. วิฉิททกอสุภะ5. วิกขายิตกอสุภะ

6. วิกขิตตกอสุภะ7. หตวิกขิตกอุสภะ

8. โลหิตกอสุภะ9. ปุฬุวกอสุภะ10. อัฏฐิกอสุภะ

Page 19: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

อสุอสุภะภะ แปลวา สภาพที่ไมงามแปลวา สภาพที่ไมงาม หมายถึง ซากศพท่ีหมายถึง ซากศพท่ีอยูในสภาพตางๆ กนั ซึ่งนํามาเปนอารมณกัมมัฏฐาน อยูในสภาพตางๆ กนั ซึ่งนํามาเปนอารมณกัมมัฏฐาน โดยการพิจารณาใหเห็นวาเปนของไมงาม เปนของไมโดยการพิจารณาใหเห็นวาเปนของไมงาม เปนของไมนาชื่นชม ไมนายึดมั่นถือมั่น นาชื่นชม ไมนายึดมั่นถือมั่น มี มี 1010 อยาง คอือยาง คอื

1. พิจารณาซากศพที่เนาพองขึ้นเปนอารมณ บิรกรรมวา อุทฺธุมาตกํ ปฏิกุลํ

2. พิจารณาซากศพที่มีมีน้ําเหลืองไหลออกเปนอารมณ บริกรรมวา วินีลกํ ปฏิกูลํ

Page 20: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

3. พิจารณาซากศพที่มีน้ําเหลืองไหลออกเปนอารมณ บริกรรมวา วิปุพพกํ ปฏิกูลํ

4. พิจารณาซากศพที่ขาดกลางตัวเปนอารมณ บริกรรมวา วิฉิทฺทกํ ปฏิกูลํ

5. พิจารณาซากศพที่สัตวกัดกินแลวเปนอารมณ บริกรรมวา วิกฺขายิตกํ ปฏิกูลํ

6. พิจารณาซากศพที่มีมือ เทา ศรีษะขาดเปนอารมณ บริกรรมวา วิกฺขิตฺตกํ ปฏิกูลํ

Page 21: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

7. พิจารณาซากศพที่คนที่มีเวรตอกัน ขาศึกกัน สับฟนเปนทอนๆ เปนอารมณ บริกรรมวา หตวิกฺขิตฺตกํ ปฏิกูลํ

8. พิจารณาซากศพที่ถูกประหารดวยศัสตรา มีโลหิตไหลอาบอยูเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ปฏิกูลํ

9. พิจารณาซากศพที่ถูกประหารดวยศัตตรา มีโลหิตไหลอาบอยูเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ปฏิกูลํ

10. พิจารณาซากศพที่ยังเหลืออยูแตโครงกระดูกเปนอารมณ บริกรรมวา อฏฐิกํ ปฏิกูลํ

Page 22: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

อนุสสติอนุสสติ 10 10 อยางอยาง1. พุทธานุสสติ2. ธัมมานุสสติ3. สังฆานุสสติ4. สีลานุสสติ5. จาคานุสสติ

6. เทวตานุสสติ7. อุปสมานุสสติ

8. มรณสติ9. กายคตาสติ10. อานาปานสติ

Page 23: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

อนุสสติอนุสสติ หมายถึง ความตามระลกึถึงอยูเปนประจําหมายถึง ความตามระลกึถึงอยูเปนประจํา อารมณท่ีควรตามระลึกถงึอยูเสมอ ๆ เพื่อยึดดึงใจใหอารมณท่ีควรตามระลึกถงึอยูเสมอ ๆ เพื่อยึดดึงใจใหสงบตั้งมั่น มี สงบตั้งมั่น มี 1010 อยาง คอือยาง คอื......1. พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระพุทธเจาเปนอารมณ2. ธัมมานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระธรรมเปนอารมณ3. สังฆานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระสงฆเปนอารมณ4. สีลานุสสติ ระลึกถึงศีลที่ตนรักษาไดเปนอารมณ5. จาคานุสสติ ระลึกถึงทานที่ตนบริจาคเปนอารมณ

Page 24: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

6. เทวตานุสสติ ระลึกถึงคุณธรรมที่ทําบุคคลใหเปนเทวดาเปนอารมณ

9. กายคตาสติ ระลึกถึงทั่วไปในกาย เชน ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เปนตน โดยความเปนของปฏิกูลเปนอารมณ10. อานาปานสติ ระลึกถึงลมหายใจเขา – ออก ยาว –

สั้น ก็รู วาเปนอารมณ

7. อุปสมานุสสติ ระลึกถึงพระนิพพานเปนอารมณ8. มรณสติ ระลึกถึงความตายที่จะมาถึงเปนอารมณ

Page 25: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

พรหมวิหาร พรหมวิหาร ๔ ๔ อยางอยาง

11. . เมตตาเมตตา 22. . กรุณากรุณา33. . มุทิตามุทิตา 44. . อุเบกขา อุเบกขา

********************************

พรหมวิหาร หมายถึง ธรรมเปนเครือ่งอยูของทานพรหมวิหาร หมายถึง ธรรมเปนเครือ่งอยูของทานผูใหญผูใหญ การบําเพ็ญกรรมฐานหมวดนี้ ไดแก การแผการบําเพ็ญกรรมฐานหมวดนี้ ไดแก การแผความรูสึกท่ีดีตอผูอืน่ มีวิธีแผไมตรีจิต ความรูสึกท่ีดีตอผูอืน่ มีวิธีแผไมตรีจิต ๔ ๔ อยาง คืออยาง คือ

Page 26: บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

1. เมตตา หมายถึง การแผเมตตาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงเปนสุขทุกถวนหนา

2. กรุณา หมายถึง การแผกรุณาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงที่ประสบทุกขใหไดพนจากความทุกข

3. มุทิตา การแผมุทิตาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงที่ประสบสุขสมบัติแลว จงดํารงอยูในสุขสมบัตินั้นนานเทานาน

4. อุเบกขา หมายถึง การแผอุเบกขา คือ การวางเฉยวางใจใหเปนกลาง ไมดีใจหรือเสียใจเมื่อไดรับทุกข