· - ๒ - ระเบียบวาระที่ %...

56
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) ครั้งที่ ๓/๒๕๕๘ วันจันทร์ที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๓๐ น. ณ ห้องประชุมคณะรัฐมนตรี ชั้น ๒ อาคารสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (หลังใหม่) ทาเนียบรัฐบาล ********************** ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุม ก.ก.ถ. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ สาหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๓.๒ การกาหนดสัดส่วนรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๓.๓ ขอปรับเงินอุดหนุนทั่วไปตามอานาจหน้าที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๓.๔ การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อศึกษาและให้ข้อเสนอแนะด้านการเงิน การคลังและงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมติ ก.ก.ถ. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ ๓.๕ รายงานผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ๓.๖ แนวทางการขับเคลื่อน ( Road Map) ระบบการติดตามและประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒ ๓.๗ แนวทางการติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายเงินอุดหนุนเฉพาะกิจที่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นได้รับการจัดสรรงบประมาณ ๓.๘ ประกาศคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่อง ผลการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจาปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๓.๙ รายงานความคืบหน้าการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๓.๑๐ รายงานประจาปี ๒๕๕๗ คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น

Upload: others

Post on 18-Jan-2020

11 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

ระเบียบวาระการประชุม

คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) คร้ังที่ ๓/๒๕๕๘

วันจันทร์ที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๓๐ น. ณ ห้องประชุมคณะรัฐมนตรี ชั้น ๒

อาคารส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (หลังใหม่) ท าเนียบรัฐบาล **********************

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ

ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุม ก.ก.ถ. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘

ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ

๓.๑ การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มตามพระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ส าหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘

๓.๒ การก าหนดสัดส่วนรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙

๓.๓ ขอปรับเงินอุดหนุนทั่วไปตามอ านาจหน้าที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙

๓.๔ การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อศึกษาและให้ข้อเสนอแนะด้านการเงิน การคลังและงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมติ ก.ก.ถ. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘

๓.๕ รายงานผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ

๓.๖ แนวทางการขับเคลื่อน (Road Map) ระบบการติดตามและประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒

๓.๗ แนวทางการติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายเงินอุดหนุนเฉพาะกิจที่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นได้รับการจัดสรรงบประมาณ

๓.๘ ประกาศคณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่อง ผลการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗

๓.๙ รายงานความคืบหน้าการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘

๓.๑๐ รายงานประจ าปี ๒๕๕๗ คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น

Page 2:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒ -

ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ (ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒) ๔.๑.๑ ร่างพระราชบัญญัติน้ าบาดาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๒ ร่างพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๓ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๔ ร่างพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย ของบ้านเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๕ ร่างพระราชบัญญัติสุสานและฌาปนสถาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๖ ร่างพระราชบัญญัติจัดระเบียบจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๗ ร่างพระราชบัญญัติสุรา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๘ ร่างพระราชบัญญัติยาสูบ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๙ ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๑๐ ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการเรี่ยไร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๑๑ ร่างพระราชบัญญัติโรงแรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ๔.๑.๑๒ ร่างพระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....

ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)

**********************************

Page 3:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

ระเบียบวาระการประชุม

คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) ครั้งที่ ๓/๒๕๕๘

วันจันทร์ที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๓๐ น. ณ ห้องประชุมคณะรัฐมนตรี ชั้น ๒

อาคารส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (หลังใหม่) ท าเนียบรัฐบาล **********************

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ……………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………… ………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

มติที่ประชุม ……………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………….………………………………………………………………… ………………………………………….…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

Page 4:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔ -

ระเบียบวาระท่ี ๒ รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘

ฝ่ายเลขานุการได้จัดท าร่างรายงานการประชุม ก.ก.ถ. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ และได้เวียนให้กรรมการทุกท่านพิจารณา ตามหนังสือ ก.ก.ถ. ที่ นร ๐๑๐๗/ว ๑๐๘๑ ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘ แล้ว มีกรรมการขอแก้ไขรายงานการประชุม คือ ๑. รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) ประธาน ก.ก.ถ. ขอแก้ไขรายงาน การประชุม คือ - หน้าที่ ๑๙ ระเบียบวาระที่ ๔.๒ การขอรับเงินอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมจากการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม จาก “มติที่ประชุม เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะท างานหรือคณะอนุกรรมการเพื่อประชุมหารือเรื่องดังกล่าว...” ขอแก้ไขเป็น “มติที่ประชุม เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะท างานเพื่อประชุมหารือเรื่องดังกล่าว...” ๒. ศาสตราจารย์พิเศษสมชัย ฤชุพันธ์ ขอแก้ไขรายงานการประชุม คือ - หน้าที่ ๑๕ ระเบียบวาระที่ ๔.๒ การขอรับเงินอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมจากการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม บรรทัดที่ ๙ จาก “... แต่ว่าในอนาคตเราคงจะท าให้กลุ่มนี้เป็นภาษีท้องถิ่นโดยใช้อ านาจรัฐ...” ขอแก้ไขเป็น “...แต่ว่าในอนาคตเราคงจะท าให้กลุ่มนี้เป็นภาษีท้องถิ่น โดยใหอ้ านาจรัฐ...” - หน้าที่ ๑๕ ระเบียบวาระที่ ๔.๒ การขอรับเงินอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมจากการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม บรรทัดที่ ๑๕ จาก “... ในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ ๓๐ ยังมีภาษีตัวอื่นๆ อีกท่ีเข้าลักษณะเดียวกัน...” ขอแก้ไขเป็น “... ในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ ๓๐ นอกจากนั้น ยังมีภาษีตัวอ่ืนๆ อีก ที่เข้าลักษณะเดียวกัน...” - หน้าที่ ๑๕ ระเบียบวาระที่ ๔.๒ การขอรับเงินอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมจากการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม บรรทัดที่ ๑๗ จาก “... กรมการขนส่งทางบกที่เก็บให้ท้องถิ่นก็ควรได้รับค่าใช้จ่าย แต่ขณะนี้ยังไม่ได้ด าเนินการ...” ขอแก้ไขเป็น “... กรมการขนส่งทางบกที่เก็บให้ท้องถิ่นก็ควรได้รับค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บ แต่ขณะนี้ยังไม่ได้ด าเนินการ...” ๓. นายธรรมศักดิ์ สัมพันธ์สันติกูล ขอแก้ไขรายงานการประชุม คือ - เพ่ิมรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม ดังนี้ (๑) นายภาณุ จันทร์เจียวใช้ (๒) นางสาวผกามาส จรรยาเพศ

Page 5:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๕ -

- หน้าที่ ๑๑ ระเบียบวาระที่ ๔.๑ การจัดสรรเงินอุดหนุนตามแผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ เพ่ิมเติม บรรทัดที่ ๑ จาก “เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ อยู่ในขั้นตอนส่งร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. ๒๕๕๙ และเอกสารประกอบร่างรัฐธรรมนูญเสนอไปให้รัฐสภาเพ่ือพิจารณาตามขั้นตอนต่อไปแล้ว” ขอแก้ไขเป็น เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ อยู่ในขั้นตอนส่งร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ และเอกสารประกอบร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปีเสนอไปให้รัฐสภาเพ่ือพิจารณาตามขั้นตอนต่อไปแล้ว”

ทั้งนี้ ฝ่ายเลขานุการได้แก้ไขข้อความดังกล่าวในรายงานการประชุมเรียบร้อยแล้ว รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑

มติที่ประชุม ………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

Page 6:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๖ -

ระเบียบวาระท่ี ๓ เรื่องเพื่อทราบ

เรื่องที่ ๓.๑ การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มตามพระราชบัญญัติก าหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ส าหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. เรื่องเดิม

กกถ. ในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ มีมติเห็นชอบหลักเกณฑ์การจัดสรรเงินภาษีมูลค่าเพ่ิมตาม พ.ร.บ. ก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ส าหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ และได้จัดท าประกาศก าหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรเงินภาษีมูลค่าเพ่ิมดังกล่าว โดยให้กรมสรรพากรส่งมอบเงินภาษีมูลค่าเพ่ิมในอัตราร้อยละ ๒๐.๓๖ ของภาษีมูลค่าเพ่ิมที่จัดเก็บตามประมวลรัษฎากร หลังจากหักส่วนที่ต้องจ่ายคืนผู้เสียภาษีแล้ว และให้กรมสรรพากรน าส่งเงินภาษีมูลค่าเพ่ิมดังกล่าวให้ อปท. แต่ละแห่งในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) เป็นรายเดือน โดยเริ่มจากเงินภาษีมูลค่าเพ่ิมที่จัดเก็บในเดือนแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ให้น าส่งในเดือนมกราคม ๒๕๕๘ และต่อเนื่องไปเดือนละครั้งจนกว่าจะครบสิบสองเดือน

๒. ข้อเท็จจริง

กรมสรรพากร รายงานว่า ได้ถอนคืนเงินรายได้แผ่นดินประเภทภาษีมูลค่าเพ่ิมฯ ส าหรับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ แล้ว รวม ๗ งวด เป็นเงินรวมทั้งสิ้นจ านวน ๕๘,๗๕๒,๖๓๔,๔๒๕.๐๔ บาท คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๙๐ ของประมาณการการจัดสรรภาษีมูลค่าเพ่ิมฯ ให้แก่ อปท. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งประมาณการไว้จ านวน ๑๐๙,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีรายละเอียดปรากฏดังนี้

งวดที่ ๑ ๗,๙๘๘,๘๒๙,๖๐๕.๗๓ บาท งวดที่ ๒ ๗,๗๐๔,๔๒๙,๑๓๒.๒๗ บาท งวดที่ ๓ ๘,๐๘๖,๕๐๗,๕๕๒.๑๖ บาท งวดที่ ๔ ๙,๔๘๕,๒๗๗,๙๔๒.๖๑ บาท งวดที่ ๕ ๗,๖๖๒,๒๓๑,๗๓๐.๗๗ บาท งวดที่ ๖ ๘,๖๑๒,๗๑๗,๒๘๒.๑๗ บาท งวดที่ ๗ ๙,๒๑๒,๖๔๑,๑๗๙.๓๓ บาท

รวมจ านวนทั้งสิ้น ๕๘,๗๕๒,๖๓๔,๔๒๕.๐๔ บาท

๓. ข้อเสนอ

จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือโปรดทราบ

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ..................................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................. ................................................

Page 7:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๗ -

เรื่องที่ ๓.๒ การก าหนดสัดส่วนรายได้ให้แก่ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙

๑. เรื่องเดิม

คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) ในการประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๗ ได้เห็นชอบหลักการแนวทางการจัดสรรรายได้ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ และการก าหนดสัดส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล ร้อยละ ๒๙.๔๔ รวมทั้งทิศทางการกระจายอ านาจทางการคลังตามที่ฝ่ายเลขานุการเสนอ รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๒

๒. ข้อเท็จจริง

๒.๑ คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๘ และวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๘ ได้มีมติเห็นชอบวงเงินงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยก าหนดรายได้ของ อปท. จ านวน ๖๕๗,๓๐๐ ล้านบาท รายได้สุทธิของรัฐบาล จ านวน ๒,๓๓๐,๐๐๐ ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล ร้อยละ ๒๘.๒๑ และเห็นชอบให้กระทรวงมหาดไทยก ากับดูแลให้ อปท. เพ่ิมประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ ให้มีจ านวนเพ่ิมข้ึนอีกจ านวน ๘,๕๔๐ ล้านบาท โดยลดงบประมาณรายการเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ให้สอดรับด้วย ดังนี้

หน่วย:ล้านบาท

รายได้ของ อปท. ปี ๒๕๕๘ ปี ๒๕๕๙ เพิ่ม/ลด % เพิ่ม/ลด

๑. รายได้ที่ท้องถิ่นจัดเก็บเอง สัดสว่นร้อยละ

๖๑,๔๕๘.๐๐ ๙.๕๑

๗๐,๐๐๐.๐๐ ๑๐.๖๕

๘,๕๔๒.๐๐ ๑.๑๔

๑๓.๙๐%

๒. รายได้ที่รัฐจัดเก็บและแบ่งให้ สัดส่วนร้อยละ

๓๒๗,๒๒๒.๐๐๕๐.๖๓

๓๒๗,๙๔๐.๐๐ ๔๙.๘๙

๗๑๘.๐๐ -๐.๗๓

๐.๒๒%

๓. เงินอุดหนุน สัดส่วนร้อยละ

๒๕๗,๖๖๓.๗๘ ๓๙.๘๖

๒๕๙,๓๖๐.๐๐ ๓๙.๔๖

๑,๖๙๖.๒๒ -๐.๔๑

๐.๖๖%

รวมรายได้ของท้องถิ่น สัดส่วนร้อยละ

๖๔๖,๓๔๓.๗๘ ๑๐๐

๖๕๗,๓๐๐.๐๐ ๑๐๐

๑๐,๙๕๖.๒๒ ๑๐๐

๑.๗๐%

รายได้สุทธิของรัฐบาล สัดส่วนร้อยละ

๒,๓๒๕,๐๐๐.๐๐ ๒๗.๘๐

๒,๓๓๐,๐๐๐.๐๐ ๒๘.๒๑

๕,๐๐๐.๐๐ ๐.๔๑

๐.๒๒%

Page 8:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๘ -

๒.๒ การจัดสรรเงินอุดหนุน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ จ านวน ๒๕๙,๓๖๐ ล้านบาท

แบ่งเป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้ หน่วย:บาท

หน่วยงาน ปี ๒๕๕๘ ปี ๒๕๕๙ เพิ่ม/ลด % เพิ่ม/ลด

๑. กทม. ๑๔,๖๗๐,๐๐๐,๐๐๐ ๑๖,๓๒๗,๗๒๐,๐๐๐ ๑,๖๕๗,๗๒๐,๐๐๐ ๑๑.๓๐ ๒. เมืองพัทยา ๑,๔๙๙,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๕๘๘,๓๕๕,๘๐๐ ๘๙,๓๕๕,๘๐๐ ๕.๙๖ ๓. อบจ. เทศบาล และ อบต. ๒๔๑,๔๙๔,๗๗๘,๔๐๐ ๒๔๑,๔๔๓,๙๒๔,๒๐๐ -๕๐,๘๕๔,๒๐๐ -๐.๐๒ (๑) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น.

๒๔๐,๖๐๑,๕๔๙,๗๐๐ ๒๓๗,๙๘๘,๗๔๓,๙๐๐ -๒,๖๑๒,๘๐๕,๘๐๐ -๑.๐๙

(๒) ส านักงานปลัดส านักนายกฯ

๒๐๕,๐๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐,๐๐๐ -๕๐,๐๐,๐๐๐ -๒.๔๔

(๓) ส านักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติฯ

๖๘๘,๒๒๘,๗๐๐ ๓,๒๕๕,๑๘๐,๓๐๐ ๒,๕๖๖,๙๕๑,๖๐๐ ๓๗๒.๙๘

รวม ๒๕๗,๖๖๓,๗๗๘,๔๐๐ ๒๕๙,๓๖๐,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๖๙๖,๒๒๑,๖๐๐ ๐.๖๖

รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๓

๓. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือโปรดทราบ

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................. ............................................ ........................................................................................................................ .....................................................

Page 9:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๙ - เรื่องท่ี ๓.๓ ขอปรับเงินอุดหนุนทั่วไปตามอ านาจหน้าที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙

๑. ความเป็นมา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ได้พิจารณารับหลักการร่างพระราชบัญญัติ

งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยก าหนดจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) รวมทั้งสิ้น ๒๕๙,๓๖๐ ล้านบาท เป็นเงินอุดหนุนทั่วไปตามอ านาจหน้าที่และภารกิจ ถ่ายโอนจ านวน ๔๗,๖๑๘.๔๖ ล้านบาท

๒. ข้อเท็จจริง ๒.๑ สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย สมาคมสันนิบาตเทศบาล

แห่งประเทศไทย และสมาคมองค์การบริหารส่วนต าบลแห่งประเทศไทย พิจารณาเห็นว่า หากในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ อปท. ได้รับการจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเพียง ๔๗,๖๑๘.๔๖ ล้านบาท ซึ่งต่ ากว่าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และปี งบประมาณ พ .ศ . ๒๕๕๘ รวม เป็ น เ งินประมาณ ๑๔ ,๐๐๐ ล้ านบาท จะส่ งผลกระทบ ต่อการจัดบริการสาธารณะแก่ประชาชนมากขึ้น จึงมีหนังสือเรียน ประธาน กกถ. เพ่ือพิจารณาปรับลด เงินอุดหนุนบางรายการ เป็นเงินรวมทั้งสิ้น ๑๙,๘๕๖.๕๓ ล้านบาท เพ่ือให้ อปท. สามารถด าเนินการแก้ไขปัญหาแก่ประชาชนได้ โดยขอให้ส่วนราชการที่รับผิดชอบแปรญัตติเงินจ านวนดังกล่าวไปเพ่ิมเป็นเงินอุดหนุนทั่วไปตามอ านาจหน้าที่ ดังนี้

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานคร จากที่ก าหนดไว้จ านวน ๑๖,๓๒๗.๗๒ ล้านบาท ขอปรับลด จ านวน ๑,๖๕๗.๗๒ ล้านบาท คงเหลือจ านวน ๑๔,๖๗๐.๐๐ ล้านบาท (เท่ากับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘)

๒.๑.๒ เมืองพัทยา จากที่ก าหนดไว้จ านวน ๑,๕๘๘.๓๖ ล้านบาทขอปรับลดจ านวน ๘๙.๓๖ ล้านบาท คงเหลือจ านวน ๑,๔๙๙.๐๐ ล้านบาท (เท่ากับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘)

๒.๑.๓ เงินอุดหนุนเฉพาะกิจที่ตั้งไว้ที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากที่ก าหนดไว้จ านวน ๓,๒๕๕.๑๘ ล้านบาท ขอปรับลดจ านวน ๒,๕๖๐.๗๒ ล้านบาท คงเหลือจ านวน ๖๙๔.๔๖ ล้านบาท (เท่ากับปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘)

๒.๑.๔ เงินอุดหนุนทั่วไปตามวัตถุประสงค์ รายการป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ขอปรับลดทั้งจ านวน ๔๓.๕๐ ล้านบาท

๒.๑.๕ เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จ านวน ๕ รายการ ดังนี้ (๑) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ รายการการแก้ไขปัญหาน้ าอุปโภคบริโภค

(ประปาหมู่บ้าน) จากที่ก าหนดไว้จ านวน ๑๑,๑๒๔.๖๖ ล้านบาท ขอปรับลดจ านวน ๖,๑๒๔.๖๖ ล้านบาท คงเหลือจ านวน ๕,๐๐๐ ล้านบาท

(๒) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ รายการบ ารุงรักษาถนนถ่ายโอนจาก ที่ก าหนดไว้ จ านวน ๑๓,๒๕๔.๓๙ ล้านบาท ขอปรับลดจ านวน ๘,๒๕๔.๓๙ ล้านบาท คงเหลือจ านวน ๕,๐๐๐ ล้านบาท

Page 10:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๑๐ -

(๓) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ รายการก่อสร้างอาคารเรียนและอาคาร ประกอบ จากที่ก าหนดไว้จ านวน ๒,๖๖๗.๐๕ ล้านบาท ขอปรับลดจ านวน ๖๖๗.๐๕ ล้านบาท คงเหลือจ านวน ๒,๐๐๐ ล้านบาท

(๔) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ รายการก่อสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากที่ก าหนดไว้จ านวน ๔,๒๕๙.๑๓ ล้านบาท ขอปรับลดจ านวน ๒๕๙.๑๓ ล้านบาท คงเหลือจ านวน ๔,๐๐๐ ล้านบาท

(๕) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ รายการจัดระเบียบการค้าในพื้นที่สาธารณะ จากที่ก าหนดไว้จ านวน ๔๑๑.๖๖ ล้านบาท ขอปรับลดจ านวน ๒๐๐ ล้านบาท คงเหลือจ านวน ๒๑๑.๖๖ ล้านบาท

รวมเป็นเงินที่ขอปรับลดและขอให้ส่วนราชการที่รับผิดชอบแปรญัตติเพิ่มเป็น เงินอุดหนุนทั่วไปตามอ านาจหน้าทีแ่ละภารกิจถ่ายโอนรวมทั้งสิ้นจ านวน ๑๙,๘๕๖.๕๓ ล้านบาท

๒.๒ ฝ่ายเลขานุการ พิจารณาแล้วเห็นว่า เนื่องจากเรื่องนี้มีความเกี่ยวข้องกับนโยบายรัฐบาลและมติคณะรัฐมนตรีจ านวนมาก ประกอบกับขณะนี้อยู่ในขั้นตอนที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พิจารณาในรายละเอียดของร่างงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ จึงได้น าเรียนประธาน ก.ก.ถ. เพ่ือพิจารณามอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการแจ้งส านักงบประมาณ และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพ่ือด าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องและแจ้งผลการด าเนินงานเพื่อน าเรียนประธาน ก.ก.ถ. ทราบต่อไป รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๔

๓. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือโปรดทราบ

มติที่ประชุม ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………….………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………….…………………………………………………………………………

Page 11:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๑๑ - เรื่องท่ี ๓.๔ การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพื่อศึกษาและให้ข้อเสนอแนะด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณของ อปท. (ตามมติ ก.ก.ถ. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘)

๑. ความเป็นมา

ก.ก.ถ. ในการประชุม ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ได้มีมติเห็นชอบให้แต่งตั้งคณะท างานเพ่ือด าเนินการตามมติ ก.ก.ถ. เกี่ยวกับการขอรับเงินอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมจากการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม การน ารายได้สะสมของ อปท. มาใช้ในการด าเนินโครงการที่มีลักษณะเป็นการช่วยเหลือประชาชนในระดับรากหญ้าในพ้ืนที่ตามข้อสั่งการของนายกรัฐมนตรี และศึกษาระเบียบกระทรวงมหาดไทยและหนังสือสั่งการกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายงบประมาณของ อปท. เพ่ือให้ อปท. มีความคล่องตัวในการด าเนินงานและน าเสนอ ก.ก.ถ. พิจารณาต่อไป

๒. ข้อเท็จจริง ฝ่ายเลขานุการพิจารณาเห็นว่า การแต่งตั้งเป็นคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือด าเนินการใน

เรื่องดังกล่าวจะท าให้การท างานมีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงได้จัดท าค าสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือศึกษาและให้ข้อเสนอแนะด้านการเงิน การคลัง และงบประมาณของ อปท. ตามมติ ก.ก.ถ. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ และน าเรียนรองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) ประธาน ก.ก.ถ. พิจารณาเห็นชอบลงนามในค าสั่งดังกล่าวแล้ว รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๕

๓. ข้อเสนอ จึงเสนอที่ประชุมเพ่ือโปรดทราบ

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................

Page 12:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๑๒ -

เรื่องที่ ๓.๕ รายงานผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ

๑. ความเป็นมา ส านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (สลน.) แจ้งว่า คณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้มีหนังสือกราบเรียนนายกรัฐมนตรีน าเสนอรายงานแนวทางการเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เมื่อสิ้นสุดไตรมาสที่ ๒ ของหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จึงส่งเรื่องให้ส านักงาน ก.ก.ถ. ในฐานะเลขานุการ ก.ก.ถ. เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป ทั้งนี้ สลน. ได้แจ้งให้กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลัง ส านักงบประมาณ และส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติด้วยแล้ว

๒. ข้อเท็จจริง สกถ. ได้ศึกษารายงานดังกล่าวแล้ว เห็นว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจ ในเรื่องผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเงินอุดหนุนของ อปท. รวมทั้งข้อสังเกตและข้อเสนอแนะสรุปได้ดังนี้ ๒.๑ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ อปท. ได้รับจัดสรรเงินอุดหนุนจ านวนทั้งสิ้น ๒๔๐,๖๐๑.๕๕ ล้านบาท ประกอบด้วยเงินอุดหนุนทั่วไป จ านวน ๑๘๙,๐๕๑.๐๖ ล้านบาท และเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จ านวน ๕๑,๕๕๐.๔๙ ล้านบาท ซึ่งมีผลการเบิกจ่าย ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๘ ดังนี้

หน่วย:ล้านบาท

รายการ งบประมาณ เบิกจ่าย ณ ๓๑ มี.ค. ๕๘ ร้อยละ เงินอุดหนุนทั่วไป (รายจ่ายประจ า)

๒๐๙,๗๓๑.๘ ๑๔๗,๓๒๙.๒ ๗๐.๒

เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (รายจ่ายลงทุน)

๓๐,๘๖๙.๗ ๕,๔๗๘.๑ ๑๗.๗

รวม ๒๔๐,๖๐๑.๕ ๑๕๒,๘๐๗.๓ ๖๓.๕

หมายเหตุ : รายจ่ายประจ าเป็นข้อมูลหลังการโอนเปลี่ยนแปลงจากเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ส าหรับสนับสนุน การก่อสร้างถนน (รายจ่ายลงทุน) ไปเป็นเงินอุดหนุนทั่วไป ส าหรับด าเนินการตามอ านาจหน้าที่และภารกิจ ถ่ายโอน (รายจ่ายประจ า) ในภาพรวมเงินอุดหนุน อปท. มีการเบิกจ่ายได้ร้อยละ ๖๓.๕ โดยเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุน จ านวน ๕,๔๗๘.๑ ล้านบาท หรือร้อยละ ๑๗.๗ และรายจ่ายประจ า จ านวน ๑๔๗,๓๒๙.๒ ล้านบาท หรือร้อยละ ๗๐.๒ ทั้งนี้ รายจ่ายลงทุนเมื่อรวมการเบิกจ่ายและการก่อหนี้ผูกผันจะเป็นจ านวน ๒๔,๖๙๘ ล้านบาท หรือร้อยละ ๘๐ จึงคาดว่าการเบิกจ่ายในไตรมาสที่ ๓ และ ๔ จะเป็นไปตามเป้าหมาย เนื่องจากรายจ่ายลงทุนของ อปท. ส่วนใหญ่

Page 13:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๑๓ -

จะเป็นรายการค่าก่อสร้าง ปรับปรุงถนนและแหล่งน้ า ซึ่งมีวงเงินแต่ละรายการไม่สูงมากนัก หากมีการลงนามในสัญญาแล้วจะสามารถเบิกจ่ายได้ค่อนข้างรวดเร็ว ๒.๒ คณะกรรมาธิการฯ ได้เชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้แทนส านักงบประมาณ ผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น มาร่วมประชุมเพ่ือให้ข้อมูลและความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงการปฏิบัติราชการและหลักเกณฑ์การปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๘ และที่แก้ไขเพ่ิมเติมของส านักงบประมาณ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓ มีนาคม ๒๕๕๘ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ อปท. โดยให้อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น/ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอ านาจอนุมัติให้ อปท. เปลี่ยนแปลงสถานที่ด าเนินการได้ โดยอยู่ใน อปท. เดิม และไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ของรายการ ส าหรับกรณีเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ให้ด าเนินการตามมาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ ๒.๓ คณะอนุกรรมาธิการฯ มีข้อสั งเกตและข้อเสนอแนะในส่วนที่ เกี่ ยวข้องกับ การเบิกจ่ายเงินอุดหนุนของ อปท. สรุปได้ว่า ที่ผ่านมา อปท. จะต้องรอประกาศ ก.ก.ถ. ก่อน ซึ่ง ก.ก.ถ.จะก าหนดว่า อปท. ใดจะได้รับการจัดสรรจ านวนเงินเท่าใดในช่วงไตรมาสที่ ๒ ของปีงบประมาณ จึงจะได้รับอนุมัติจัดสรรงบประมาณรายจ่ายลงทุนหรือเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ แต่ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นปีแรกที่ อปท. ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายลงทุนตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ และได้มีการแสดงรายละเอียดรายการจัดสรรงบประมาณ ลงในระดับพ้ืนที่ไว้ในเอกสารงบประมาณ รวมทั้งมีการรายงานผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนไว้ในระบบ GFMIS ของบัญชีกลางเช่นเดียวกับส่วนราชการอ่ืนๆ จึงมีรายงานการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนที่เป็นไปตามการใช้จ่ายจริง ๒.๔ ปัญหาความล่าช้าในการเบิกจ่ายงบประมาณ เช่น รูปแบบรายการเป็นแบบมาตรฐานทั่วไปไม่เหมาะสมกับพ้ืนที่ จ าเป็นต้องมีการปรับแก้ไขแบบซึ่งบุคลากรในพ้ืนที่ อปท. ยังมีขีดความสามารถ ไม่เพียงพอ จึงต้องมีการชะลอการประกวดราคาจัดซื้อจัดจ้างไว้เพ่ือรอกรมโยธาธิการและผังเมืองมาด าเนินการ กรณีดังกล่าว ได้มีการแก้ไขโดย รมว.มท. ได้เชิญ ผวจ. ผู้แทน อปท. ทั่วประเทศมาร่วมประชุมเพ่ือรับฟังปัญหาและขับเคลื่อนการเบิกจ่ายงบประมาณในส่วนรายจ่ายลงทุนของ อปท. ซึ่งท าให้ อปท. สามารถเบิกจ่ายงบประมาณ ในส่วนของรายจ่ายลงทุนได้ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเมื่อสิ้นไตรมาสที่ ๒ ๒.๕ การจัดท างบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ส านักงบประมาณได้ก าหนดเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณ โดยน าผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ มาประกอบการพิจารณาอย่างเข้มงวด โดยก าหนดให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอ่ืน จังหวัด กลุ่มจังหวัด และ อปท. จัดท าแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณที่ชัดเจนประกอบการขอตั้งงบประมาณ รวมทั้งพิจารณาศักยภาพของหน่วยงาน ขีดความสามารถ ความพร้อม และล าดับความส าคัญของโครงการ

รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๖

๓. ข้อเสนอ จึงเสนอที่ประชุมเพื่อโปรดทราบ

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

Page 14:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๑๔ - เรื่องที่ ๓.๖ แนวทางการขับเคลื่อน (road map) ระบบการติดตามและประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒

๑. เรื่องเดิม คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ. )

ได้มีค าสั่งที่ ๘/๒๕๕๖ ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผล โดยมีศาสตราจารย์ชาติชาย ณ เชียงใหม่ เป็นประธาน เพ่ือท าหน้าที่ก าหนดระบบการติดตามและประเมินผล การกระจายอ านาจในภาพรวม รวมทั้งศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการกระจายอ านาจ และน าเสนอแนวทางในการพัฒนาเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานในการจัดบริการสาธารณะ และการประเมินเป้าหมายขั้นต่ าการจัดบริการสาธารณะของ อปท. และเสนอรายงานผลการด าเนินงานการถ่ายโอนภารกิจ งบประมาณ บุคลากร รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานกระจายอ านาจให้ ก.ก.ถ. ทราบ

๒. ข้อเท็จจริง คณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผล ได้ด าเนินการจัดท าแนวทางการขับเคลื่อน

(road map) ระบบการติดตามและประเมินผล ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๒ ซึ่งประกอบด้วย ๒.๑. การติดตามการสนับสนุนประสิทธิภาพการบริหารจัดการของ อปท. จ านวน ๔ เรื่อง

ได้แก่ ๑) การส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง อปท. ในการจัดบริการสาธารณะและการประสานแผนพัฒนา อปท. ๒) การเสริมสร้างวินัยทางการเงินการคลังของ อปท. ๓) การเรียนรู้ร่วมกันและการก ากับตรวจสอบของ ภาคประชาชน และ ๔) การส่งเสริมความเสมอภาคและความโปร่งใสในการบริหารจัดการของ อปท. (ด าเนินการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒)

๒.๒ การติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลการปฏิบัติงานของ อปท. จ านวน ๓ เรื่อง ได้แก่ ๑) การประเมินค่าเป้าหมายขั้นต่ าการจัดบริการสาธารณะของ อปท. ๒) การติดตามและประเมินผล การด าเนินงานของ อปท. ในพ้ืนที่ และ ๓) การติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายเงินอุดหนุนที่ อปท. ได้รับการจัดสรร รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๗

๓. ข้อเสนอ

จึงเสนอที่ประชุมเพื่อโปรดทราบ

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................. ............................................ ........................................................................................................................ .....................................................

Page 15:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๑๕ - เรื่องที่ ๓.๗ แนวทางการติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายเงินอุดหนุนเฉพาะกิจที่ อปท. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ

๑. เรื่องเดิม คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.)

ได้มีค าสั่งที่ ๘/๒๘๘๖ ลงวันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผลโดยมีศาสตราจารย์ชาติชาย ณ เชียงใหม่ เป็นประธาน เพ่ือท าหน้าที่ก าหนดระบบการติดตามและประเมินผลการกระจายอ านาจในภาพรวม รวมทั้งศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการกระจายอ านาจ และน า เสนอแนวทางในการพัฒนาเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานในการจัดบริการสาธารณะ และการประเมินเป้าหมายขั้นต่ าการจัดบริการสาธารณะของ อปท. และเสนอรายงานผลการด าเนินงานการถ่ายโอนภารกิจ งบประมาณ บุคลากร รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานกระจายอ านาจให้ ก.ก.ถ. ทราบ

๒. ข้อเท็จจริง คณะอนุกรรมการด้านการติดตามและประเมินผล ในการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๕๘

เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘ ได้พิจารณาเรื่อง แนวทางการติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายเงินอุดหนุนที่ อปท. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ เนื่องจาก ก.ก.ถ. ได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ในแต่ละปีงบประมาณเป็นจ านวนมาก ซึ่งปัจจุบันปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เป็นจ านวน ๒๕๗,๖๖๓.๗๘ ล้านบาท สัดส่วนคิดเป็นร้อยละ ๓๙.๘๖ ของรายได้ อปท. และได้มีมติ ดังนี้

๒.๑ ให้ติดตามผลการใช้จ่ายเงินอุดหนุนเฉพาะกิจปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ของ อปท. ในภาพรวมของจังหวัด จ านวน ๓ รายการ ได้แก่ ๑) การถ่ายโอนภารกิจก่อสร้าง และบ ารุงรักษาถนนของ อบจ. จ านวน ๑๐,๐๐๐ ล้านบาท และ ๒) การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ าอุปโภค บริโภค (ประปาหมู่บ้าน) ของเทศบาล และ อบต. จ านวน ๖,๘๐๐.๐๖ ล้านบาท และ ๓) ค่าปรับปรุงซ่อมแซมสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้าของเทศบาล และ อบต. จ านวน ๙๕๐ ล้านบาท เนื่องจากภารกิจการก่อสร้างและบ ารุงรักษาถนน การดูแลแหล่งน้ า และการบ ารุงรักษาสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟ้า เป็นภารกิจที่มีผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในภาพรวม และใช้เงินงบประมาณจ านวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับภัยแล้ง และปัญหาการขาดแคลนน้ า ๒.๒ เพ่ือให้การติดตามผลดังกล่าวเกิดการประสานงานและบูรณาการร่วมกันระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น จึงเห็นสมควรขอความอนุเคราะห์ให้ ผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นกลการขับเคลื่อน การติดตามผลกระจายอ านาจ และมีเขตพ้ืนที่รับผิดชอบคลอบคลุมทุกพ้ืนที่ อปท. ด าเนินการติดตามผลการใช้จ่ายเงินอุดหนุนเฉพาะกิจดังกล่าวของ อปท. ต่อไป ๒.๓ ปลัดส านักนายกรัฐมนตรีพิจารณาแล้ว เห็นชอบตามมติคณะอนุกรรมการฯข้อ ๒.๑ ข้อ ๒.๒ และได้มอบหมายให้ผู้ตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรีตรวจติดตามการใช้จ่ายเงินอุดหนุนเฉพาะกิจดังกล่าวต่อไปแล้ว รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๘

๓. ข้อเสนอ

จึงเสนอที่ประชุมเพื่อโปรดทราบ

มติที่ประชุม ............................................................................................................................

Page 16:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๑๖ -

เรื่องที่ ๓.๘ ประกาศ ก.ก.ถ. เรื่อง ผลการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี การบริหารจัดการที่ดี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗

๑. เรื่องเดิม คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) ได้มีนโยบายในการจัดสรรเงินอุดหนุนเพ่ือเป็นรางวัลส าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่มีการบริหารจัดการที่ดี เพ่ือจูงใจให้ อปท. มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและตอบสนอง ความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้มากยิ่งขึ้น โดยมอบหมายให้คณะอนุกรรมการก าหนดหลักเกณฑ์ การจัดสรรเงินอุดหนุนเพ่ือใช้เป็นรางวัลส าหรับ อปท. ท าหน้าที่ก าหนดหลักเกณฑ์ชี้วัด วิธีการคัดเลือก และคัดเลือก อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลดังกล่าว และได้ด าเนินการอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นต้นมา

๒. ข้อเท็จจริง ๒.๑ เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ หอประชุมกรมประชาสัมพันธ์ กรุงเทพมหานคร รัฐมนตรีประจ าส านักนายกรัฐมนตรี (หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล) ซึ่งได้ รับมอบหมายจากรองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) ประธาน ก.ก.ถ. เป็นประธานในพิธีมอบถ้วยรางวัลและโล่เกียรติคุณให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ จ านวน ๕๗ แห่ง โดยผู้ร่วมงานประกอบด้วย ผู้บริหาร และผู้ติดตาม อปท. ที่ได้รับรางวัล กรรมการ ก.ก.ถ. อนุกรรมการก าหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรเงินอุดหนุนเพ่ือใช้เป็นรางวัลส าหรับ อปท. กรรมการคัดเลือก อปท. ทั้ง ๗ คณะ ผู้แทน ส่วนราชการต่าง ๆ สื่อมวลชน จ านวนรวมประมาณ ๖๐๐ คน ๒.๒ คณะอนุกรรมการก าหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรเงินอุดหนุนเพ่ือใช้เป็นรางวัลส าหรับ อปท. ได้ด าเนินการก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการคัดเลือก และคัดเลือก อปท. ที่สมควรได้รับรางวัล การบริหารจัดการที่ดี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ เสร็จเรียบร้อยแล้ว โดยมีเงินรางวัลจ านวน ๒๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท และมี อปท. ที่ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัล จ านวน ๕๔ แห่ง ได้แก่ ๒.๒.๑ อปท. ที่ได้รับรางวัลดีเลิศ รางวัลละ ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท จ านวน ๔๖ แห่ง ดังนี้ (๑) ด้านการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จ านวน ๑๑ แห่ง (๒) ด้านการส่งเสริมและจัดการศึกษา จ านวน ๗ แห่ง (๓) ด้านการส่งเสริมอาชีพ จ านวน ๗ แห่ง (๔) ด้านการดูแลรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม จ านวน ๑๐ แห่ง (๕) ด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี จ านวน ๑๑ แห่ง ๒.๒.๒ อปท. ที่ได้รับรางวัลชมเชย รางวัลละ ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท จ านวน ๘ แห่ง ดังนี้ (๑) ด้านการส่งเสริมและจัดการศึกษา จ านวน ๔ แห่ง (๒) ด้านการส่งเสริมอาชีพ จ านวน ๔ แห่ง

Page 17:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๑๗ - ๒.๓ รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) ประธาน ก.ก.ถ. ได้ลงนามในประกาศ ก.ก.ถ. เรื่อง ผลการคัดเลือก อปท. ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ตามที่คณะอนุกรรมการฯ เห็นชอบ เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๘ รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๙ ทั้งนี้ ฝ่ายเลขานุการจะเร่งรัดให้มีการจัดพิธีมอบรางวัล อปท. ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ให้แล้วเสร็จภายในเดือนกันยายน ๒๕๕๘ ต่อไป

๓. ข้อเสนอ จึงเสนอที่ประชุมเพ่ือโปรดทราบ

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................

Page 18:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๑๘ -

เรื่องที่ ๓.๙ รายงานความคืบหน้าการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘

๑. เรื่องเดิม

คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) ได้มีมติเห็นชอบให้มีการจัดสรรเงินอุดหนุนเพ่ือเป็นรางวัลส าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ จ านวน ๑๙๖ ล้านบาท โดยมอบหมายให้คณะอนุกรรมการก าหนดหลักเกณฑ์ การจัดสรรเงินอุดหนุนเพ่ือใช้เป็นรางวัลส าหรับ อปท. ท าหน้าที่ก าหนดหลักเกณฑ์ชี้วัด วิธีการคัดเลือก และคัดเลือก อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลดังกล่าว

๒. ข้อเท็จจริง

๒.๑ คณะอนุกรรมการก าหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรเงินอุดหนุนเพ่ือใช้เป็นรางวัลส าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือก อปท. ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ เสร็จเรียบร้อยแล้ว สรุปสาระส าคัญ ดังนี้

๒.๑.๑ วัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้ อปท. พัฒนาการบริหารจัดการตามอ านาจหน้าที่ของตนเองให้เป็นไปตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีและสามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยมุ่งเน้นการประเมินผลการบริหารจัดการของ อปท. ด้านความโปร่งใสในการปฏิบัติงานการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน และการให้บริการสาธารณะที่ดีและมีคุณภาพแก่ประชาชน

๒.๑.๒ ให้จัดสรรเงินอุดหนุนเพ่ือเป็นรางวัลส าหรับ อปท. ที่มีการบริหารจัดการ ที่ดี จ านวน ๑๙๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท ให้แก่ อปท. ดังต่อไปนี้ (๑) ประเภทโดดเด่น จ านวน ๗๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท (๒) ประเภททั่วไป จ านวน ๑๑๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท ได้แก ่ (๒.๑) อปท. ขนาดใหญ่ จะประกอบไปด้วย อบจ. เทศบาลนครและ

เทศบาลเมือง (๒.๒) เทศบาลต าบล (๒.๓) อบต. ๒.๑.๓ คุณสมบัติของ อปท. ที่สมัคร (๑) ประเภทโดดเด่น ได้แก่ อปท. ที่เคยได้รับรางวัลการบริหารจัดการที่ดี (ถ้วยรางวัลหรือโล่รางวัล) จาก ก.ก.ถ. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔, ๒๕๕๕ หรือ ๒๕๕๖ (ปีใดปีหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งครั้ง ทั้งนี้ไม่รวมรางวัล อปท. ที่ผ่านเกณฑ์การบริหารจัดการที่ดี) และต้องมีคะแนนผลการประเมินการปฏิบัติราชการของ อปท. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ด้านการบริหารจัดการ ที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) ด าเนินการโดยคณะท างานของจังหวัด (Core Team) ร้อยละ ๙๐ ขึ้นไป

Page 19:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๑๙ - (๒) ประเภททั่วไป ได้แก่ อปท. ที่ไม่เคยได้รับรางวัลการบริหารจัดการ ที่ดี (ถ้วยรางวัลหรือโล่รางวัล) จาก ก.ก.ถ. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔, ๒๕๕๕, หรือ ๒๕๕๖ และต้องมีคะแนนผลการประเมินการปฏิบัติราชการของ อปท. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ด้านการบริหารจัดการที่ สถ. ด าเนินการโดยคณะท างานของจังหวัด (Core Team) ร้อยละ ๘๕ ขึ้นไป ๒.๑.๔ หลักเกณฑ์การจัดสรร ให้เป็นไปตามเกณฑ์ชี้วัดที่คณะอนุกรรมการฯ ก าหนด ประกอบด้วย (๑)เกณฑ์ชี้วัดการประเมินการปฏิบัติราชการของ อปท. ด้านการบริหารจัดการของ สถ. (๒) เกณฑ์ชี้วัดการประเมิน อปท. ตามท่ีคณะอนุกรรมการฯ ก าหนด ๒.๑.๕ วิธีการคัดเลือก อปท. เพ่ือรับรางวัล คัดเลือก อปท. ในประเภทโดดเด่นตามข้อ ๑.๑ และตามคุณสมบัติในข้อ ๒.๑ และประเภททั่วไปตามข้อ ๑.๒ และตามคุณสมบัติในข้อ ๒.๒ โดยให้ อปท. ดังกล่าวสมัครใจส่งแบบประเมินเกณฑ์ชี้วัดการประเมิน อปท. ตามที่คณะอนุกรรมการฯ ก าหนด ส่งให้ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี ๒.๑.๖ ให้สถาบันการศึกษาที่ได้รับมอบหมายด าเนินการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานของ อปท. ตามเกณฑ์ชี้วัดที่คณะอนุกรรมการก าหนด และให้สถาบันการศึกษาเรียงล าดับคะแนนของ อปท. ในประเภทโดดเด่นและประเภททั่วไป เพ่ือให้คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจากส่วนกลางลงพ้ืนที่เพ่ือไปตรวจประเมินผลการปฏิบัติงานในรอบต่อไป ๒.๑.๗ ให้มีคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือคัดเลือก อปท. จากส่วนกลาง ซึ่งแต่งตั้งโดยประธาน ก.ก.ถ. รับผิดชอบการคัดเลือก อปท. ที่สมควรได้รับรางวัลในประเภทโดดเด่น ๑ คณะ และประเภททั่วไป ๓ คณะ ดังนี้ (๑) ประเภทโดดเด่น - คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือคัดเลือก อปท. ประเภทโดดเด่น (๒) ประเภททั่วไป (๒.๑) คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือคัดเลือก อปท. ขนาดใหญ่ (๒.๒) คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือคัดเลือกเทศบาลต าบล (๒.๓) คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือคัดเลือก อบต. ๒.๑.๘ คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือคัดเลือก อปท. จากส่วนกลาง ตามข้อ ๖ ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นประธาน ผู้แทนส านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ผู้แทนในคณะอนุกรรมการก าหนดหลักเกณฑ์การจัดสรรเงินอุดหนุนเพ่ือใช้เป็นรางวัลส าหรับ อปท. ที่เห็นสมควร ผู้แทนสมาคมของ อปท. เป็นกรรมการ และผู้แทนส านักงานคณะกรรมการการกระจายอ านาจ

Page 20:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒๐ - ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สกถ.) เป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้แทน สกถ. ที่ ผอ.สกถ. มอบหมายจ านวน ๑ คน เป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ โดยมีสัดส่วนคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจประมาณ ๗ – ๙ คน ๒.๑.๙ ให้แบ่ง เงินรางวัลที่จัดสรรให้แก่ อปท. ที่มีการบริหารจัดการที่ดีปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ จ านวน ๑๙๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท ออกเป็น ๒ ประเภท ดังนี้ (๑) ประเภทโดดเด่น จ านวน ๗๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท จัดสรรเป็นเงินรางวัลส าหรับ อปท. ที่ได้รับการคัดเลือกประเภทโดดเด่น จ านวนทั้งสิ้น ๑๑ รางวัล ประกอบด้วย รางวัลที่ ๑ จ านวน ๑๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๒ จ านวน ๑๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๓ จ านวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

รางวัลชมเชย ๘ รางวัล ๆ ละ ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท รวมจ านวนเงิน ๔๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท

(๒) ประเภททั่วไป จ านวน ๑๑๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท จัดสรรเป็นเงินรางวัลส าหรับ อปท. ที่ได้รับการคัดเลือกประเภททั่วไป จ านวนทั้งสิ้น ๒๖ รางวัล ประกอบด้วย (๒.๑) อปท.ขนาดใหญ่ (อบจ. เทศบาลนคร และเทศบาลเมือง) จ านวน ๔ รางวัล รวมเป็นเงิน ๒๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๑ จ านวน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๒ จ านวน ๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๓ จ านวน ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลชมเชย ๑ รางวัล ๆ ละ ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท (๒.๒) เทศบาลต าบล จ านวน ๑๑ รางวัล รวมเป็นเงิน ๔๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๑ จ านวน ๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๒ จ านวน ๗,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๓ จ านวน ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลชมเชย ๘ รางวัล ๆ ละ ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท รวมจ านวนเงิน ๒๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท (๒.๓) องค์การบริหารส่วนต าบล จ านวน ๑๑ รางวัล รวมเป็นเงิน ๔๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๑ จ านวน ๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๒ จ านวน ๗,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลที่ ๓ จ านวน ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท รางวัลชมเชย ๘ รางวัล ๆ ละ ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท รวมจ านวนเงิน ๒๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท

Page 21:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒๑ - ๒.๑.๑๐ ให้ อปท.ที่ได้รับรางวัล น าเงินรางวัลที่ได้รับไปใช้จ่ายเพ่ือด าเนินการ ตามอ านาจหน้าที่เพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน ทั้งนี้ ให้พิจารณาด าเนินโครงการที่บรรจุไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่นเป็นล าดับแรก และให้ อปท. รายงานผลการใช้จ่ายเงินรางวัลให้ สปน. ทราบ ๒.๒ รายงานผลการรับสมัคร อปท. ที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ มีจ านวนทั้งสิ้น ๑๐๘ แห่ง ดังนี้ ๒.๒.๑ รางวัล อปท. ประเภทโดดเด่น มี อปท. จ านวนทั้งสิ้น ๓๕ แห่ง โดยจ าแนกเป็น

ประเภทท้องถิ่น จ านวนแห่ง

องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต าบล องค์การบริหารส่วนต าบล

๒ ๑ ๓

๑๓ ๑๖

รวม ๓๕

๒.๒.๒ รางวัล อปท. ประเภททั่วไป มี อปท. จ านวนทั้งสิ้น ๗๓ แห่ง โดยจ าแนกเป็น

ประเภทท้องถิ่น รวมจ านวนแห่ง

กลุ่ม อปท.ขนาดใหญ่ (อบจ. ๒ แห่ง เทศบาลนคร ๒ แห่ง เทศบาลเมือง ๖ แห่ง)

๑๐

เทศบาลต าบล ๓๑

องค์การบริหารส่วนต าบล ๓๒

รวม ๗๓ ๒.๓ ขณะนี้อยู่ระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ปรึกษาโครงการด าเนินการตรวจสอบและประเมิน อปท. ในพื้นที่เพ่ือจัดเรียงอันดับคะแนน อปท. ในแต่ละประเภทรางวัล เสนอคณะอนุกรรมการฯ ก าหนดจ านวน อปท. ที่จะให้คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจเพ่ือคัดเลือก อปท. จากส่วนกลางลงพ้ืนที่คัดเลือกในรอบสุดท้ายต่อไป ๓. ข้อเสนอ จึงเสนอที่ประชุมเพ่ือโปรดทราบ

มติที่ประชุม ............................................................................................................................

Page 22:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒๒ -

เรื่องที่ ๓.๑๐ รายงานประจ าปี ๒๕๕๗ คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๑. ความเป็นมา พระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๒ (๑๔) ก าหนดให้คณะกรรมการมีอ านาจและหน้าที่เสนอรายงานเกี่ยวกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อคณะรัฐมนตรีอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง และมาตรา ๓๓ วรรคสี่ ก าหนดให้คณะกรรมการมีหน้าที่ติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการและรายงานหึคณะรัฐมนตรีทราบทุกปี ในกรณีที่มีปัญหาอุปสรรคไม่อาจด าเนินการตามแผนปฏิบัติการได้ ให้คณะกรรมการรายงานให้คณะรัฐมนตรีทราบปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขด้วย

๒. ข้อเท็จจริง ๒.๑ ส านักงานคณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สกถ.) ได้รวบรวมและประเมินผลการด าเนินงานตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และแผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ๒) ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ จัดท าเป็นรายงานประจ าปี ๒๕๕๗ เสนอ ก.ก.ถ. ในการประชุม ครั้งที่ ๑/๒๕๕๘ เมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๘ ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็นชอบร่างรายงานผลการปฏิบัติงานของ ก.ก.ถ. ดังกล่าว และให้น าเสนอคณะรัฐมนตรีทราบต่อไป ๒.๒ ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี โดย สกถ. ได้แจ้งส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเพ่ือน าเสนอคณะรัฐมนตรีทราบ และส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแจ้งว่า ได้น าเสนอคณะรัฐมนตรีทราบแล้ว เมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๕๘ รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑๐

๓. ข้อเสนอ จึงเสนอที่ประชุมเพ่ือโปรดทราบ และ สกถ. จักได้จัดพิมพ์แจกจ่ายให้แก่กลุ่มเป้าหมายได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส่วนราชการที่เก่ียวข้องต่อไป

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................................................... ......................................................

Page 23:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒๓ - ระเบียบวาระท่ี ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา

เรื่องที่ ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ (ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒)

๑. ความเป็นมา ๑.๑ แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ ได้ก าหนดให้มีการแก้ไขหรือจัดให้มีกฎหมายที่ต้องด าเนินการตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ปรากฏว่าการด าเนินการแก้ไขกฎหมายให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง ๒ ฉบับ มีความล่าช้าและไม่เป็นไปตามที่ก าหนดไว้ ๑.๒ ประธานกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน และคณะอนุกรรมการประกอบด้วย

๑.๒.๑ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายปกครองท้องถิ่น ๑.๒.๒ ผู้แทนส่วนราชการ ได้แก่ ผู้แทนส านักงาน ก.พ.ร. ผู้แทนส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ๑.๒.๓ ผู้แทนผู้บริหารท้องถิ่นใน ก.ก.ถ. ได้แก่ นายพรชัย โควสุรัตน์ ผู้แทนนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายประเสริฐ วชิรเขื่อนขันธ์ ผู้แทนนายกเทศมนตรี และนายไฉน ก้อนทอง ผู้แทนนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกอบชัย พงษ์เสริม ผู้แทนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และว่าที่ ร.ต. ไชยา วิสุทธิปราณี ผู้แทนนายกเมืองพัทยา

๒. ข้อกฎหมาย พระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๒ ก าหนดให้คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ก.ก.ถ.) มีอ านาจหน้าที่ดังนี้ มาตรา ๑๒ (๘) เสนอแนะการตราพระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ออกกฎกระทรวง ประกาศ ข้อบังคับ ระเบียบ และค าสั่งที่จ าเป็นเพ่ือด าเนินการให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อคณะรัฐมนตรี มาตรา ๑๒ (๙) เร่งรัดให้มีการตราพระราชกฤษฎีกา ออกกฎกระทรวง ประกาศ ข้อบังคับ ระเบียบ และค าสั่งที่จ าเป็นเพ่ือด าเนินการให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้ แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Page 24:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒๔ - ๓. ข้อเท็จจริง ฝ่ายเลขานุการฯ ได้ด าเนินการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนี้ ๓.๑ จัดท าแผนการยกร่างกฎหมายเพื่อใช้เป็นกรอบในการด าเนินงาน ๓.๒ ในการพิจารณาร่างกฎหมายเพื่อแก้ไขให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครอง ฝ่ายเลขานุการฯ ได้เชิญผู้แทนส่วนราชการผู้รักษาการตามกฎหมายมาร่วมประชุมเพ่ือชี้แจงต่อคณะอนุกรรมการฯ และผู้แทนส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นอนุกรรมการร่วมพิจารณาทุกครั้ง

๔. ข้อพิจารณา

คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้ด าเนินการแก้ไขปรับปรุงร่างกฎหมายเพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแผนปฏิบัติการฯ เสร็จเรียบร้อยแล้วเสนอในครั้งนี้ จ านวน ๑๒ ฉบับ โดยมีหลักการแก้ไขสรุปได้ดังนี้ ๔.๑ ร่างพระราชบัญญัติน้ าบาดาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยแก้ไขให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอ านาจออกข้อบัญญัติท้องถิ่นจัดเก็บค่าใช้น้ าบาดาลได้ และให้เงินค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔.๒ ร่างพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ... แก้ไขให้ค่าธรรมเนียมรายปีอันเกิดจากใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจ าพวกที่ ๒ ตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔.๓ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แก้ไขให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจเปรียบเทียบปรับผู้กระท าความผิด และค่าปรับตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔.๔ ร่างพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แก้ไขให้องค์การบริหารส่วนต าบลมีอ านาจตามกฎหมายดังกล่าว และให้เงินค่าธรรมเนียมและค่าปรับที่เกิดข้ึนตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔.๕ ร่างพระราชบัญญัติสุสานและฌาปนสถาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แก้ไขให้องค์การบริหารส่วนต าบลมีอ านาจตามกฎหมายดังกล่าว และให้เงินค่าธรรมเนียมและค่าปรับที่เกิดข้ึนตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๔.๖ ร่างพระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. .... แก้ไขให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอ านาจในการจัดระเบียบการจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๔.๗ ร่างพระราชบัญญัติสุรา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แก้ไขให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจอนุญาตจ าหน่ายสุราทุกประเภท และให้ค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตกเป็นแก่รายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Page 25:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒๕ - ๔.๘ ร่างพระราชบัญญัติยาสูบ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แก้ไขให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจอนุญาตจ าหน่ายยาสูบทุกประเภท และให้ค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตกเป็นแก่รายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๔.๙ ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แก้ไขให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจอนุญาตการขายทอดตลาดและค้าของเก่า และให้ค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตกเป็นรายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๔.๑๐ ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการเรี่ยไร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แก้ไขให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจรับเรื่องและอนุญาตการเรี่ยไร และให้ค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตกเป็นแก่รายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๔.๑๑ ร่างพระราชบัญญัติโรงแรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แก้ไขให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจอนุญาตและรับเปิดกิจการโรงแรมในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และให้ค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้น ตกเป็นแก่รายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๔.๑๒ ร่างพระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แก้ไขให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่มีอ านาจอนุญาตการจัดตั้งสถานบริการในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และให้ค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตกเป็นแก่รายได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๕. ข้อเสนอ

จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือพิจารณาโดยขอน าเสนอแยกเป็นรายฉบับ ดังนี้

Page 26:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒๖ -

เรื่องท่ี ๔.๑.๑ ร่างพระราชบัญญัติน้ าบาดาล (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา

๑.๑ แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก าหนดขอบเขตการถ่ายโอนภารกิจเกี่ยวกับ น้ าบาดาล ดังต่อไปนี้ ๑.๑.๑ ก าหนดให้ถ่ายโอนภารกิจ การขุดเจาะบ่อน้ าบาดาล พัฒนาเป่าล้างบ่อบาดาลเดิม ซ่อมบ ารุงรักษาเครื่องสูบน้ าแบบบ่อลึก การเรียกเก็บค่าใช้น้ าบาดาล การอนุญาตการขุดเจาะบ่อน้ าบาดาลที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตอนบนสุดน้อยกว่า ๔ นิ้ว (๑๐๐ มิลลิเมตร) และมอบอ านาจการอนุญาตใช้น้ าบาดาลที่อนุญาตใช้ไม่เกินวันละ ๑๐ ลูกบาศก์เมตร ๑.๑.๒ ก าหนดให้ผู้บริหารท้องถิ่น หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น เป็นพนักงานน้ าบาดาลประจ าท้องที่หรือพนักงานเจ้าหน้าที่และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีหน้าที่จัดหาและบ ารุงรักษาบ่อน้ าบาดาล เพ่ือการอุปโภคบริโภคตามข้อก าหนดและมาตรฐานของกรมทรัพยากรน้ าบาดาล ๑.๑.๓ กรมทรัพยากรน้ าบาดาลมีหน้าที่ส ารวจและเจาะบ่อน้ าบาดาลให้ชุมชนให้เป็นแหล่งน้ าส าหรับการอุปโภคบริโภคในพ้ืนที่การหาแหล่งน้ าบาดาลที่ต้องใช้วิชาการด้านอุทกธรณีวิทยาขั้นสูง ประกอบด้วยพ้ืนที่แหล่งน้ าบาดาลประเภทหินแข็ง เช่น พ้ืนที่ภูเขา หรือเกาะฯ และแหล่งน้ าบาดาลประเภทที่เสี่ยงต่อการปนเปื้อนจากมลภาวะ เช่น บริเวณท่ีเป็นเกลือหินและพ้ืนที่ที่ชั้นน้ ามีน้ าเค็มแทรกอยู่ ๑.๑.๔ กรมทรัพยากรน้ าบาดาลมีหน้าที่ศึกษาวิเคราะห์และวิจัยเทคนิควิชาการ เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ าบาดาล เพ่ือส ารวจและพัฒนาน้ าบาดาลมาใช้ประโยชน์ตามหลักวิชาการด้านอุทกธรณีวิทยาโดยสามารถด าเนินการขุดเจาะบ่อน้ าบาดาลซึ่งเป็นบ่อทดสอบและบ่อสังเกตการณ์ เพ่ือเก็บข้อมูลระดับน้ าและปริมาณน้ า คุณภาพน้ า และสร้างเครือข่ายบ่อน้ าบาดาล ส าหรับ อปท. และผู้เกี่ยวข้องในการน าน้ าบาดาลมาใช้ประโยชน์เชิงพ้ืนที่อย่างเป็นระบบ

๑.๑.๕ พ้ืนที่ประสบภัยพิบัติจากธรรมชาติส่งผลให้ประชาชนขาดแคลนน้ าให้ กรมทรัพยากรน้ าบาดาลมีหน้าที่ต้องให้ความช่วยเหลือประชาชนให้มีน้ ากินน้ าใช้โดยเร่งด่วน

๑.๑.๖ กรมทรัพยากรน้ าบาดาลมีอ านาจหน้าที่ควบคุม ก ากับ ดูแลตามพระราชบัญญัติ น้ าบาดาลในการอนุญาตและการขุดเจาะบ่อน้ าบาดาลให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และมาตรฐานที่ก าหนดรวมถึงการด าเนินการด้านวิชาการกับบ่อน้ าบาดาล

๑.๒ แผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ ก าหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการการเสนอแก้ไขหรือจัดให้มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ค าสั่งที่จ าเป็นเพ่ือด าเนินการตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ด้านที่ ๑ ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ได้ก าหนดให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติน้ าบาดาล พ.ศ. ๒๕๒๐ ดังนี้

Page 27:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒๗ - ๑.๒.๑ ก าหนดให้ผู้บริหารท้องถิ่นหรือข้าราชการส่วนท้องถิ่นเป็นพนักงานประจ าท้องที่หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ ๑.๒.๒ ก าหนดให้ อปท. เป็นหน่วยงานรับเรื่องและมีอ านาจหน้าที่ในการพิจารณาอนุญาตขุดเจาะบ่อน้ าบาดาลและการอนุญาตใช้น้ าบาดาลในเขต อปท. ๑.๒.๓ ให้ อปท. มีอ านาจตราข้อบัญญัติเรียกเก็บค่าใช้น้ าบาดาลในเขต อปท. ตามอัตราที่กรมทรัพยากรน้ าบาดาลก าหนด

๑.๒.๔ อธิบดีกรมทรัพยากรน้ าบาดาลมีอ านาจก ากับดูแลการอนุญาตการขุดเจาะ น้ าบาดาลให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และมาตรฐานที่ก าหนด

๑.๒.๕ ให้ค่าใช้น้ าบาดาลที่จัดเก็บได้ในเขต อปท. ตกเป็นรายได้ของ อปท.

๒. ข้อเท็จจริง คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้เชิญผู้แทน กรมทรัพยากรน้ าบาดาลมาร่วมหารือในประเด็นการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายน้ าบาดาลเพ่ือถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. ซึ่งผู้แทนกรมทรัพยากรน้ าบาดาลได้ชี้แจงดังนี้ ๒.๑ การให้ อปท. เป็นหน่วยงานรับเรื่องและมีอ านาจหน้าที่ในการพิจารณาอนุญาต ขุดเจาะบ่อน้ าบาดาลและการอนุญาตใช้น้ าบาดาลในเขต อปท. มีดังนี้ ๒.๑.๑ มอบอ านาจให้ อปท. มีอ านาจในการอนุญาตขุดเจาะบ่อน้ าบาดาลในขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่ ากว่าสี่นิ้ว

๒.๑.๒ ให้ อปท. เป็นหน่วยงานรับเรื่องในการอนุญาตขุดเจาะบ่อน้ าบาดาล

ผู้แทนกรมทรัพยากรน้ าบาดาลแจ้งว่า ในปัจจุบันการมอบอ านาจให้ อปท. เป็นผู้อนุญาตขุดเจาะบ่อน้ าบาดาลขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่ ากว่าสี่นิ้ว กรมทรัพยากรน้ าบาดาลได้ออกค าสั่งมอบหมายให้ อปท. มีอ านาจดังกล่าวใน ๓ จังหวัดน าร่อง ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดนครราชสีมา จึงเห็นว่า ไม่จ าเป็นที่จะต้องด าเนินการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายน้ าบาดาลในเรื่องนี้ เนื่องจากมาตรา ๔ มาตรา ๑๖ ก าหนดให้อธิบดีกรมทรัพยากรน้ าบาดาลมอบอ านาจการอนุญาตขุดเจาะบ่อน้ าบาดาลให้ อปท. ได้อยู่แล้ว

๒.๒ เห็นควรให้ อปท. มีอ านาจออกข้อบัญญัติท้องถิ่นในการจัดเก็บค่าใช้น้ าบาดาลได้ โดยให้กรมทรัพยากรน้ าบาดาลก าหนดอัตราขั้นต่ าการจัดเก็บค่าใช้น้ าบาดาลไว้ในกฎกระทรวง ๒.๓ เห็นควรให้ อปท. ส่งเงินที่ ได้จากการจัดเก็บค่าใช้น้ าบาดาลหลังจากหักเป็น ค่าอนุรักษ์น้ าบาดาลเข้ากองทุนพัฒนาน้ าบาดาลตามที่ก าหนดในกฎกระทรวงแต่ไม่เกินร้อยละห้าสิบของเงินดังกล่าว โดยให้ค่าใช้น้ าบาดาลที่เหลือตกเป็นรายได้ของ อปท. ๒.๔ เห็นควรให้เงินค่าธรรมเนียมการอนุญาตขุดเจาะน้ าบาดาลและค่าธรรมเนียมการอนุญาตใช้น้ าบาดาลตกเป็นรายได้ของ อปท.

Page 28:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒๘ - ๒.๕ เห็นควรให้มีผู้แทน อปท. ร่วมเป็นกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาน้ าบาดาล เนื่องจาก อปท. เป็นผู้ส่งเงินค่าใช้น้ าบาดาลส่งเข้ากองทุน จึงต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในการบริหารเงินกองทุน

๒.๖ กรมทรัพยากรน้ าบาดาลขอแก้ไขมาตรา ๘ เพ่ือยกเว้นค่าธรรมเนียมต่างๆ เกี่ยวกับการขุดเจาะบ่อน้ าบาดาลให้แก่ อปท. เนื่องจากค าว่า “องค์การของรัฐ” ไม่หมายรวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งผู้แทนกรมทรัพยากรน้ าบาดาลเห็นชอบในหลักการดังกล่าว

๓. ข้อพิจารณา

คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติน้ าบาดาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคัญดังนี้ ๓.๑ ก าหนดบทนิยามค าว่า “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” และ “ข้อบัญญัติท้องถิ่น” ซึ่งไม่รวมถึง อบจ. (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๓) ๓.๒ ให้ อปท. มีอ านาจออกข้อบัญญัติท้องถิ่นเพ่ือเก็บค่าใช้น้ าบาดาลในเขต อปท. ได้ ไม่ต่ ากว่าอัตราที่ก าหนดในกฎกระทรวง และให้หักค่าอนุรักษ์น้ าบาดาลก่อน และหักค่าใช้น้ าบาดาลไม่เกิน ร้อยละห้าสิบส่งเข้ากองทุนพัฒนาน้ าบาดาล (เพ่ิมมาตรา ๗/๑ และแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๗ จัตวา (๒)) ๓.๓ ให้มีผู้แทนผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ านวน ๓ คน ร่วมเป็นกรรมการในคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาน้ าบาดาล โดยผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเลือกกันเองตามหลักเกณฑ์วิธีการที่อธิบดีก าหนด (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๗ ฉ) ๓.๔ ให้หน่วยราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภทได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมต่างๆ เกี่ยวกับการประกอบกิจการน้ าบาดาล (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๘) ๓.๕ ก าหนดให้เงินค่าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัตินี้ตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เพ่ิมมาตรา ๒๗/๑) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑๑

๔. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................

Page 29:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๒๙ - เรื่องท่ี ๔.๑.๒ ร่างพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา ๑.๑ แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และแผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ก าหนดให้กระทรวงอุตสาหกรรมถ่ายโอนภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้แก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา เทศบาล องค์การบริหารส่วนต าบล และองค์การบริหารส่วนจังหวัด จ านวน ๕ ภารกิจ ดังนี้ ๑.๑.๑ การก ากับดูแลโรงงานจ าพวกที่ ๑ ๑.๑.๒ การรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจ าพวกที่ ๒ ๑.๑.๓ การก ากับดูแลโรงงานจ าพวกที่ ๓ ๑.๑.๔ การตรวจสอบกรณีก่อเหตุเดือดร้อน ๑.๑.๕ การอนุญาตให้ตั้งโรงงานขนาดเล็ก ๑.๒ กระทรวงอุตสาหกรรมได้ถ่ายโอนภารกิจให้แก่ กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา ตั้งแต่วันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ และเทศบาลทั่วประเทศ จ านวน ๑,๖๓๑ แห่ง ตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๒ โดยในเบื้องต้นได้ถ่ายโอน ๓ ภารกิจ ดังนี้ ๑.๒.๑ การก ากับดูแลโรงงานจ าพวกที่ ๑ ๑.๒.๒ การก ากับดูแลและการรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจ าพวกที่ ๒ ๑.๒.๓ การตรวจสอบกรณีก่อเหตุเดือดร้อน ๑.๓ ในการถ่ายโอนภารกิจตามข้อ ๑.๒ กระทรวงอุตสาหกรรมได้จัดท าคู่มือขั้นตอนการด าเนินงานและวิธีปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ส าหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และได้ด าเนินการฝึกอบรม เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการรับโอนภารกิจเรียบร้อยแล้ว ส าหรับภารกิจอ่ืนภายใต้แผนการถ่ายโอนตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ กระทรวงอุตสาหกรรมจะด าเนินการให้แล้วเสร็จในล าดับต่อไป

๒. ข้อเท็จจริง ๒.๑ คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้มีการประชุมเพ่ือพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยฝ่ายเลขานุการได้เชิญผู้แทนจากกระทรวงอุตสาหกรรมและกรมโรงงานอุตสาหกรรมเพ่ือมาให้ข้อมูลในประเด็นการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ตามท่ีก าหนดไว้ในแผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Page 30:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๓๐ - ๒.๒ ผู้แทนของกระทรวงอุตสาหกรรมและกรมโรงงานอุตสาหกรรม ชี้แจงว่า ขณะนี้กระทรวงอุตสาหกรรมได้ถ่ายโอนภารกิจและแต่งตั้งเจ้าพนักงานท้องถิ่นเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติโรงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้แก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และเทศบาล แล้ว แต่การก ากับดูแล และการรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจ าพวกที่ ๒ เงินค่าธรรมเนียมยังไม่ตกเป็นรายได้ของท้องถิ่น ซึ่งที่ประชุมมีหลักการตรงกันว่าหากหน่วยงานใดเป็นผู้ออกใบรับแจ้งให้เงินค่าเนียมรายปีนั้นตกแก่หน่วยงานที่ได้รับการถ่ายโอน และส าหรับเงินค่าธรรมเนียมรายปีที่เกิดขึ้นหลังจากที่แก้ไขกฎหมายแล้ว ให้ อปท. ที่ได้รับการถ่ายโอนเป็นผู้รับช าระและให้ตกเป็นรายได้ของ อปท. นั้น แต่หากยังไม่ได้รับการถ่ายโอนให้แก่ อปท. ใดก็คงยังไม่ตกเป็นรายได้ของ อปท. ซึ่งขณะนี้ยังไม่ได้ถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อบต. และอยู่ระหว่างการอบรมให้ความรู้แก่ อปท. ทั่วประเทศ และในปัจจุบันกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้มีการปรับประเภทโรงงงานจ าพวกที่ ๓ มาเป็นจ าพวกที ่๒ แล้ว ส่วนโรงงานจ าพวกที ่๓ ที่ขอคงไว้เนื่องจากเป็นโรงงานที่ต้องใช้เทคนิคชั้นสูง

๓. ข้อพิจารณา คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแผนปฏิบัติการฯ ดังนี้ ๓.๑ เพ่ิมบทนิยามค าว่า “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” แต่ไม่รวมถึงองค์การบริหารส่วนจังหวัด (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๕) ๓.๒ แก้ไขเพ่ิมเติม ให้ค่าธรรมเนียมรายปีอันเกิดจากการออกใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจ าพวกที่ ๒ ตกเป็นรายได้ของ อปท. (เพ่ิมมาตรา ๔๓/๑) ๓.๓ ก าหนดให้ใบรับแจ้งการประกอบกิจการโรงงานจ าพวกที่ ๒ ที่ได้ออกไว้ก่อนที่กฎหมายนี้มีผลใช้บังคับให้ยังคงใช้ได้ต่อไป และให้ผู้ที่มีใบรับแจ้งดังกล่าวเสียค่าธรรมเนียมรายปีแก่ อปท. ที่โรงงานตั้งอยู่ในเขต อปท. นั้น (บทเฉพาะกาล) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑๒

๔. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือโปรดพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................

Page 31:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๓๑ - เรื่องท่ี ๔.๑.๓ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....

๑. เรื่องเดิม

แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และ ฉบับที่ ๒ และ

แผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒

ด้านที่ ๓ การจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย ก าหนดให้ถ่ายโอนอ านาจการ

เปรียบเทียบปรับในความผิดที่มีอัตราโทษไม่สูงกว่าความผิดลหุโทษ หรือความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียวตาม

กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองสุขภาพของผู้ ไม่สูบบุหรี่ ให้แก่ เทศบาล องค์การบริ หารส่วนต าบล

กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา และให้ค่าปรับตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๒. ข้อเท็จจริง

๒.๑ คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้มีการพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยคณะอนุกรรมการฯ มีความเห็น ดังนี้ ๒.๑.๑ ตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก าหนดให้ ถ่ายโอนอ านาจการเปรียบเทียบปรับในความผิดที่มีอัตราโทษไม่สูงกว่าความผิดลหุโทษ หรือความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียวตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ ให้แก่ เทศบาล องค์การบริหารส่วนต าบล กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา และให้ค่าปรับตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งควร ยึดหลักการตามแผนการกระจายอ านาจฯ ที่ได้ก าหนดไว้ ๒.๑.๒ ในขณะนี้กฎหมายหลายฉบับที่ก าหนดให้ อปท. มีอ านาจเปรียบเทียบปรับ โดยก าหนดรูปแบบการปรับไว้ ๒ ลักษณะ ได้แก่ การเปรียบเทียบปรับในรูปแบบคณะกรรมการ เช่น กฎหมายควบคุมอาคาร และการเปรียบเทียบปรับโดยเจ้าพนักงานท้องถิ่นเอง เช่น กฎหมายการสาธารณสุข เป็นต้น ๒.๑.๓ ความผิดตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่นั้นมีโทษเล็กน้อย ซึ่งหากเปรียบเทียบกับกฎหมายการสาธารณสุข ก าหนดให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบคดี แต่หากความผิดที่มีโทษปรับสถานเดียว หรือโทษจ าคุกไม่เกิน ๑ เดือน หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ ให้ เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอ านาจเปรียบเทียบได้ ๒.๒ คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้เชิญผู้แทนกระทรวงสาธารณสุขมาร่วมพิจารณาการแก้ไขกฎหมายตามข้อ ๒.๑ แล้ว เห็นด้วยกับหลักการที่จะให้ อปท. เป็นผู้มีอ านาจเปรียบเทียบปรับโดยจะท าให้ อปท. เห็นความส าคัญในการบังคับใช้กฎหมาย

Page 32:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๓๒ -

๓. ข้อพิจารณา

คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคัญดังนี้ ๓.๑ เพ่ิมค านิยามค าว่า “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” หมายถึง ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่นทุกประเภท และ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายถึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภท

ทั้งนี้ ไม่หมายความรวมถึงองค์การบริหารส่วนจังหวัด (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๓)

๓.๒ ก าหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจเปรียบเทียบ และให้เงินค่าปรับ

ตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๔)

รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑๓

๔. ข้อเสนอ

จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือโปรดพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................

Page 33:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๓๓ -

เรื่องที่ ๔.๑.๔ ร่างพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา

๑.๑ แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ ก าหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจรักษาความสะอาดตามกฎหมายรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ๑.๒ แผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ ก าหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการการเสนอแก้ไขหรือจัดให้มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ค าสั่งที่จ าเป็นเพ่ือด าเนินการตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ด้านที่ ๓ ด้านการจัดระเบียบ ชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย ได้ก าหนดให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้ครอบคลุมถึงองค์การบริหารส่วนต าบล และก าหนดให้ อปท. มีอ านาจในการเปรียบเทียบปรับด้วย

๒. ข้อเท็จจริง คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้เชิญผู้แทนหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องมาชี้แจงข้อเท็จจริง ดังนี้ ๒.๑ ผู้แทนส านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยชี้แจงว่า กฎหมายฉบับนี้ก าหนดให้ อปท. ทุกประเภทมีอ านาจตามกฎหมาย แต่เฉพาะองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) และองค์การบริหารส่วนต าบล (อบต. ) หากต้องการด าเนินการตามกฎหมายฉบับนี้ จะต้องร้องขอมายังกระทรวงมหาดไทยให้ออกประกาศกระทรวงมหาดไทยเพ่ือใช้บังคับกฎหมายนี้ ซึ่งปัจจุบันมี อบต. เพียงไม่กี่แห่งที่ด าเนินการตามกฎหมายนี้ และตามที่ก าหนดให้ อบจ. มีอ านาจหน้าที่ตามกฎหมายนี้ได้นั้น เนื่องจากในขณะนั้นยังมีสภาต าบลและอ านาจการดูแลพ้ืนที่สภาต าบลก าหนดให้เป็นอ านาจหน้าที่ของ อบจ. ซึ่งปัจจุบันไม่มีสภาต าบลแล้ว อบจ. จึงไม่มีอ านาจหน้าที่ตามกฎหมายนี้ ๒.๒ ผู้แทนส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เห็นว่าเพ่ือให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน อบต. ควรจะใช้บังคับกฎหมายฉบับนี้ทุกแห่ง จึงเห็นควรแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพ่ือให้ อบต. ทุกแห่งปฏิบัติตามกฎหมายนี้ ๒.๓ ผู้แทนองค์การบริการส่วนต าบลซึ่งเป็นกรรมการในที่ประชุมเห็นด้วยที่จะด าเนินการแก้ไขกฎหมายให้ อบต. มีอ านาจตามกฎหมายดังกล่าว เพ่ือให้เกิดความเท่าเทียมกันในการบังคับใช้กฎหมายโดยมิต้องร้องขอต่อกระทรวงมหาดไทย

Page 34:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๓๔ - ๓. ข้อพิจารณา คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคัญดังนี้ ๓.๑ ก าหนดระยะเวลาให้กฎหมายนี้มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวัน เพ่ือให้ อปท. ได้เตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับการถ่ายโอนภารกิจดังกล่าว

๓.๒ ยกเลิกความในมาตรา ๒ แห่งพระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ เพ่ือให้กฎหมายนี้มีผลใช้บังคับกับ อบต. ทั่วประเทศและเป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจฯ และแผนปฏิบัติการฯ ๓.๓ แก้ไขเพ่ิมเติมบทนิยามค าว่า “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” และ “พนักงานเจ้าหน้าที่” ให้หมายถึง ผู้บริหารท้องถิ่นทุกประเภท ยกเว้น อบจ. และพนักงานเจ้าหน้าที่ หมายถึง ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นทุกประเภท ไม่รวมถึง อบจ. (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔) ๓.๔ ยกเลิกบทนิยามค าว่า “ราชการส่วนท้องถิ่น” และ “ข้อก าหนดของท้องถิ่น” และ เพ่ิมบทนิยามค าว่า “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” และ “ข้อบัญญัติท้องถิ่น” ไม่รวมถึง อบจ. (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔) ๓.๕ แก้ไขค าว่า “ราชการส่วนท้องถิ่น” และ “ข้อก าหนดของท้องถิ่น” เป็น “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” และ “ข้อบัญญัติท้องถิ่น” (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๐ วรรคสาม มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๔ มาตรา ๒๖ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๙ วรรคหนึ่ง) ๓.๖ แก้ไขผู้มีอ านาจในการให้ค าแนะน าตามพระราชบัญญัตินี้ ให้เป็นอ านาจหน้าที่ของ ผู้ก ากับดูแลองค์กรปกรองส่วนท้องถิ่นตามที่กฎหมายจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นก าหนด (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔๒) ๓.๗ ก าหนดให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีหน้าที่รับผิดชอบการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ และสามารถมอบหมายรองผู้บริหารท้องถิ่นให้ปฏิบัติหน้าที่แทนได้ (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔๓) ๓.๘ ก าหนดให้เงินค่าธรรมเนียมและเงินค่าปรับตามพระราชบัญญัตินี้ตกเป็นรายได้ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เพ่ิมมาตรา ๔๙) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑๔ ๔. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................

Page 35:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๓๕ - เรื่องท่ี ๔.๑.๕ ร่างพระราชบัญญัติสุสานและฌาปนสถาน (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา

๑.๑ แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ ก าหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจการดูแลสุสานและฌาปนสถานให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ครอบคลุมถึงองค์การบริหารส่วนต าบล รวมถึงให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจในการเปรียบเทียบปรับผู้กระท าผิดตามกฎหมายดังกล่าวได้ ๑.๒ แผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ ก าหนดรายละเอียดเกี่ยวกับการการเสนอแก้ไขหรือจัดให้มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ค าสั่งที่จ าเป็นเพ่ือด าเนินการตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ด้านที่ ๓ ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย ได้ก าหนดให้แก้ไขพระราชบัญญัติสุสานและ ฌาปนสถาน พ.ศ. ๒๕๒๘ ให้ครอบคลุมถึงองค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) และก าหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจเปรียบเทียบปรับด้วย

๒. ข้อเท็จจริง เนื่องจากกฎหมายที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเป็นกฎหมายที่ตราขึ้นก่อนมีการจัดตั้ง อบต. การก ากับดูแลจึงอยู่ในอ านาจของผู้ว่าราชการจังหวัดในฐานะนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งปัจจุบันมี อบต. ครอบคลุมทั่วประเทศ โดยผู้แทน อบต. ซึ่งร่วมเป็นอนุกรรมการแจ้งในที่ประชุมว่า อบต. สามารถปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าวได้

๓. ข้อพิจารณา คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติสุสานและฌาปนสถาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคัญดังนี้ ๓.๑ แก้ไขค านิยาม “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” ให้หมายถึงผู้บริหารท้องถิ่นทุกประเภท เว้นแต่องค์การบริหารส่วนจังหวัด และก าหนดบทนิยามค าว่า “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” และค าว่า “ข้อบัญญัติท้องถิ่น” เพ่ิมเติม แต่ไม่รวมถึง อบจ. (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔) ๓.๒ แก้ไขเพ่ิมเติมบทยกเว้นการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้เพ่ือก าหนดให้พระราชบัญญัตินี้ ไม่ใช้บังคับแก่สุสานและฌาปนสถานที่กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์การบริหารส่วนจังหวัด จัดตั้งและด าเนินการ (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๕)

Page 36:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๓๖ - ๓.๓ ยกเลิกบทบัญญัติเรื่องอ านาจของผู้ว่าราชการจังหวัดเกี่ยวกับการอนุญาตให้เก็บ ฝัง หรือ เผาศพ ในสถานที่อ่ืนที่อยู่ในเขตจังหวัดซึ่งอยู่นอกเขตเทศบาล เนื่องจากการแก้ไขในครั้งนี้ได้แก้ไขให้ อปท. มีอ านาจอนุญาตครอบคลุมทุกพ้ืนที่แล้ว (ยกเลิกมาตรา ๑๐ วรรคสอง) ๓.๔ แก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น เพ่ือให้สอดคล้องกับการก าหนดบทนิยามค าว่า “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” และ “ข้อบัญญัติท้องถิน่” (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๑) ๓.๕ แก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอ านาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตได้ เพื่อให้สอดคล้องกับการก าหนดบทนิยามค าว่า “ข้อบัญญัติท้องถิ่น” (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๗) ๓.๖ ก าหนดให้เงินค่าธรรมเนียมและเงินค่าปรับตามพระราชบัญญัตินี้ตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เพ่ิมมาตรา ๒๔/๑) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑๕

๓. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................. ............................................ ........................................................................................................................ .....................................................

Page 37:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๓๗ - เรื่องที่ ๔.๑.๖ ร่างพระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา ๑.๑ แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ ก าหนดให้มีการ ถ่ายโอนภารกิจการจัดระเบียบการจอดยานยนตร์ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ๑.๒ แผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ รายละเอียดเกี่ยวกับการเสนอแก้ไขหรือจัดให้มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ค าสั่งที่จ าเป็นเพ่ือด าเนินการตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามพระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ด้านที่ ๑ โครงสร้างพ้ืนฐาน ได้ก าหนดให้แก้ไขพระราชบัญญัติมาตรา ๒ ให้ครอบคลุมถึงองค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) ๑.๓ กฎหมายฉบับนี้ใช้บังคับเฉพาะในเขตเทศบาลและสุขาภิบาล แต่ปัจจุบันมี อปท. ครอบคลุมทั่วประเทศ และผู้แทน อปท. ซึ่ งร่วมเป็นอนุกรรมการ ได้แก่ ผู้แทนกรุง เทพมหานคร ผู้แทนเมืองพัทยา และ ผู้แทน อบต. ซึ่งเป็นกรรมการในที่ประชุมเห็นชอบกับการแก้ไขกฎหมายดังกล่าวเพ่ือให้เกิดความเท่าเทียมกันในการปฏิบัติตามกฎหมาย

๒. ข้อพิจารณา

คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้ พิจารณา จัดท าร่างพระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. .... โดยท าการยกร่างใหม่ทั้งฉบับเพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคญัดังนี้ ๒.๑ แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดยานยนต์ในเขตเทศบาลและสุขาภิบาล พ.ศ. ๒๕๐๓ เป็น “ร่างพระราชบัญญัติจัดระเบียบการจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ....” และก าหนดบทบัญญัติการยกเลิกกฎหมายเดิมไว้ ๒.๒ แก้ไขเพ่ิมเติมบทนิยามค าว่า “รถ” “จอดรถ” และ“ที่จอดรถ” เพ่ือให้สอดคล้องกับ ชื่อกฎหมาย และก าหนดนิยามค าว่า “รถ” ใหม่ เพ่ือให้ อปท. สามารถออกข้อบัญญัติท้องถิ่นก าหนดประเภทรถเพ่ิมเติมได้ เนื่องจาก อปท. แต่ละพ้ืนที่จะมีรถที่ใช้ แต่ละประเภทแตกต่างกันไป จึงก าหนด อปท. สามารถก าหนดประเภทรถเพ่ิมเติมได้ (มาตรา ๔) ๒.๓ เพ่ิมเติมบทนิยามค าว่า “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” “ผู้บริหารท้องถิ่น” “พนักงานส่วนท้องถิ่น” “ข้อบัญญัติท้องถิ่น” และ “พนักงานเจ้าหน้าที่” เนื่องจากกฎหมายเดิมก าหนดให้เพียงแค่เทศบาลและสุขาภิบาลมีอ านาจตามกฎหมายเท่านั้น จึงจ าเป็นต้องแก้ไขกฎหมายให้ อบต. มีอ านาจตามกฎหมายด้วยเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจฯ (มาตรา ๔)

Page 38:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๓๘ - ๒.๔ ให้อ านาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นเพ่ือประโยชน์ในการจัดระเบียบการจอดรถ เพ่ือให้ อปท. สามารถตราข้อบัญญัติท้องถิ่นเพ่ือก าหนดอัตราการจัดเก็บค่าธรรมเนียมได้ตามความเหมาะสมของสภาพพ้ืนที่ในแต่ละท้องถิ่น (มาตรา ๗) ๒.๕ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถมอบหมายให้บุคคลหรือนิติบุคคลเข้ามาด าเนินการจัดเก็บค่าธรรมเนียมแทนได้ (มาตรา ๑๐) ๒.๖ ให้ค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ร่างมาตรา ๑๓) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑๖

๓. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................. ............................................ ........................................................................................................................ .....................................................

Page 39:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๓๙ - เรื่องท่ี ๔.๑.๗ ร่างพระราชบัญญัติสุรา (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และ ฉบับที่ ๒ และแผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ ก าหนดให้ถ่ายโอนอ านาจการอนุญาตให้ขายสุราตามกฎหมายว่าด้วยสุรา ให้แก่เทศบาล เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนต าบล และกรุงเทพมหานคร และให้รายได้และค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๒. ข้อกฎหมาย พระราชบัญญัติสุรา พ.ศ. ๒๔๙๓ มีสาระส าคัญ ดังนี้ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “เจ้าพนักงานสรรพสามิต” หมายความว่า เจ้าพนักงานกรมสรรพสามิต ซึ่งอธิบดีแต่งตั้งให้มีอ านาจและหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า เจ้าพนักงานสรรพสามิตและผู้ซึ่งอธิบดีแต่งตั้งให้มีอ านาจและหน้าที่เพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๗ ห้ามมิให้ผู้ใดขายสุราหรือน าสุราออกแสดงเพื่อขาย เว้นแต่จะได้รับ ใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานสรรพสามิต มาตรา ๑๙ ใบอนุญาตขายสุราม ี๗ ประเภท คือ ประเภทที่ ๑ ส าหรับการขายสุราทุกชนิด ครั้งหนึ่งเป็นจ านวนตั้งแต่สิบลิตรขึ้นไป ประเภทที่ ๒ ส าหรับการขายสุราที่ท าในราชอาณาจักร ครั้งหนึ่งเป็นจ านวนตั้งแต่สิบลิตรขึ้นไป ประเภทที่ ๓ ส าหรับการขายสุราทุกชนิด ครั้งหนึ่งเป็นจ านวนต่ ากว่าสิบลิตร ประเภทที่ ๔ ส าหรับการขายสุราที่ท าในราชอาณาจักร ครั้งหนึ่งเป็นจ านวนต่ ากว่าสิบลิตร ประเภทที่ ๕ ส าหรับการขายสุราทุกชนิด ครั้งหนึ่งเป็นจ านวนต่ ากว่าสิบลิตรเพ่ือดื่ม ณ สถานที่ขายเป็นการชั่วคราวไม่เกินสิบวัน ประเภทที่ ๖ ส าหรับการขายสุราที่ท าในราชอาณาจักร ครั้งหนึ่งเป็นจ านวนต่ ากว่าสิบลิตร เพ่ือดื่ม ณ สถานที่ขายเป็นการชั่วคราวไม่เกินสิบวัน ประเภทที่ ๗ ส าหรับการขายสุราครั้งหนึ่งเป็นจ านวนต่ ากว่าสิบลิตร เพื่อดื่มภายในสมาคมหรือสโมสร มาตรา ๔๖ ผู้ ได้รับอนุญาตซึ่ งกระท าผิดต่อพระราชบัญญัตินี้ หรือข้อก าหนดในกฎกระทรวง หรือข้อก าหนดในใบอนุญาต เจ้าพนักงานสรรพสามิตหรืออธิบดีผู้ออกใบอนุญาตแล้วแต่กรณี มีอ านาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตมีก าหนดไม่เกินครั้งละ ๖ เดือน หรือจะสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเสียก็ได้

Page 40:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔๐ -

๓. ข้อเท็จจริง คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้มีการประชุมเพ่ือพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสุรา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยฝ่ายเลขานุการได้เชิญผู้แทนจากกรมสรรพสามิตเพ่ือมาให้ข้อมูลในประเด็นการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยสุรา ตามที่ก าหนดไว้ในแผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนี้ ๓.๑ ผู้แทนกรมสรรพสามิต ชี้แจงว่า ควรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจในการอนุญาตขายสุรา ประเภทที่ ๓ ถึงประเภทที่ ๗ (ตามมาตรา ๑๙) ซึ่งกรมสรรพสามิตถือว่าเป็นการขายปลีก ยกเว้นการอนุญาตการขายสุราประเภทที่ ๑ และประเภทที่ ๒ ซึ่งกรมสรรพสามิตถือว่าเป็นการขายส่ง โดยมีเหตุผลประกอบการชี้แจง ดังนี้ ๓.๑.๑ สุราเป็นสินค้าที่ต้องจ ากัด ซึ่งโดยปกติผู้ได้รับใบอนุญาตขายส่งสุราจะเป็นผู้ผลิตและผู้น าเข้าหรือตัวแทนของผู้ผลิตและผู้น าเข้า ซึ่งกรมสรรพสามิตต้องเข้าไปควบคุมเป็นกรณีพิเศษ ทั้งนี้ เพ่ือป้องกันมิให้สินค้าที่มิชอบด้วยกฎหมายเข้าไปปะปนกับสินค้าที่ชอบด้วยกฎหมาย ๓.๑.๒ ใบอนุญาตขายส่งสุราและยาสูบมีจ านวนน้อยราย คือประมาณหนึ่งหมื่นรายเศษ เมื่อเทียบกับใบอนุญาตขายปลีกซึ่งมีมากถึงกว่าห้าแสนรายทั่วประเทศ โดยค่าธรรมเนียมการอนุญาตที่จัดเก็บได้กว่าร้อยละ ๘๐ ก็เป็นค่าธรรมเนียมจากใบอนุญาตขายปลีก อีกทั้งการขายส่งมักเป็นการด าเนินการในทางธุรกิจ คือเป็นการจ าหน่ายต่อให้แก่ผู้ขายปลีกแทบทั้งสิ้น ซึ่งต่างจากการขายปลีกที่มีการกระจายตัวอยู่ทั่วไปในท้องถิ่นที่สมควรได้รับการก ากับดูแลเพ่ือให้เกิดความสงบเรียบร้อยของชุมชน สังคม และการจัดระเบียบชุมชนของท้องถิ่น ๓.๑.๓ หากกรมสรรพสามิตถ่ายโอนการออกใบอนุญาตขายส่งสุราและยาสูบส่งให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาจเกิดปัญหาในทางปฏิบัติ ดังนี้

(๑) ผู้มีอ านาจออกใบอนุญาตเป็นบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดกับชุมชน อาจมีส่วนได้เสียในการออกใบอนุญาต

(๒) การติดตามใบอนุญาตที่ถูกเพิกถอนโดยเจ้าพนักงานท้องถิ่นอาจมีปัญหา เนื่องจากฐานข้อมูลการออกใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาตอยู่ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งหากไม่ส่งข้อมูลหรือส่งล่าช้าให้กรมสรรพสามิต จะไม่มีข้อมูลดังกล่าวเลย

(๓) ไม่เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขที่พยายามผลักดันให้มีการออกใบอนุญาตน้อยลง

(๔) ไม่สอดคล้องกับร่างประมวลกฎหมายภาษีสรรพสามิต ที่กรมสรรพสามิตเสนอซึ่งขณะนี้อยู่ในระหว่างการพิจารณาของกระทรวงการคลัง โดยมีหลักการที่เน้นการตรวจสอบควบคุมภายหลังการออกใบอนุญาต และจะต้องมีการ post audit ต่อเนื่องไปทั้ง cost plus หรือ net back

Page 41:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔๑ - ซึ่งต้องค านวณตลอดสาย หากข้อมูลไม่ได้อยู่ที่กรมฯ จะท าให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติได้ โดยเฉพาะฐานราคาที่จะน ามาค านวณเสียภาษีขาดความชัดเจนและรวดเร็ว

๓.๑.๔ การก าหนดให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสรรพสามิตต่างมีอ านาจสั่งพักใช้และเพิกถอนใบอนุญาตก็อาจท าให้เกิดความลักลั่นและทับซ้อนในการบังคับใช้กฎหมายได้ ในกรณีที่มีความเห็นไม่สอดคล้องกัน ๓.๒ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ร่วมเป็นอนุกรรมการ มีความเห็นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความพร้อมและสามารถปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายก าหนดได้อย่างเคร่งครัด เนื่องจากเป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อความสงบและความเป็นระเบียบของชุมชนท้องถิ่นโดยตรง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเทคโนโลยีที่จะจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลให้กรมสรรพสามิตได ้

๔. ข้อพิจารณา คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติสุรา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคัญดังนี้ดังนี้ ๔.๑ เพ่ิมบทนิยามค าว่า “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” และ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔) ๔.๒ ก าหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีอ านาจออกใบอนุญาตขายสุราทุกประเภท และให้เงินค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๗) ๔.๓ ก าหนดให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอ านาจสั่งพักใช้ใบอนุญาตขายสุรา มีก าหนดครั้งละไม่เกินหกเดือนหรือจะสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเสียก็ได้ เนื่องจากเมื่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอ านาจในการออกใบอนุญาตขายสุราย่อมต้องมีอ านาจในการพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตนั้นด้วย ทั้งนี้ เพ่ือเป็นการก ากับและบังคับใช้กฎหมายของท้องถิ่น (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔๖) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑๗

๕. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................. ............................................ ........................................................................................................................ .....................................................

Page 42:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔๒ - เรื่องท่ี ๔.๑.๘ ร่างพระราชบัญญัติยาสูบ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและแผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ ก าหนดให้กรมสรรพสามิตถ่ายโอนภารกิจตามพระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. ๒๕๐๙ โดยก าหนดให้ถ่ายโอนภารกิจการอนุญาตขายยาสูบตามกฎหมายว่าด้วยยาสูบ ให้แก่เทศบาล เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนต าบล และกรุง เทพมหานคร และให้ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๒. ข้อกฎหมาย พระราชบัญญัติยาสูบ พ.ศ. ๒๕๐๙ มีสาระส าคัญดังนี ้ ๒.๑ ก าหนดความหมายค าว่า “ยาเส้น” และ “ยาสูบ” (มาตรา ๔) ๒.๒ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมีอ านาจออกกฎกระทรวงก าหนดค่าธรรมเนียมและค่าแสตมป์ยาสูบไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา ๕) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขายยาเส้นหรือยาสูบ ยาเส้น อัตรา ประเภท ๑ ขายโดยไม่จ ากัดจ านวน ฉบับละ ๑๐๐ บาท ประเภท ๒ ขายครั้งละไม่เกินน้ าหนัก ๒ กิโลกรัม ฉบับละ ๑๐ บาท ประเภท ๓ ผู้เพาะปลูกต้นยาสูบขายยาเส้น ฉบับละ ๑๐ บาท ที่ท าจากใบยาที่ปลูกเอง ยาสูบ อัตรา ประเภท ๑ ขายโดยไม่จ ากัดจ านวน ฉบับละ ๑,๐๐๐ บาท ประเภท ๒ ขายครั้งละไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ มวล ฉบับละ ๕๐๐ บาท ถ้าเป็นยาเส้นปรุงหรือนาเคี้ยว ครั้งละไม่เกินสิบกิโลกรัม ประเภท ๓ ขายครั้งละไม่เกิน ๑,๐๐๐ มวล ฉบับละ ๔๐ บาท ถ้าเป็นยาเส้นปรุงหรือนาเคี้ยว ครั้งละไม่เกิน ๒๐๐ กรัม ๒.๓ การอนุญาตขายยาสูบ ก าหนดให้ผู ้ใดขายยาเส้นหรือยาสูบ หรือน ายาเส้นหรือยาสูบออกแสดงเพ่ือขายต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงาน (มาตรา ๒๑) ๒.๔ การก าหนดอ านาจหน้าที่ในการสั่งพักใช้ใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาต (มาตรา ๓๓ – ๓๖)

Page 43:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔๓ - ๒.๕ ก าหนดบทลงโทษ (โทษปรับ) หากมีผู้กระท าความผิดหรือฝ่าฝืนไม่ด าเนินการให้เป็นไปตามที่กฎหมายก าหนด (มาตรา ๔๕ – ๔๙) ๒.๖ การแต่งตั้งเจ้าพนักงาน ก าหนดให ้อธ ิบด ีม ีอ านาจแต ่งตั ้งข ้าร าชการกรมสรรพสามิตเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเป็นเป็นเจ้าพนักงาน มีอ านาจหน้าที่จับกุมและปราบปรามผู้กระท าความผิดตามพระราชบัญญัตินี้โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา ๕๕)

๓. ข้อเท็จจริง คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน โดยฝ่ายเลขานุการได้เชิญผู้แทนกรมสรรพสามิตมาให้ข้อมูลประกอบการพิจารณา ดังนี้ ๓.๑ ผู้แทนกรมสรรพสามิต ชี้แจงว่า ควรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจในการอนุญาตขายยาเส้น เฉพาะประเภทที่ ๒ และประเภทที่ ๓ คือ การขายยาเส้นครั้งละน้ าหนักไม่เกิน ๒ กิโลกรัม หรือยาเส้นที่ผู้เพาะปลูกท าจากใบยาที่ปลูกเอง และการอนุญาตขายยาสูบประเภทที่ ๓ คือ การขายยาสูบครั้งละไม่เกิน ๑,๐๐๐ มวน หรือยาเส้นปรุงหรือยาเคี้ยวครั้งละน้ าหนักไม่เกิน ๒๐๐ กรัม ซึ่งกรมสรรพสามิตถือว่าเป็นการขายปลีก ๓.๒ ส าหรับการอนุญาตขายยาเส้น ประเภทที่ ๑ คือ การขายยาเส้นครั้งละน้ าหนักเกินกว่า ๒ กิโลกรัม หรือการอนุญาตขายยาสูบประเภทที่ ๑ คือ การขายโดยไม่จ ากัดจ านวน และประเภทที่ ๒ คือ การขายยายาสูบครั้งละไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ มวน ถ้ายาเส้นปรุงหรือยาเคี้ยวครั้งละไม่เกินสิบกิโลกรัม ซึ่งกรมสรรพสามิตถือว่าเป็นการขายส่ง ยังคงเป็นอ านาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานสรรพสามิต โดยมีเหตุผลประกอบการชี้แจง ดังนี้

๓.๒.๑ ประเทศไทยในฐานะภาคีของกรอบอนุสัญญาขององค์การอนามัยโลกว่าด้วยการควบคุมยาสูบ (FCTC) โดยมาตรา ๑๕ ได้ก าหนดมาตรการเกี่ยวกับการลดปริมาณอุปทานของยาสูบในส่วนของการค้าผลิตภัณฑ์ยาสูบที่ผิดกฎหมายไว้ว่า ให้ภาคีแต่ละฝ่ายก าหนดและบังคับใช้มาตรการทางนิติบัญญัติ มาตรการทางบริหาร มาตรการทางปกครอง หรือมาตรการอ่ืน ๆ ที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือท าให้มั่นใจได้ว่าซองและหีบห่อของผลิตภัณฑ์ยาสูบทั้งหมด และบรรจุภัณฑ์ภายนอกของผลิตภัณฑ์เหล่านั้นมีเครื่องหมายซึ่งช่วยให้ภาคีทุกฝ่ายสามารถบ่งชี้ถึงแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์ยาสูบได้ จึงต้องเตรียมความพร้อมเพ่ือปฏิบัติตามกรอบอนุสัญญาฯ โดยเห็นว่าหากองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นยังไม่มีความพร้อมในเรื่องระบบการติดตามข้อมูล หากประเทศไทยใหส้ัตยาบันอาจจะท าให้ประเทศไทยท าผิดข้อตกลงตามกรอบอนุสัญญาฯ ฉบับดังกล่าวได ้

๓.๒.๒ ยาสูบเป็นสินค้าที่ต้องก ากัด ซึ่งโดยปกติผู้ได้รับใบอนุญาตขายส่งยาเส้น และยาสูบ จะเป็นผู้ผลิตและผู้น าเข้าหรือตัวแทนของผู้ผลิตและผู้น าเข้า ซึ่งกรมสรรพสามิตต้องเข้าไปควบคุมเป็นกรณีพิเศษ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันมิให้สินค้าที่มิชอบด้วยกฎหมายเข้าไปปะปนกับสินค้าที่ชอบด้วยกฎหมาย

Page 44:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔๔ - ๓.๒.๓ ใบอนุญาตขายส่งสุราและยาสูบมีจ านวนน้อยราย คือประมาณหนึ่งหมื่นรายเศษ เมื่อเทียบกับใบอนุญาตขายปลีกซึ่งมีมากถึงกว่าห้าแสนรายทั่วประเทศ โดยค่าธรรมเนียมการอนุญาตที่ จัดเก็บได้กว่าร้อยละ ๘๐ ก็เป็นค่าธรรมเนียมจากใบอนุญาตขายปลีก อีกทั้งการขายส่งมักเป็นการด าเนินการในทางธุรกิจ คือเป็นการจ าหน่ายต่อให้แก่ผู้ขายปลีกแทบทั้งสิ้น ซึ่งต่างจากการขายปลีกที่มีการกระจายตัวอยู่ทั่วไปในท้องถิ่นที่สมควรได้รับการก ากับดูแลเพ่ือให้เกิดความสงบเรียบร้อยของชุมชน สังคม และการจัดระเบียบชุมชนของท้องถิ่น

๓.๒.๔ หากกรมสรรพสามิตถ่ายโอนการออกใบอนุญาตขายส่งสุราและยาสูบส่งให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อาจเกิดปัญหาในทางปฏิบัติ ดังนี้

(๑) ผู้มีอ านาจออกใบอนุญาตเป็นบุคคลที่อยู่ใกล้ชิดกับชุมชน อาจมีส่วนได้เสียในการออกใบอนุญาต

(๒) การติดตามใบอนุญาตที่ถูกเพิกถอนโดยเจ้าพนักงานท้องถิ่นอาจมีปัญหา เนื่องจากฐานข้อมูลการออกใบอนุญาตและการเพิกถอนใบอนุญาตอยู่ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งหากไม่ส่งข้อมูลหรือส่งล่าช้าให้กรมสรรพสามิต จะไม่มีข้อมูลดังกล่าวเลย

(๓) ไม่เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขที่พยายามผลักดันให้มีการออกใบอนุญาตน้อยลง

(๔) ไม่สอดคล้องกับร่างประมวลกฎหมายภาษีสรรพสามิต ที่กรมสรรพสามิตเสนอซ่ึงขณะนี้อยู่ในระหว่างการพิจารณาของกระทรวงการคลัง โดยมีหลักการที่เน้นการตรวจสอบควบคุมภายหลังการออกใบอนุญาต และจะต้องมีการ post audit ต่อเนื่องไปทั้ง cost plus หรือ net back ซึ่งต้องค านวณตลอดสาย หากข้อมูลไม่ได้อยู่ที่กรมฯ จะท าให้เกิดปัญหาในทางปฏิบัติได้ โดยเฉพาะฐานราคาที่จะน ามาค านวณเสียภาษีขาดความชัดเจนและรวดเร็ว

๓.๒.๕ การก าหนดให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นและเจ้าพนักงานสรรพสามิตต่างมีอ านาจสั่งพักใช้และเพิกถอนใบอนุญาตก็อาจท าให้เกิดความลักลั่นและทับซ้อนในการบังคับใช้กฎหมายได้ ในกรณีที่มีความเห็นไม่สอดคล้องกัน ๓.๓ ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ร่วมเป็นอนุกรรมการ มีความเห็นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความพร้อมและสามารถปฏิบัติตามที่กฎหมายก าหนดได้ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเทคโนโลยีที่จะจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลได้

๔. ข้อพิจารณา คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องคก์รปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุง ร่างพระราชบัญญัติยาสูบ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคัญดังนี้

Page 45:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔๕ - ๔.๑ เพ่ิมเติมบทนิยามค าว่า “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” และ “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” ในมาตรา ๔ แต่ไม่รวมถึงองค์การบริหารส่วนจังหวัด (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔) ๔.๒ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ไม่รวมองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีอ านาจในการอนุญาตขายยาเส้นหรือยาสูบทุกประเภท และก าหนดให้เงินค่าธรรมเนียมใบอนุญาตดังกล่าว เป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๒๑) ๔.๓ ก าหนดให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอ านาจสั่งพักใช้ใบอนุญาต มีก าหนดครั้งละไม่เกินหกเดือนหรือจะสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเสียก็ได้ และให้ผู้ถูกสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณ์ค าสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือค าสั่งเพิกถอนใบอนุญาตต่อรัฐมนตรีได้ โดยยื่นอุทธรณ์ต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ผู้ออกใบอนุญาตภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับทราบค าสั่ง ค าวินิจฉัยชี้ขาดของรัฐมนตรีให้เ ป็นที่สุดโดยการก าหนดให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอ านาจในการสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตได้นั้น เนื่องจากเมื่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นมีอ านาจในการออกใบอนุญาตขายยาสูบย่อมต้องมีอ านาจในการพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตนั้นด้วย ทั้งนี้ เพื่อเป็นการก ากับและบังคับใช้กฎหมายของท้องถิ่น (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๓๓ และมาตรา ๓๔) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑๘

๕. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือโปรดพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................. ............................................ ........................................................................................................................ .....................................................

Page 46:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔๖ - เรื่องที่ ๔.๑.๙ ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา ๑.๑ แผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๒ ก าหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจการอนุญาตการขายทอดตลาดและค้าของเก่า ให้แก่กรุงเทพมหานคร เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนต าบล โดยมีขอบเขตการถ่ายโอน ดังนี้ (๑) ให้ถ่ายโอนอ านาจรับเรื่องการอนุญาตการขายทอดตลาดและค้าของเก่าให้ กรุงเทพมหานคร เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนต าบล (๒) ให้พนักงานส่วนท้องถิ่นเป็นนายตรวจ (๓) มอบอ านาจการรับเรื่องราวการขออนุญาตการขายทอดตลาดและค้าของเก่าให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานที่ที่จัดให้มีการขายทอดตลาดหรือค้าของเก่า (๔) ให้ผู้บริหาร อปท. เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ออกใบอนุญาตและให้ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นเป็นนายตรวจตาม พ.ร.บ.ควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า พ.ศ. ๒๔๗๔ (๕) ค่าธรรมเนียมให้ตกเป็นรายได้ของ อปท.

๒. ข้อเท็จจริง คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้เชิญผู้แทน กรมการปกครองมาร่วมหารือในประเด็นที่เกี่ยวกับการด าเนินการถ่ายโอนภารกิจเกี่ยวกับการอนุญาต การขายทอดตลาดและค้าของเก่าให้แก่ ซึ่งผู้แทนกรมการปกครองมคีวามเห็นดังนี้ ๒.๑ กรมการปกครองขอให้คงอ านาจในการอนุญาตการขายทอดตลาดและค้าของเก่าไว้ที่กระทรวงมหาดไทย เนื่องจากเป็นกฎหมายที่จะต้องควบคุมและก ากับดูแลในเรื่องของความสงบเรียบร้อยของสังคมและป้องกันการกระท าผิดอาญาในเรื่องการรับของโจร ซึ่งในทางปฏิบัตินั้นจะต้องตรวจสอบประวัติทั้งผู้ซื้อและผู้ขายด้วย ๒.๒ การให้พนักงานส่วนท้องถิ่นเป็นนายตรวจ การมอบอ านาจการรับเรื่องราวการขออนุญาตการขายทอดตลาดและค้าของเก่าให้ อปท. และค่าธรรมเนียมให้ตกเป็นรายได้ของ อปท. นั้น ผู้แทนกรมการปกครองไม่ขัดข้อง

๓. ข้อพิจารณา คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุง ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการขายทอดตลาดและค้าของเก่า (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคัญดังนี้

Page 47:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔๗ - ๓.๑ แก้ไขบทนิยามค าว่า “เสนาบดี” เป็นค าว่า “รัฐมนตรี” (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๓) ๓.๒ เพ่ิมบทนิยามค าว่า “เจ้าพนักงาน” “นายตรวจ” “ผู้บริหารท้องถิ่น” และ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๓) ๓.๓ แก้ไขค าว่า “กฎเสนาบดี” เป็นค าว่า “กฎกระทรวง” (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๕ และมาตรา ๑๕) ๓.๔ ก าหนดให้ค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้อ งถิ่น (เพ่ิมมาตรา ๕/๑) ๓.๕ แก้ไขอ านาจในการอุทธรณ์ค าสั่งนายทะเบียนในเขตกรุงเทพมหานคร ให้อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในจังหวัดอ่ืน ให้อุทธรณ์ต่อผู้ว่าราชการจังหวัด (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๐) ๓.๖ ก าหนดให้นายตรวจและเจ้าพนักงาน ชอบที่จะเข้าตรวจใบอนุญาต สมุดบัญชี และทรัพย์สิ่งของในร้านค้าได้ (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๓) ๓.๗ ก าหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอ านาจออกกฎกระทรวง และแต่งตั้งนายตรวจ ก าหนดอัตราค่าธรรมเนียมการออกใบอนุญาต และก าหนดกิจการอื่นหรือออกประกาศเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๕) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๑๙

๔. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................. ............................................ ........................................................................................................................ .....................................................

Page 48:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔๘ - เรื่องท่ี ๔.๑.๑๐ ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการเรี่ยไร (ฉบับท่ี ..) พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา ๑.๑ แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๒ ก าหนดให้มีการ ถ่ายโอนภารกิจการอนุญาตให้มีการเรี่ยไรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยมีขอบเขตการถ่ายโอนภารกิจดังนี้ ๑.๑.๑ ให้ถ่ายโอนอ านาจรับเรื่องและอนุญาตการเรี่ยไรให้กรุงเทพมหานคร เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนต าบลที่มีความพร้อม ๑.๑.๒ ให้ผู้บริหาร อปท. เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติควบคุมการเรี่ยไร พุทธศักราช ๒๔๘๗ ๑.๑.๓ ให้รายได้และค่าธรรมเนียมให้ตกเป็นรายได้ของ อปท. ๑.๒ แผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ก าหนดให้มีการขั้นตอนการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายควบคุมการเรี่ยไร โดยให้ อบต. เทศบาล กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา มีอ านาจรับเรื่องและอนุญาตในการเรี่ยไรเฉพาะที่ด าเนินการในเขต อปท. ของตน

๒. ข้อเท็จจริง คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้เชิญผู้แทน กรมการปกครองมาร่วมหารือในประเด็นที่เกี่ยวกับการด าเนินการถ่ายโอนภารกิจเกี่ยวกับการอนุญาตการประกอบกิจการควบคุมการเรี่ยไรให้แก่ อปท. ซึ่งที่ประชุมมีความเห็นดังนี้ ๒.๑ กรมการปกครอง ยังคงยืนยันความจ าเป็นที่จะต้องให้อธิบดีกรมการปกครองและนายอ าเภอหรือปลัดอ าเภอผู้ เป็นหัวหน้าประจ ากิ่งอ าเภอ เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ออกใบอนุญาต ตามกฎกระทรวงแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่และก าหนดหลักเกณฑ์วิธีการขออนุญาตจัดให้มีการเรี่ยไรและ ท าการเรี่ยไร พ.ศ. ๒๕๔๘ ดังนี้ ๒.๑.๑ อธิบดีกรมการปกครอง ส าหรับกรุงเทพมหานคร ๒.๑.๒ นายอ าเภอหรือปลัดอ าเภอผู้เป็นหัวหน้าประจ ากิ่งอ าเภอ ส าหรับจังหวัดอ่ืนนอกจากกรุงเทพมหานคร ๒.๒ กรมการปกครอง ไม่ขัดข้องที่จะด าเนินการตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ ในประเด็นดังนี้ ๒.๒.๑ การก าหนดให้มีผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้พิจารณากลั่นกรอง การขออนุญาตก่อนเสนอพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ออกใบอนุญาต

Page 49:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๔๙ - ๒.๒.๒ การก าหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนที่ เป็นหน่วยรับค าร้องขออนุญาตของผู้ขออนุญาตอีกทางหนึ่ง และเสนอให้ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพิจารณาก่อนเสนอพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้อนุญาต

๓. ข้อพิจารณา คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุง ร่างพระราชบัญญัติควบคุมการเรี่ยไร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคัญดังนี้ ๓.๑ แก้ ไขเ พ่ิมเติมบทนิยามค าว่ า “พนักงานเจ้าหน้าที่ ” “ผู้บริหารท้องถิ่น” และ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔) ๓.๒ ก าหนดให้การเรี่ยไรเพ่ือประโยชน์สาธารณะจะจัดให้มีขึ้นได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไร ให้รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภท (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๖) ๓.๓ ก าหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นหน่วยงานรับเรื่องและอนุญาตการเรี่ยไร (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๘) ๓.๔ ก าหนดให้ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้และให้มีอ านาจออกกฎกระทรวงและก าหนดกิจการอย่างอ่ืนเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (แก้ไขเพ่ิมเติม มาตรา ๒๑) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๒๐

๔. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................ ................................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................................................... ......................................................

Page 50:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๕๐ - เรื่องท่ี ๔.๑.๑๑ ร่างพระราชบัญญัติโรงแรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา แผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๑ และฉบับที่ ๒ ก าหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจโรงแรมให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยมีขอบเขตการถ่ายโอนภารกิจดังนี้ ๑.๑ ให้ถ่ายโอนอ านาจการอนุญาตและรับจดทะเบียนให้เปิดด าเนินกิจการโรงแรมให้กรุงเทพมหานคร (กทม.) เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) ที่มีความพร้อม ๑.๒ ให้ผู้บริหารท้องถิ่นเป็นนายทะเบียนตามพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. ๒๕๔๓ ๑.๓ ให้มีคณะกรรมการพิจารณาการขออนุญาตจัดตั้งโรงแรมระดับจังหวัด และกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ๑) ในแต่ละจังหวัดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานในเขต กทม. ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธาน ๒) ผู้แทนส่วนราชการที่เก่ียวข้อง เช่น กรมโยธาธิการและผังเมือง ส านักงานต ารวจแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นต้น เป็นกรรมการ ๓) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นกรรมการ (เฉพาะการพิจารณาการจัดตั้งโรงแรมระดับจังหวัด) ๔) ผู้บริหารท้องถิ่นแต่ละประเภทในจังหวัดนั้น ซึ่งเลือกกันเองตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนด ประเภทละ ๑ คน เป็นกรรมการ (เฉพาะการพิจารณาการจัดตั้งโรงแรมระดับจังหวัด) ๕) ผู้บริหารท้องถิ่น ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงแรมที่ขอจัดตั้งเป็นกรรมการ ในการนี้ให้ผู้บริหารท้องถิ่นดังกล่าว เป็นกรรมการเฉพาะการพิจารณาการขออนุญาตจัดตั้งโรงแรมซึ่งอยู่เขตพ้ืนที่ของตนเท่านั้น ๖) ผู้แทนประชาชน/ภาคประชาสังคม จ านวน ๒ คน เป็นกรรมการ ๗) ปลัดจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการฯ ส าหรับ กทม. ให้ปลัด กทม. เป็นกรรมการและเลขานุการ ๑.๔ รายได้และค่าธรรมเนียมการอนุญาตให้ตกเป็นรายได้ของ อปท.

๒. ข้อเท็จจริง คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้เชิญผู้แทนกรมการปกครองมาร่วมหารือในประเด็นที่เกี่ยวกับการด าเนินการถ่ายโอนภารกิจเกี่ยวกับการอนุญาตการประกอบกิจการโรงแรมให้แก่ อปท. ซ่ึงผู้แทนกรมการปกครองเสนอความเห็นดังนี้

Page 51:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๕๑ - ๒.๑ กรมการปกครองขอให้คงอ านาจการเป็นนายทะเบียนไว้เช่นเดิม ส าหรับใน กทม. ให้อธิบดีกรมการปกครอง เป็นนายทะเบียน และในจังหวัดอ่ืน ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นนายทะเบียน เนื่องจากการประกอบกิจการโรงแรมเป็นการรักษาความสงบเรียบร้อย และเพ่ือให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมิให้เกิดการเอ้ือประโยชน์หรือเกิดผลประโยชน์ทับซ้อนระหว่างผู้บริหารท้องถิ่นกับผ ู้ขออนุญาตในพ้ืนที่ จึงควรให้อ านาจการอนุญาตดังกล่าวไว้ที่กรมการปกครอง ๒.๒ การก าหนดให้ อปท. เป็นหน่วยรับเรื่องราวการขอจดทะเบียนโรงแรม กรมการปกครองไม่ขัดข้องที่จะด าเนินการในเรื่องนี้ โดยออกเป็นประกาศตามกฎหมายโรงแรมได้ ๒.๓ การก าหนดให้มีผู้แทน อปท. ร่วมเป็นอนุกรรมการระดับจังหวัดท าหน้าที่กลั่นกรองเรื่องการขออนุญาตแล้วเสนอความเห็นต่อนายทะเบียน กรมการปกครองไม่ขัดข้องโดยสามารถด าเนินการได้ โดยแก้ไขค าสั่งกระทรวงมหาดไทยที่ ๔๖๓/๒๕๔๕ เรื่อง การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติโรงแรม พุทธศักราช ๒๔๕๗ เพ่ือพิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการซึ่งเป็นผู้แทน อปท. เพ่ิมเติมได้ ส าหรับคณะอนุกรรมการกรุงเทพมหานครขอให้คงรองอธิบดีกรมการปกครอง เป็นประธานอนุกรรมการ ซึ่งไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการฯ ๒.๔ การให้ค่าธรรมเนียมและรายได้ที่เกิดขึ้นตกเป็นของ อปท. กรมการปกครองไม่ขัดข้อง

๓. ข้อพิจารณา คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุง ร่างพระราชบัญญัติพระราชบัญญัติโรงแรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคัญดังนี้ ๓.๑ แก้ไขบทนิยามค าว่า “นายทะเบียน” และ “พนักงานเจา้หน้าที่” (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔) ๓.๒ เพ่ิมบทนิยามค าว่า “ผู้บริหารท้องถิ่น” และ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”(แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔) ๓.๓ ก าหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีอ านาจออกกฎกระทรวงก าหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินท้ายพระราชบัญญัตินี้ ยกเว้นค่าธรรมเนียม และก าหนดกิจการอ่ืนหรือออกประกาศเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๕ ) ๓.๔ ก าหนดให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการประกอบกิจการโรงแรมในกรุงเทพมหานคร (เพ่ิมมาตรา ๑๒/๑) ๓.๕ ก าหนดให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการประกอบกิจการโรงแรมในจังหวัด (เพ่ิมมาตรา ๑๒/๒) ๓.๖ ก าหนดอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการส่งเสริมการประกอบกิจการโรงแรมในกรุงเทพมหานครและคณะกรรมการส่งเสริมการประกอบกิจการโรงแรมในจังหวัด (เพ่ิมมาตรา ๑๒/๓) ๓.๗ ก าหนดให้ค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เพ่ิมมาตรา ๒๙/๑)

Page 52:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๕๒ - ๓.๘ ก าหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอ านาจเข้าไปตรวจสอบใบอนุญาต ทะเบียนผู้พัก บัตรทะเบียนผู้พัก สภาพและลักษณะของโรงแรม (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๔๕) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๒๑

๔. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................

Page 53:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๕๓ - เรื่องท่ี ๔.๑.๑๒ ร่างพระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....

๑. ความเป็นมา ๑.๑ แผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ ๒ ก าหนดให้มีการ ถ่ายโอนภารกิจการอนุญาตให้จัดตั้งสถานบริการให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดยมีขอบเขตการถ่ายโอนภารกิจดังนี้ ๑.๑.๑ ให้ถา่ยโอนอ านาจการอนุญาตให้จัดตั้งสถานบริการให้ กทม. เทศบาล เมืองพัทยา และ อบต. ๑.๑.๒ ให้ผู้บริหาร อปท. เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. ๒๕๐๙ และมีอ านาจแต่งตั้งพนักงานส่วนท้องถิ่นเป็นเจ้าพนักงาน ๑.๑.๓ ให้มีคณะกรรมการพิจารณาการขออนุญาตจัดตั้งสถานบริการระดับจังหวัดและกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย (๑) ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานและให้มีคณะกรรมการพิจารณาการขออนุญาตจัดตั้งสถานบริการในแต่ละจังหวัด และ กทม. ส าหรับ กทม. ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นประธาน (๒) ผู้แทนส่วนราชการที่เก่ียวข้อง เช่น กรมโยธาธิการและผังเมือง ส านักงานต ารวจแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นต้น เป็นกรรมการ (๓) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นกรรมการ (เฉพาะคณะกรรมการในระดับจังหวัด) (๔) ผู้บริหารท้องถิ่นแต่ละประเภทในจังหวัดนั้นซึ่งเลือกกันเองตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนด ประเภทละ ๑ คน เป็นกรรมการ (เฉพาะคณะกรรมการในระดับจังหวัด) (๕) ผู้บริหารท้องถิ่นซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานบริการที่ขอจัดตั้งเป็นกรรมการ ในการนี้ให้ผู้บริหารท้องถิ่นดังกล่าวเป็นกรรมการเฉพาะการพิจารณาการขออนุญาตจัดตั้งสถานบริการซึ่งอยู่ในเขตพ้ืนที่ของตนเท่านั้น (เฉพาะคณะกรรมการในระดับจังหวัด) (๖) ผู้แทนประชาชน/ภาคประชาสังคม จ านวน ๒ คน เป็นกรรมการ (๗) ปลัดจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการ ส าหรับใน กทม. ให้ปลัด กทม. เป็นกรรมการและเลขานุการ ๑.๑.๔ รายได้และค่าธรรมเนียมให้ตกเป็นรายได้ของ อปท. ๑.๒ แผนปฏิบัติการก าหนดขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด้านการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ก าหนดให้มีการขั้นตอนการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายสถานบริการ ดังนี้ ๑.๒.๑ การขออนุญาตตั้งสถานบริการที่อยู่ในเขต อปท. ให้เป็นอ านาจหน้าที่ของ อปท. นั้น ๑.๒.๒ ให้ผู้บริหาร อปท. เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่และมีอ านาจแต่งตั้งพนักงานส่วนท้องถิ่น เป็นเจ้าพนักงาน

Page 54:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๕๔ - ๑.๒.๓ ให้มีคณะกรรมการระดับจังหวัดเพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบในกรณีที่ อปท. รายงานการจัดตั้งสถานบริการในเขต ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน ผู้แทน อปท. ผู้แทนส่วนราชการ และผู้แทนประชาชน/ภาคประชาสังคม เป็นกรรมการ ท าหน้าที่พิจารณากลั่นกรองแล้วเสนอความเห็นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ๑.๓.๔ ให้มีคณะกรรมการเพ่ือพิจารณาการจัดตั้งสถานบริการ โดยผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นประธานกรรมการในเขต กทม. และผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ระดับจังหวัด ๑.๓.๕ รายได้และค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นตกเป็นของ อปท.

๒. ข้อเท็จจริง คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้เชิญผู้แทนกรมการปกครองมาร่วมหารือในประเด็นที่เกี่ยวกับการด าเนินการถ่ายโอนภารกิจเกี่ยวกับการอนุญาตการประกอบกิจการสถานบริการให้แก่ อปท. ซึ่งผู้แทนกรมการปกครองเสนอความเห็นว่า ขอให้คงอ านาจการเป็น นายทะเบียนไว้เช่นเดิม และให้ อปท. เป็นหน่วยรับเรื่องราวการขออนุญาตจัดตั้ งสถานบริการ และให้ค่าธรรมเนียมและรายได้ที่เกิดขึ้นตกเป็นของ อปท. เนื่องจากกฎหมายสถานบริการเป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายหลายฉบับและเป็นกฎหมายที่เก่ียวกับความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง

๓. ข้อพิจารณา คณะอนุกรรมการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีศาสตราจารย์นันทวัฒน์ บรมานันท์ เป็นประธาน ได้พิจารณาแก้ไขปรับปรุง ร่างพระราชบัญญัติสถานบริการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เพ่ือให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการฯ โดยมีสาระส าคัญดังนี้ ๓.๑ แก้ไขเพ่ิมเติมบทนิยามค าว่า “พนักงานเจ้าหน้าที่” “ผู้บริหารท้องถิ่น” และ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๓) ๓.๒ ก าหนดให้มีคณะกรรมการส่งเสริมการประกอบกิจการสถานบริการในกรุงเทพมหานคร (เพ่ิมมาตรา ๔/๑) ๓.๓ เ พ่ิมให้มีคณะกรรมการส่ ง เสริมการประกอบกิจการสถานบริการในจังหวัด (เพ่ิมมาตรา ๔/๒) (๔) ก าหนดอ านาจหน้าที่คณะกรรมการส่งเสริมการประกอบกิจการสถานบริการในกรุงเทพมหานครและคณะกรรมการส่งเสริมการประกอบกิจการสถานบริการในจังหวัด (เพ่ิมมาตรา ๔/๓) (๕) ก าหนดให้ค่าธรรมเนียมที่ เกิดขึ้นตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เพ่ิมมาตรา ๔/๔)

Page 55:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๕๕ - (๖) ก าหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีหน้าที่รับเรื่องราวการขออนุญาตตั้งสถานบริการและตรวจสอบกลั่นกรองเบื้องต้นเพ่ือเสนอคณะกรรมการส่งเสริมการประกอบกิจการสถานบริการ (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๙) (๗) ก าหนดให้กรณีพนักงานเจ้าหน้าที่ ไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่ต่อใบอนุญาตให้ตั้ ง สถานบริการให้ผู้ขออนุญาตอุทธรณ์ต่อปลัดกระทรวงมหาดไทย (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๑๑) (๘) ก าหนดให้กรณีพนักงานเจ้าหน้าที่สั่งพักใช้หรือสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ให้ผู้รับอนุญาตตั้งสถานบริการอุทธรณ์ต่อปลัดกระทรวงมหาดไทย (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๒๒) (๙) ก าหนดให้รัฐมนตรีมหาดไทยมีอ านาจออกกฎกระทรวงก าหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินท้ายพระราชบัญญัตินี้ ยกเว้นค่าธรรมเนียม และก าหนดกิจการอ่ืนหรือออกประกาศเพ่ือปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ (แก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา ๓๐) รายละเอียดปรากฏตามเอกสารหมายเลข ๒๒

๔. ข้อเสนอ จึงเสนอท่ีประชุมเพ่ือพิจารณา

มติที่ประชุม ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ........................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................. ................................................

Page 56:  · - ๒ - ระเบียบวาระที่ % เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้เป็นไปตามแผนการกระจายอ

- ๕๖ - ระเบียบวาระท่ี ๕ เรื่องอ่ืนๆ (ถ้ามี)

............................................................................................................................. ............................ ............................................................................... ............................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................. ............................................................................................................

มติที่ประชุม ............................................................................................................................. ...... ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................. .................................................................................................................................................................. ............ ............................................................................................................................................................................