บรรยายสรุป balance sheet bm 602 การจัดการการเง...

64
1 บรรยายสรุป BM 602 การจัดการการเงิน รศ. พูนศักดิแสงสันต [email protected] 081-625-2182 BALANCE SHEET ASSETS Current Assets Fixed Assets LIAB. & EQUITY Debt Equity: Com. Stocks Retained Earnings BALANCE SHEET ASSETS Current Assets Fixed Assets LIAB. & EQUITY Debt (II) Equity: Com. Stocks (I) Retained Earnings (III) BALANCE SHEET ASSETS Current Assets Fixed Assets Uses of Funds LIAB. & EQUITY Debt Equity: Com. Stocks Retained Earnings Sources of Funds

Upload: vukiet

Post on 18-Apr-2018

238 views

Category:

Documents


9 download

TRANSCRIPT

Page 1: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

1

บรรยายสรุป

BM 602 การจัดการการเงิน

รศ. พูนศกัดิ์ แสงสนัต

[email protected]

081-625-2182

BALANCE SHEET

ASSETS

Current Assets

Fixed Assets

LIAB. & EQUITY

Debt

Equity:Com. Stocks

Retained Earnings

BALANCE SHEET

ASSETS

Current Assets

Fixed Assets

LIAB. & EQUITY

Debt (II)

Equity: Com. Stocks (I)

Retained Earnings(III)

BALANCE SHEET

ASSETSCurrent Assets

Fixed Assets

Uses of Funds

LIAB. & EQUITYDebtEquity:

Com. StocksRetained Earnings

Sources of Funds

Page 2: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

2

BALANCE SHEETInvesting <------------------ Financing

ASSETSCurrent Assets

Fixed Assets

Uses of Funds

LIAB. & EQUITYDebtEquity:

Com. StocksRetained Earnings

Sources of Funds

------------ Managing ------------

BALANCE SHEETFinancing

LIAB. & EQUITYDebt (II) ------------------> Interest

Equity: ------------------ DividendCom. Stocks (I) &Retained Earnings (III) Capital Gains

Sources of Funds

Managing

BALANCE SHEETFinancing

LIAB. & EQUITYDebt (II) ------------------> Interest

Equity: ------------------ DividendCom. Stocks (I) &Retained Earnings (III) Capital Gains

Sources of Funds : WACC & CAPITAL STRUCTURE

Managing

BALANCE SHEETInvesting

ASSETSCurrent Assets ------- Liquidity & Profitability

Fixed Assets ------ Fixed Assets Turnover------ Payback, DPB------ NPV, IRR, MIRR

Uses of Funds

Managing

Page 3: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

3

BALANCE SHEETInvesting

ASSETSCurrent Assets ------- Liquidity & Profitability

Fixed Assets ------ Fixed Assets Turnover------ Payback, DPB------ NPV, IRR, MIRR

Uses of Funds: RISK $ RATES OF RETURN

Managing

1 - 1

Responsibility of the Financial Staff

หนาที่และความรับผิดชอบของฝายการเงิน

• Maximize stock value by: ทําใหมูลคาหุนสูงสุด

– Forecasting and planning (การพยากรณและการวางแผน)

– Investment and financing decisions (การตัดสินใจลงทุนและ การจัดหาเงินทุน)

– Coordination and control (การประสานงานและการควบคุม)

– Transactions in the financial markets (การติดตอกับตลาดการเงิน)

– Managing risk (การจัดการความเสี่ยง)

1 - 5Financial Management Issues of the New Millennium

การจัดการการเงินของรอบสหัสวรรษใหม

• The effect of changing technology(ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลย)ี

• The globalization of business(ธุรกิจที่อยูบนโลกเดียวกัน)

1 - 7

Page 4: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

4

ผลกระทบของการ

เปลี่ยนแปลงทางธุรกิจจาก

การใชคอมพิวเตอร +

การโอนขอมลูผานทาง

อิเลคทรอนิค และ

โลกาภิวัฒนทางธุรกิจ

ลงทุนมาก

การขยายตลาด

การลดตนทุน

เพิ่มการแขงขัน

ในทองถิ่น

การจัดการการเงินของรอบสหัสวรรษใหม

1 - 8

วัตถุประสงคของบริษัท (Goals of the Corporation) วัตถุประสงคของบริษัท (Goals of the Corporation)

คือคือ

“ผูถือหุนมีความมั่งคั่งสูงสุด”(Stockholder wealth maximization)

หมายถึงหมายถึง

“ ทําใหราคาหุนสามัญของกิจการสูงสุด”(Maximizing the price of the firm’s common stock)

1 - 15

Financial Goals of the Corporation

วัตถุประสงคทางการเงินของบริษัท

• The primary financial goal is shareholder wealth maximization,which translates to maximizing stock price.

(จุดมุงหมายหลักทางการเงิน คือ ความมั่งคั่ง ของผูถือหุน หมายถึง การทําใหราคาหุนของ บริษัทสูงสุด)

1 - 16Business Ethics

จริยธรรมทางธุรกิจ

Ethics หมายถึง ทัศนคติและการปฏิบัติตอบุคคลที่

เกี่ยวของดวยความซื่อสัตยและยุติธรรม เชน ผลิตสินคา

คุณภาพดี ผูบริโภคมีความปลอดภัย ปฏิบัติตอพนักงานดวย

ความเปนธรรม ทั้งนี้ ผูบริหารทั้งหลายเชื่อวา “จริยธรรมมีความสัมพันธทางบวก (Positive Correlation) กับความ

สามารถในการทํากําไรในระยะยาว”

1 - 20

Page 5: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

5

Factors that affect stock price.

ปจจัยที่มีผลกระทบตอราคาหุน

• Projected cash flows to shareholders (ประมาณการกระแสเงินสดที่ ผูถือหุนจะไดรับ)

• Timing of the cash flow stream (ชวงเวลาที่ไดรับกระแสเงินสด)

Riskiness of the cash flows (ความเสี่ยงของกระแสเงินสด)

1 - 31 Basic Valuation Model

ตัวแบบการประเมินมูลคาเบื้องตน

• To estimate an asset’s value, one estimates the cash flow for each period t (CFt), the life of the asset (n),and the appropriate discount rate (k)การประเมินมูลคาของสินทรัพยใด ๆ จะตองประเมิน กระแสเงินสดในแตละงวดเวลา t (CFt), อายุของสินทรัพย (n), และอัตราสวนลดที่เหมาะสม (k)

∑= +

=

+++

++

+=

n

1tt

t

nn

22

11

.k)(1

CF

k)(1CF

k)(1CF

k)(1CF

Value Λ

1 - 32

Factors that Affect the Level and Riskiness of Cash Flows

ปจจัยที่กระทบตอระดับและความเสี่ยงของกระแสเงินสด

• Decisions made by financial managers:

(การตัดสินใจของผูจัดการการเงิน)

– Investment decisions (การตัดสินใจลงทุน)

– Financing decisions (the relative use of debt financing)

การตัดสินใจจัดหาเงินทุน (ความสัมพันธในการจัดหาเงินทุน

จากหนี้สิน)

– Dividend policy decisions (การตัดสินใจในนโยบายเงินปนผล)

• The external environment (สภาพแวดลอมภายนอก)

1 - 33

1. ขอกฎหมายตางๆ

2. ภาวะเศรษฐกิจ

3. กฎหมายภาษีอากร

4. ภาวะของตลาดหลักทรัพย

1 - 34

Page 6: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

6

2 - 2 รายงานประจําป

The Annual Report

• Balance sheet – งบดุล คือ งบแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง

• Income statement – งบกําไรขาดทุน คือ งบที่แสดงผลการดําเนินงานของกิจการสําหรับงวดเวลาหนึ่ง

• Statement of retained earnings – งบกําไรสะสม คือ งบที่แสดงกําไรหรือขาดทุนสะสมของกิจการตั้งแตเริ่มดําเนินงานจนถึงปจจุบัน

• Statement of cash flows – งบกระแสเงินสด คือ งบที่แสดงวาในชวงระยะเวลาหนึ่งกิจการไดเงินสดมาจากแหลงใดและใชเงินสดไปอยางไร

2 - 4

Economic Value Added (EVA)

การเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจ

(การพิจารณาประสิทธิภาพผูบริหารในงวดเวลาหนึ่ง)

2 - 30

(EVA) = NOPAT – After-tax ($) Cost

of Capital

เทากับ

Operating After - tax %

capital cost of capitalNOPAT

2 - 31

กําไรสวนที่เหลือหลังจากหักตนทุนของเงินทุนแลว

(ตนทุนของหนี้สินและตนทุนของผูเปนเจาของ)

Page 7: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

7

MVA =

Market

value

of equity

Equity capital

supplied by investors

MVA =ราคาตลาด จํานวน

ตอหุน หุนสามัญ

สวนของ

ผูถือหุน

สามัญ

2 - 34 3 - 2

1. การวิเคราะหอัตราสวน 1. การวิเคราะหอัตราสวน

อัตราสวนทางการเงิน

การวิเคราะหอัตราสวนการวิเคราะหอัตราสวน

เปนการเปรียบเทียบเพื่อใหเห็น

สัดสวนของตัวเลขตางๆ ใน

งบการเงิน เชน การนําหนี้สิน

มาเปรียบเทียบกับสินทรัพย

การเปรียบเทียบนี้ เรียกวา

3 - 5

1. เปนตัวเลขที่เปนมาตรฐานชวยในการเปรียบเทียบ

2. นํามาใชเพื่อชี้ใหเห็นจุดเดน และจุดดอยของกิจการ

3 - 6

Page 8: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

8

ถามถาม อัตราสวนแบงไดกี่กลุม แตละกลุมตอบคําถามอะไรบาง ?

ตอบตอบ แบงเปน 5 กลุม คือ

1. สภาพคลอง (Liquidity)

2. ประสิทธิภาพการใชสินทรัพย (Asset Management)

3. การบริหารหนี้สิน (Debt Management)

4. ความสามารถในการทํากําไร (Profitability)

5. ประเมินผลธุรกิจโดยรวม (Market Value)

3 - 7

1.1. Liquidity ความสามารถในการชําระ

หนี้สินระยะสั้นที่ครบกําหนด

2.2. Asset Management ประสิทธิภาพในการใช

สินทรัพย (amount of

assets vs. sales)

3.3. Debt Management การลงทุนในสินทรัพยทั้งสิ้น

ไดเงินทุนจากหนี้สินเพียงไร

3 - 8

4.4. Profitability วัดประสิทธิภาพการบริหารงาน

วาบรรลุตามเปาหมาย

หรือไม ซึ่งพิจารณาจาก

อัตราสวน PM, ROE และROA

5.5. Market Value ผูลงทุนคิดวากจิการเปน

อยางไร ซึง่พจิารณาจาก

อัตราสวน P/E และ M/B

3 - 92. อัตราสวนสภาพคลอง2. อัตราสวนสภาพคลอง

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 4.2

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 2.1

1. อัตราสวนหมุนเวียน (Current ratio)

สินทรัพยหมุนเวียน

หนี้สินหมุนเวียน=

2. อัตราสวนหมุนเร็ว (Quick or Acid test ratio)

สินทรัพยหมุนเวียน - สินคาคงเหลือ

หนี้สินหมุนเวียน=

บริษัท อัลไลดฯ = 1,000310

= 3.2

บริษัท อัลไลดฯ = 385310

= 1.2

3 - 15

Page 9: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

9

3. อัตราสวนประสิทธิภาพการใชสินทรัพย3. อัตราสวนประสิทธิภาพการใชสินทรัพย

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 9. 0 ครั้ง

1. อัตราการหมนุของสินคา

(Inventory turnover ratio)

ยอดขายสินคาคงเหลอื

=

บริษัท อัลไลดฯ = 3,000615

= 4.9 ครั้ง

3 - 17

ขอสังเกต : อัตราการหมุนของสินคาขอสังเกต : อัตราการหมุนของสินคา

อัตราการหมุนของสินคาต่ํากวาคาเฉลี่ย

ของอุตสาหกรรม

ควรตรวจสอบวาเหตุใดจงึมีสินคาคงเหลอืมากเกินไป

คุณภาพและการบริหารสินคามีประสิทธิภาพหรอืไม

3 - 18

บริษัท อัลไลดฯ = 375

3,000 / 365

=375

8.2192= 46 วัน

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 36 วัน

2. ระยะเวลาในการเก็บหนี้ถัวเฉลี่ย(DSO = Days sales outstanding)

ลูกหนี้การคา

ยอดขายเฉลี่ยตอวัน

ลูกหนี้การคา

ยอดขายตอป/365==

3 - 19

ขอสังเกต : DSOขอสังเกต : DSO

บริษัท อัลไลด ฯ เก็บเงินจากลูกหนี้ไดชากวา

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

บริษัทควรพิจารณานโยบาย

การขายเชื่อและระยะเวลา

ในการใหเครดิตแกลูกคา

3 - 20

Page 10: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

10

3. อัตราการหมนุของสินทรัพยถาวร(Fixed assets turnover ratio)

ยอดขาย

สินทรัพยถาวรสทุธิ=

บริษัท อัลไลดฯ = 3,0001,000

= 3.0 ครั้ง

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 3.0 ครั้ง

4. อัตราการหมนุของสินทรัพยทั้งสิ้น (Total assets turnover ratio)

=ยอดขาย

สินทรัพยทั้งสิ้น

= 3,0002,000

= 1.5 ครั้งบริษัท อัลไลดฯ

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 1.8 ครั้ง

3 - 21ขอสังเกต : อัตราการหมุนของ FA และ TAขอสังเกต : อัตราการหมุนของ FA และ TA

บริษัท อัลไลด ฯ คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

3. 0 x 3. 0 xFA TO

TA TO 1. 5 x 1. 8 x

อัตราการหมุนของสินทรัพยถาวรเทากับ

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรมแตอัตราการหมุนของสินทรพัยทั้งสิ้นต่ํากวา

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรมเล็กนอย ซึ่งสาเหตุ

มาจากมีลูกหนี้และสินคาคงเหลือมาก

3 - 22

ขอควรพิจารณาในการจัดหาเงินโดยการกูยืม

1. ผูถือหุนมีอาํนาจในการควบคมุกิจการคงเดิม

โดยไมตองลงทุนเพิ่ม

2. การกูเงินเพิ่มขึ้นความเสี่ยงของเจาหนี้จะเพิ่มขึ้น

3. (กําไร - ดอกเบี้ยจาย) เปนของผูถือหุน

ดอกเบี้ยจายไมเพิ่มขึ้น

4. อัตราสวนการบริหารหนี้สิน4. อัตราสวนการบริหารหนี้สิน3 - 23

บริษัท อัลไลดฯ = 310 + 7542,000

= 1,0642,000

= 53.2 %

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 40.0 %

2. Time - interest - earned (TIE) = EBIT

ดอกเบี้ยจายบริษัท อัลไลดฯ 283.8

88= = 3.2 เทา

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 6.0 เทา

1. อัตราสวนหนี้สิน(Debt ratio)

หนี้สินทั้งสิ้น

สินทรัพยทั้งสิ้น=

3 - 28

Page 11: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

11

3. EBITDA Coverage Ratio คือ อัตราสวนแสดงวากิจการมีกระแส

เงินสดพอที่จะชําระคาใชจายประจําทางการเงินไดเพียงไร

EBITDA coverage ratio EBITDA + Lease payments

Interest + Loan repayments + Lease payments=

411.8

136

=บริษัท อัลไลดฯ283.8 + 100 + 28

88 + 20 + 28

= = 3.0 เทา

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 4.3 เทา

3 - 29ขอสังเกต : อัตราสวนการบริหารหนี้สินขอสังเกต : อัตราสวนการบริหารหนี้สิน

บริษัท อัลไลดฯ คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

D/A

TIE

EBITDA

coverage

53.2 %

3.2 x

3.0 x

40.0 %

6.0 x

4.3 x

บริษัท อัลไลดฯ มีหนี้สินสูงกวา

คาเฉลี่ยของอุตสาหกรรม

3 - 30

ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย

ต่ํากวาคาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

นอกจากนี้อัตราสวน EBITDA ยัง

แสดงวากระแสเงินสดรวมทั้งสิ้นจะ

สามารถชําระคาใชจายทางการเงิน

ต่ํากวาคาเฉลี่ยอุตสาหกรรมดวย

ทําใหการจัดหาเงินจากการกูยืมใน

อนาคตยากและอัตราดอกเบี้ยสูง

3 - 31

5. อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร5. อัตราสวนความสามารถในการทํากําไร

1. อัตรากําไรสุทธิ(Profit margin on sales)

กําไรสุทธิสวนทีเ่ปนของผูถือหุนสามัญ

ยอดขาย=

บริษัท อัลไลดฯ = 113.5

3,000= 3.8 %

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 5.0 %

3 - 32

Page 12: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

12

ขอสังเกต : อัตรากําไรสุทธิตอยอดขายขอสังเกต : อัตรากําไรสุทธิตอยอดขาย

บริษัท อัลไลดฯ คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

PM 3. 8 % 5. 0 %

PM บริษัท อัลไลดฯ ต่ํากวาคาเฉลี่ย

ของอุตสาหกรรม อาจมีสาเหตุมาจาก

ตนทุนสูงเกินไป บริษัทมีหนี้สินสูง

จึงตองจายดอกเบี้ยสูง ทําใหกําไรสุทธิต่ํา

3 - 33

2. Basic Earning Power(BEP) EBIT

สินทรัพยทั้งสิ้น=

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 17.2 %

= 14.2 %

บริษัท อัลไลดฯ 283.8

2,000=

3 - 34

ขอสังเกต : BEPขอสังเกต : BEP

บริษัท อัลไลดฯ คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

BEP 14.2 % 17.2 %

BEP ไมนําคาภาษีและดอกเบี้ยจายมาคํานวณ จึงมี

ประโยชนในการเปรียบเทียบสําหรับกิจการที่มีอัตรา

ภาษี และโครงสรางของเงินทุนที่ใชหนี้สินตางกัน

บริษัท อัลไลดฯ BEP ต่ํากวาคาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

จึงตองปรับปรุงแกไขการบริหารสินทรัพยตอไป

3 - 353. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย

[Return on total assets (ROA) หรือ Return on Investment (ROI)]

กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนสามัญ

สินทรัพยทั้งสิ้น=

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 9.0 %

บริษัท อัลไลดฯ 113.5

2,000= 5.7 %=

4. อัตราผลตอบแทนสวนของผูเปนเจาของ

[(Return on common equity (ROE)]

กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนสามัญ

สวนของผูถือหุนสามัญ=

บริษัท อัลไลดฯ 113.5896

= = 12.7 %

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 15.0 %

3 - 36

Page 13: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

13

ขอสังเกต : ROA และ ROEขอสังเกต : ROA และ ROE

ROA

ROE

5.7 % 9.0 %

12.7 % 15.0 %

บริษัท อัลไลดฯ คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

บริษัท อัลไลดฯ ทั้ง ROA และ ROE ต่ํากวา

คาเฉลี่ยของอุตสาหกรรม เนื่องจาก

BEP ต่ํา

มีหนี้สินสูงกวาคาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

ทําใหดอกเบี้ยจายสูงและกําไรสุทธิลดลง

3 - 37

6. อัตราสวนประเมินผลธุรกิจโดยรวม6. อัตราสวนประเมินผลธุรกิจโดยรวม

1. ราคาตลาดกับกําไรสุทธิตอหุน [Price/Earnings (P/E) Ratio]

ราคาตลาดตอหุน

กําไรสุทธิตอหุน=

บริษัท อัลไลดฯ =23.00

2.27

= 10.1

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 12.5

3 - 38

2. ราคาตลาดกบักระแสเงินสดตอหุน (Price/Cash Flow Ratio)

ราคาตลาดตอหุน

กระแสเงินสดตอหุน=

บริษัท อัลไลดฯ =23.00

4.27= 5. 4

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 6. 8

3 - 393. ราคาตลาดกับมูลคาตาม

บัญชีตอหุน [Market/Book(M/B) Ratio]

สวนของผูถือหุน

จํานวนหุนสามัญที่อยูในมือบุคคลภายนอก=มูลคาตามบัญชีตอหุน(Book value per share)

Market/book ratio (M/B)ราคาตลาดตอหุน

มูลคาตามบัญชีตอหุน=

บริษัท อัลไลด ฯ 23.0017.92

= = 1.3

คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม = 1.7

บริษัท อัลไลดฯ = 89650

= 17.92 บาท

3 - 40

Page 14: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

14

ขอสังเกต : การประเมินผลธุรกิจโดยรวมขอสังเกต : การประเมินผลธุรกิจโดยรวม

P/E

P/CF

M/B

10.1 x 12.5 x

5.4 x 6.8 x

1.3 x 1.7 x

บริษัท อัลไลดฯ คาเฉลี่ยอุตสาหกรรม

P/E : บริษัทมีกําไรสุทธิ 1 บาท ผูลงทุนยินดีซื้อหุนราคาเทาไร

P/CF : บริษัทมีกระแสเงินสด 1 บาท ผูลงทุนยินดซีื้อหุนราคาเทาไร

M/B : บริษัทมีมูลคาตามบัญชี 1 บาท ผูลงทุนยินดซีื้อหุนราคาเทาไร

อัตราสวนทั้ง 3 แสดงวาผูลงทุนมองอนาคตของกิจการอยางไร

3 - 41

8. การใชและขอจํากัดของการวิเคราะหอัตราสวน8. การใชและขอจํากัดของการวิเคราะหอัตราสวน

1. บริษัทที่มีหลายแผนกซึ่งประกอบธุรกิจแตกตางกัน การเปรียบ

เทียบอัตราสวนทางการเงินกับอุตสาหกรรมทําไดยาก

2. บริษัทที่มีอัตราสวนทางการเงินดีกวาคาเฉลี่ยของอุตสาหกรรม

อาจไมจําเปนตองเปนบริษัทที่มีประสิทธิภาพดีเสมอไป

3. ภาวะเงินเฟออาจทําใหการเปรียบเทียบแนวโนมไมถูกตอง

4. สินคาตามฤดูกาลจะทําใหอัตราสวนเบี่ยงเบนไปได

3 - 49

5. การตกแตงบัญชี (window dressing)

6. วิธีการบัญชีที่แตกตางกัน เชน LIFO FIFO

7. การสรุปผลการวิเคราะหอัตราสวนทาง

การเงินอาจมองในดานดี หรือดานไมดีก็ได

8. กิจการที่มีอัตราสวนหนึ่งดี อีกอัตราสวนไมดี

สรุปไมไดวากิจการมีจุดเดน และจุดดอยอะไรบาง

3 - 50

10. ยอนรอยตัวเลข (การวิเคราะหปจจัยเชิงคุณภาพ)10. ยอนรอยตัวเลข (การวิเคราะหปจจัยเชิงคุณภาพ)

1. รายไดของกิจการขึ้นอยูกับลูกคาเพียงรายเดียวหรือไม

2. รายไดของกิจการขึ้นกับผลิตภัณฑหลักชนิดเดียวหรือไม

3. กิจการตองอาศัย Supplier เพียงรายเดียวหรือไม

4. กิจการลงทุนในตางประเทศมากนอยเพียงใด

5. ภาวะการณแขงขันเปนอยางไร

6. แนวโนมในอนาคตของกิจการ

7. กฎระเบียบตางๆ

3 - 52

Page 15: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

15

4 - 2ตลาดคืออะไร (What is a market?)ตลาดคืออะไร (What is a market?)

• A market is a venue where goods and services are exchanged. (ตลาด คือ สถานที่ซึ่งทําใหมีการ แลกเปลี่ยนสินคาและบรกิารกนั)

• A financial market is a place where individuals and organizations wanting to borrow funds are brought together with those having a surplus of funds. (ตลาดการเงิน คือ สถานที่ซึ่งบุคคลและองคการตาง ๆ ที่ตองการกูเงินมาพบกับผูที่มีเงินใหกู)

4 - 5

Types of Market

1. Physical asset markets : (Tangible หรือ Real

asset markets) ตลาดซื้อขายสินทรัพยที่มีตัวตน

เชน เครื่องจักร ที่ดินอาคาร สินคาตางๆ

Financial asset markets : ตลาดซื้อขายสินทรัพย

ทางการเงิน เชน หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ์ หุนกู

พันธบัตร ตั๋วเงินคลัง ตราสารอนุพันธ

1. ตลาดการเงิน 1. ตลาดการเงิน

4 - 6

2. Spot markets : (on - the - spot) ตลาดที่ซื้อขาย

สินทรัพยแลวสงมอบทันที ณ

วันที่ซื้อขาย

Futures markets : ตลาดที่ซื้อขายสินทรัพยวันนี้

แตสงมอบกันในอนาคต

4 - 7

Page 16: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

16

3. Money markets : ตลาดที่ซื้อขายหลักทรัพยที่มี

อายุไมเกิน 1 ป เชน ตั๋วเงินคลัง

Capital markets : ตลาดที่ซื้อขายหลักทรัพยที่มี

อายุเกิน 1 ป เชน หุนสามัญ

หุนกู พันธบัตรรัฐบาล

4 - 8

6. Primary markets (ตลาดแรก) : ตลาดที่ซื้อขาย

หลักทรัพยครั้งแรก

บริษัท ตลาดแรกผูซื้อหุนครั้งแรก

ที่บริษัทออกขาย

4 - 11

7. Secondary markets (ตลาดรอง) :

ตลาดที่ซื้อขายหลักทรัพย

เปลี่ยนมือระหวางผูลงทุน

ดวยกัน

ผูถือหุนเดิม ตลาดรอง ผูถือหุนใหม

4 - 12

บริษัทบล.

พัฒนสิน

ผูตองการเงินทุน

ผูจัดจําหนาย - ประกันการขาย

ผูลงทุน

เงินทุน เงินทุน

ใบหุน ใบหุน

ตลาดหลักทรัพย

นอกตลาด (OTC)

ตลาดแรก

( Primary Market )

ตลาดรอง

( Secondary Market )

ผูมีเงินออม

ขายตอ

ขายตอ

4 - 13

Page 17: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

17

เงินทุนเคลื่อนยายระหวางผูออมและผูกูอยางไร

How is capital transferred between savers and borrowers?

• Direct transfers เคลื่อนยายโดยตรง

• Investment banking house เคลื่อนยายโดยผานธนาคารเพื่อการลงทุน

• Financial intermediaries เคลื่อนยายโดยผานสื่อกลางทางการเงิน

4 - 162. สถาบันการเงิน2. สถาบันการเงิน

Business Savers

Investment

Banking HouseBusiness Savers

FinancialIntermediaryBusiness Savers

Securities (Stocks or Bonds)

Dollars

Stocks Bonds

Dollars Dollars

Dollars Dollars

Business,

Securities

Intermediary,s

Securities

4 - 17

3. ตลาดหลักทรัพย3. ตลาดหลักทรัพย

Organized Security Exchanges

Over - the - Counter Market : OTC

4 - 20

• The price, or cost, of debt capital is the interest rate. (ราคาหรือตนทุนของหนี้สิน คือ อัตราดอกเบี้ย)

• The price, or cost, of equity capital is the required return. The required return investors expect is composed of compensation in the form of dividends and capital gains. (ราคาหรือตนทุนสวนของเจาของ คือ ผลตอบแทนที่ผูลงทุนตองการซึ่งคาดวาจะไดรับประกอบดวย เงินปนผลและกําไรสวนทุน)

4. ตนทุนของเงิน (The Cost of Money)4. ตนทุนของเงิน (The Cost of Money)

4 - 22

Page 18: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

18

• Production opportunities(โอกาสในการผลิตสินคา)

• Time preferences for consumption (ชวงเวลาที่ตองการใชจายเงิน)

ปจจัยที่มีผลกระทบตอตนทุนของเงินทุนปจจัยที่มีผลกระทบตอตนทุนของเงินทุน

• Risk (ความเสี่ยงที่จะไดรับดอกเบี้ยและเงินตนคืน)

• Expected inflation (เงินเฟอที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต)

4 - 23

5. ระดับของอัตราดอกเบี้ย5. ระดับของอัตราดอกเบี้ย

กําหนดโดย อุปสงค อุปทาน

kA = 108

0Dollars

%

S1

D1

D2

kB = 12

Dollars

D1

S1%

Market A : Low - Risk Securities

Interest Rate , k

Market B : High - Risk Securities

Interest Rate , k

0

4 - 24

k = k* + IP + DRP + LP + MRPk = k* + IP + DRP + LP + MRP

6. องคประกอบอัตราดอกเบี้ยของตลาด6. องคประกอบอัตราดอกเบี้ยของตลาด

4 - 25

k = อัตราที่กําหนดไว (represents any nominal rate) เชน อัตราผลตอบแทนที่ตองการจาก ตราสารหนี้ (required rate of return on a debt security)

k* = อัตราดอกเบี้ยของหลักทรัพยที่ปราศจากความ เสี่ยง(“real”risk - free rate of interest) ถาไมมี เงินเฟอ เชน อัตราดอกเบี้ยของหลักทรัพยรัฐบาลระยะสั้น

“Nominal” vs. “Real” rates “Nominal” vs. “Real” rates 4 - 26

Page 19: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

19

IP = สวนชดเชยความเสี่ยงจากเงินเฟอ (inflation premium)

kRF = k* + IP = อัตราดอกเบี้ยของหลักทรัพยรัฐบาล

(rate of interest on treasury securities)

DRP = สวนชดเชยความเสี่ยงจากการไมสามารถชําระ

หนี้ไดตามกําหนด (default risk premium)

LP = สวนชดเชยความเสี่ยงจากสภาพคลอง

(liquidity premium)

MRP = สวนชดเชยความเสี่ยงจากระยะเวลาครบกําหนด

ไถถอน (maturity risk premium)

4 - 27

kRF = k* + IPNominal (Quoted)

Risk - Free Rate

of Interest

เทียบเคียงไดกับ

- US. Treasury bill (T - bill)

- Treasury bonds (T - bonds)

* แตถาอัตราดอกเบี้ยเปลี่ยน

แปลงก็มีความเสี่ยงบาง

4 - 28

IP มีผลตออัตราดอกเบี้ยมากเพราะ

ทําใหกําลังซื้อและอัตราผลตอบแทนที่แทจริง

ลดลง เปนอัตราเงินเฟอเฉลี่ยที่คาดไวตลอด

อายุหลักทรัพย

DRP (Default Risk Premium)

ถา DRP เพิ่มขึ้น อัตราดอกเบี้ย

จะเพิ่มขึ้นดวย

4 - 29

LP (Liquidity Premium)

สภาพคลอง หมายถึง

การเปลี่ยนเปนเงินสดไดเร็ว

ในราคายุติธรรม ซึ่งหุน

จะมีสภาพคลองมากกวา

ที่ดิน โรงงาน ปกติอยูระหวาง 2 - 4 - 5 %

4 - 30

Page 20: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

20

MRP (Maturity Risk Premium)

ความเสี่ยงนี้จะเกิดกับหลักทรัพยระยะยาว

เพราะถาอัตราดอกเบี้ยทองตลาดสูงขึ้น พันธบัตร

ระยะยาวจะมีราคาลดลง รวมทั้งพันธบัตรรัฐบาล

เรียกวา ความเสี่ยงเนื่องจากอัตราดอกเบี้ย

(interest rate risk)

ถาระยะเวลายาวมากความเสี่ยงนี้จะสูงขึ้น

4 - 31 5 - 2

1. สินทรัพยทางการเงิน (financial assets) :

ผูลงทุนคาดวาจะไดรับผลตอบแทนในรูปของ

กระแสเงินสด และมีความเสี่ยงในความ

ไมแนนอนของกระแสเงินสดนั้น

5 - 5

2. ความเสี่ยงของสินทรัพย มี 2 ประเภท คือ

(1) Stand - alone risk (ความเสี่ยงเฉพาะ)

คือ ความเสี่ยงของกระแสเงินสดที่เกิด

จากการลงทุนในสินทรัพยเพียงตัวเดียว

(2) Portfolio risk คือ ความเสี่ยงของ

กระแสเงินสดที่เกิดจากการลงทุนใน

สินทรัพยหลายตัวนํามาวิเคราะหรวมกัน

5 - 6

Page 21: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

21

(1) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได (diversifiable risk)

ความเสี่ยงนี้ถากระจายการลงทุนจะหลีกเลี่ยงได

(2) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไมได (market risk ,

relevant risk) ความเสี่ยงนี้เนื่องมาจากดัชนี

ตลาดหลักทรัพยลดลง แมวาจะกระจายการ

ลงทุนก็หลีกเลี่ยงไมได จึงตองสนใจมาก

3. ความเสี่ยงของกลุมสินทรัพยลงทุนแบงเปน 2 สวน

5 - 7

4. สินทรัพยที่มีความเสี่ยงสูง ผลตอบ

แทนที่คาดวาจะไดรับจะสูงดวย (เพื่อชดเชย

กับความเสี่ยงที่สูงขึ้น) เชน การลงทุนในตั๋วเงินคลัง

5 % (ไมมีความเสี่ยง) แตถาลงทุนในหุนสามัญตอง

ไดรับผลตอบแทนสูงกวา 5 % (เพราะมีความเสี่ยง)

ผูลงทุนโดยทั่วไปจะหลีกเลี่ยงความเสี่ยง

(averse to risk)ผูลงทุนโดยทั่วไปจะหลีกเลี่ยงความเสี่ยง

(averse to risk)

5 - 8

1. ผลตอบแทนจากการลงทุน1. ผลตอบแทนจากการลงทุน

ผลตอบแทน

(จํานวนเงิน)=

เงินที่ไดรับจาก

การลงทุน- เงินลงทุน

= 1,100 - 1,000 = 100 บาท

ตัวอยาง ลงทุน 1,000 บาท เมื่อ

ครบ 1 ป ไดรับเงิน 1,100 บาท

คํานวณอัตราผลตอบแทนดังนี้ :

5 - 9

=

เงินที่ไดรับจาก

การลงทุน- เงินลงทนุ

=1,000= 100

อัตราผลตอบแทน

จากการลงทุน เงินลงทนุ

10 %

5 - 10

Page 22: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

22

ความเสี่ยงคืออะไร ความเสี่ยงคืออะไร

• Risk, in traditional terms, is viewed as a ‘negative’.Webster’s dictionary, for instance, defines risk as “exposing to danger or hazard”. The Chinese symbols for risk, reproduced below, give a much better description of risk

• wang chi

• The first symbol is the symbol for “danger”, while the second is the symbol for “opportunity”, making risk a mix of danger and opportunity.

5 - 11

คือคือ

ความเสี่ยงเกี่ยวกับความนาจะเปนที่จะไดรับ

ผลตอบแทนต่ําหรือขาดทุน (low or negative return)

ถาความนาจะเปนนี้สูงการลงทุน

จะมีความเสี่ยงสูงดวย

5 - 12

• ความเสี่ยงจากการลงทุนมี 2 ประเภท (Two types of investment risk)

– ความเสี่ยงของหลักทรัพยตัวเดียว “ความเสี่ยงเฉพาะ” (Stand - alone risk )

– ความเสี่ยงของกลุมหลกัทรัพย (Portfolio risk)

5 - 13RISK,RETURN,AND DIVERSIFICATION

RISK ----> UNFAVORABLE OUTCOME

HIGH RISK, HIGH RETURN

DON’T PUT ALL EGGS IN ONE BASKET

DIVERSIFY RISK

(UNSYSTEMATIC RISK)

5 - 14

Page 23: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

23

2. ความเสี่ยงเฉพาะ (Stand – Alone Risk)2. ความเสี่ยงเฉพาะ (Stand – Alone Risk)

ความเสี่ยง คือ โอกาสของเหตุการณที่ไมตองการใหเกิดขึ้น

ผลตอบแทน คือ รายไดจากการลงทุนในชวงเวลาหนึ่ง

ความเสี่ยงเฉพาะจะเกิดขึ้นจากการลงทุน

ในหลักทรัพยเพียงตัวเดียวความเสี่ยงเฉพาะจะเกิดขึ้นจากการลงทุน

ในหลักทรัพยเพียงตัวเดียว

5 - 15

(1) การกระจายของความนาจะเปน (Probability Distribution)(1) การกระจายของความนาจะเปน (Probability Distribution)

ความนาจะเปนของเหตุการณใด

โอกาสที่จะเกิดเหตุการณนั้น ๆ

ถากําหนดความนาจะเปนใหเหตุการณ

ที่จะเกิดขึ้นแลวนํามารวมกัน เรียกวา

การกระจายความนาจะเปน

(probability distribution)การกระจายความนาจะเปน

(probability distribution)

5 - 17

กรณีลงทุนในสินทรัพยชนิดเดียว

(Expected Rate of Return)

k =^ P1k1 + P2k2 + ……….Pnkn

k̂ = Σ P ik i

n

i = 1

(2) อัตราผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับ : k (k - hat) (2) อัตราผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับ : k (k - hat) ^

Pi = โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ i , ki = อัตราผลตอบแทนถาเกิดเหตุการณ i

5 - 19

- 70 0 15 100 อัตราผล

ตอบแทน (%)

0.1

0.2

0.3

0.4

Martin ProductsMartin Products

ความนาจะเปน

อัตราผลตอบแทน

ที่คาดวาจะไดรับ

100 15 20

0.1

0.2

0.3

0.4

U.S. WaterU.S. Water

ความนาจะเปน

อัตราผล

ตอบแทน (%)

อัตราผลตอบแทน

ที่คาดวาจะไดรับ

5 - 21

Page 24: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

24

5 - 22ความนาจะเปน

อัตราผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับ

(Expected Rate of Return)

อัตราผล

ตอบแทน (%)10015 200 10-70

บริษัท U

บริษัท M

Standard deviation )̂(1

2

=

−=n

iii Pkk(σ)

Variance = )̂(1

2

=

−=n

iii Pkkσ 2

สถิติที่นิยมใช คือ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(3) การวัดความเสี่ยงเฉพาะ : สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(3) การวัดความเสี่ยงเฉพาะ : สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

5 - 23

−1σ−2σ +3σ+2σ−3σ +1σk

68.26%

95.46%99.74%

15%

บริษัท M

-50.84% 80.84%

k = 15%^

= 65.84%

^

σ

5 - 27

สรุป : การตัดสินใจเลือกลงทุนสรุป : การตัดสินใจเลือกลงทุน

ตองเปรียบเทียบอัตราความเสี่ยงตออัตรา

ผลตอบแทน (Coefficient of Variation “CV”)

1. กรณี k เทากันจะเลือกลงทุนหุนที่ ต่ํากวา

2. กรณี เทากันจะเลือกลงทุนหุนที่ k สูงกวา

3. กรณี k สูงกวาและ ก็สูงกวาดวยจะเลือก

ลงทุนอยางไร

^

^

σ

σ

5 - 28

Page 25: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

25

CV = =Std dev σ

k̂Mean

(4) การวัดความเสี่ยงเฉพาะ : Coefficient of Variation(4) การวัดความเสี่ยงเฉพาะ : Coefficient of Variation

คาสัมประสิทธิ์ของความแปรปรวน คือ

ความเสี่ยงของผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับ 1 หนวย

A standardized measure

of dispersion about the

expected value, that

shows the risk per unit

of return.

5 - 29

(4) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและผลตอบแทนที่ตองการ(4) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและผลตอบแทนที่ตองการ

ผูลงทุนทั่วไปผูลงทุนทั่วไปไมชอบความเสี่ยง ซึ่งกําหนด

เปนขอสมมติของหนังสือเลมนี้ไมชอบความเสี่ยง ซึ่งกําหนด

เปนขอสมมติของหนังสือเลมนี้

ผูลงทุนที่มีเหตุผลจะ

ไมชอบความเสี่ยงผูลงทุนที่มีเหตุผลจะ

ไมชอบความเสี่ยง

5 - 46

• Risk premium – the difference between the return on a risky asset and less risky asset, which serves as compensation for investors to hold riskier securities.(สวนชดเชยความเสี่ยง – ผลตางระหวางผลตอบแทนจากสินทรัพยที่มีความเสี่ยงสูงกับสินทรัพยที่มีความเสี่ยงต่ํากวา ซึ่งจะเปนผลตอบแทนที่ชดเชยใหแกผู ที่ลงทุนในหลักทรัพยซึ่งมีความเสี่ยงมากกวา)

ทัศนคติของผูลงทุนที่มีตอความเสี่ยง

(Investor attitude towards risk)

5 - 47

Portfolio : กลุมของสินทรัพย 2 ชนิดขึ้นไป

3. ความเสี่ยงของกลุมสินทรัพยลงทุน (Portfolio Risk)3. ความเสี่ยงของกลุมสินทรัพยลงทุน (Portfolio Risk)

การลงทุนในสินทรัพยเปนกลุม

ทําใหความเสี่ยงต่ํา

5 - 49

Page 26: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

26

5 - 50

(Expected return on a portfolio) = kP^

kP = w1k1 + w2k2 + . . . . . . . . . wnknkP = w1k1 + w2k2 + . . . . . . . . . wnkn^^^^

^ ^kp = Σ wi k i

n

i = 1

(1) ผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับจากกลุมสินทรัพยลงทุน(1) ผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับจากกลุมสินทรัพยลงทุน

kP = คาถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของ ki^ ^

(2) ความเสี่ยงของกลุมสินทรัพยลงทุน : P(2) ความเสี่ยงของกลุมสินทรัพยลงทุน : P

Correlation Coefficient : r

P จะต่ํากวาคาถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของ iตามปกติ

เพราะผลตอบแทนของสินทรัพยแตละตัวมีความสัมพันธกัน

จะนํา ของสินทรัพยลงทุนแตละตัว

มาถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักไมได

σ

σ

σσ

5 - 52

Stand-alone Market Firm-specificrisk risk risk= +

ความเสี่ยงทางตลาดเปน

สวนหนึ่งของ stand - alone

risk ของหลักทรัพยซึ่งไม

สามารถขจัดไดโดยกระจาย

การลงทุนและวัดดวยคา b

เปนความเสี่ยงสวน

หนึ่งของหลักทรัพย

ที่สามารถขจัดไดโดย

การกระจายการลงทุน

(3) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไดกับความเสี่ยงทางตลาด(3) ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไดกับความเสี่ยงทางตลาด

5 - 58

Diversifiable

Company - Specific

Unsystematic

Risk

เปนความเสี่ยงที่ขจัดได

โดยการกระจายการลงทุน

เปนความเสี่ยงของ

หลักทรัพยนั้น เชน โครง

สรางเงินทุนของกิจการ

ลักษณะของผลิตภัณฑฯลฯ

ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได

5 - 59

Page 27: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

27

ความเสี่ยงนี้ขจัดไมไดแมวาจะการ

กระจายการลงทุน เชน ความเสี่ยง

จากภัยสงคราม ภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา

อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น

ความเสี่ยงนี้ยังมีอยูใน portfolio

บางครั้ง เรียกวา ความเสี่ยงทางตลาด

Relevant

Market

Non - diversifiable

Systematic

Risk

ความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไมไดความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงไมได5 - 60

วัดไดโดยคาเบตา [beta“b”]

ถาความเสี่ยงนี้สูงผูลงทุนจะตองการอัตราผลตอบแทนสูง ถาความเสี่ยงนี้สูงผูลงทุนจะตองการอัตราผลตอบแทนสูง # Stocks in Portfolio10 20 30 40 2,000+

Company Specific Risk

Market Risk (คงที)่20

0

p (%)

35

การลงทุนในหลักทรัพยเพิ่มขึ้นความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได

จะลดลง (ความเสี่ยงทางตลาดไมเปลี่ยนแปลง)σ

Stand-Alone Risk pσ

σM=

5 - 63

Capital Asset Pricing Model : CAPM

เปนรูปแบบจําลองที่อธิบายความสัมพันธของ

ความเสี่ยงและผลตอบแทน โดยมีหลักสําคัญ คือ

“อัตราผลตอบแทนที่ตองการของหลักทรัพยใดเทากับอัตราผลตอบแทนที่ไมมีความเสี่ยง (risk free rate)

บวก อัตราผลตอบแทนที่เพิ่มขึ้นเพื่อชดเชยความเสี่ยงที่

เพิ่มขึ้น เมื่อขจัดความเสี่ยงที่สามารถขจัดไดออกไปแลว”

5 - 65

ki = kRF + (kM - kRF)bi

ki = อัตราผลตอบแทนที่ตองการของหุนสามัญ i

kRF = อัตราผลตอบแทนที่ไมมีความเสี่ยง

kM = อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของตลาด

bi = คาเบตาของหุนสามัญ i

5 - 66

Page 28: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

28

(4) แนวความคิดเกี่ยวกับคาเบตา (Beta : b)(4) แนวความคิดเกี่ยวกับคาเบตา (Beta : b)

Beta Coefficient : b

ใชวัดความเคลื่อนไหวของอัตราผลตอบแทน

ของหุนตัวใดตัวหนึ่งเปรียบเทียบกับการ

เคลื่อนไหวอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยของตลาด

อัตราผลตอบแทนของตลาดหลักทรัพย

วัดจากการเคลื่อนไหวของดัชนีในตลาด

หลักทรัพยตาง ๆ

5 - 67

• Run a regression of past returns of a security against past returns on the market. (ใช regression โดยนําผลตอบแทนของหลักทรัพยในอดีตเทียบกับผลตอบแทนของตลาดในอดีต)

• The slope of the regression line (sometimes called the security’s characteristic line) is defined as the beta coefficient for the security. [คาความชันของ regression line (บางครั้งเรียกวา the security’s characteristic line) ถูกนิยาม วาเปนคาสัมประสิทธิ์เบตาของหลักทรัพยนั้น]

5 - 68

.

.

.ki

_

kM

_- 5 0 5 10 15 20

20

15

10

5

- 5

-10

Illustration of beta calculation:

Regression line:ki = -2.59 + 1.44 k

M^ ^

Year kM ki1 15% 18%2 -5 -103 12 16

5 - 69

EXCESS RETURNON STOCK

EXCESS RETURNON MARKET PORTFOLIO

BetaBeta =RiseRiseRunRun

Narrower spreadNarrower spreadis higher correlationis higher correlation

Characteristic LineCharacteristic Line

CHARACTERISTIC LINE5 - 70

Page 29: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

29

An index of systematic risk.

It measures the sensitivity of a stock’s returns to changes in returns on the market portfolio.

The beta of a portfolio is simply a weighted average of the individual stock betas in the portfolio.

An index of systematic risksystematic risk.

It measures the sensitivity of a stock’s returns to changes in returns on the market portfolio.

The betabeta of a portfolio is simply a weighted average of the individual stock betas in the portfolio.

WHAT IS BETA ?5 - 71

EXCESS RETURNON STOCK

EXCESS RETURNON MARKET PORTFOLIO

Beta < 1Beta < 1(defensive)(defensive)

Beta = 1Beta = 1

Beta > 1Beta > 1(aggressive)(aggressive)

Each characteristic characteristic lineline has a

different slope.

CHARACTERISTIC LINES AND DIFFERENT BATAS

5 - 72

Security Market Line (SML)

คือคือ

เสนที่แสดงความสัมพันธระหวางความเสี่ยง

ซึ่งวัดดวยคาสัมประสิทธิ์เบตากับอัตราผลตอบแทน

ที่ตองการของหลักทรัพยตัวใดตัวหนึ่ง

4. ความสัมพันธระหวางความเสี่ยงกับอัตราผลตอบแทน4. ความสัมพันธระหวางความเสี่ยงกับอัตราผลตอบแทน

5 - 85

Security Market Line Equation : สมการ SML Security Market Line Equation : สมการ SML

ki = kRF + (kM - kRF) biki = kRF + (kM - kRF) bi

อัตราผล

ตอบแทนที่

ตองการหุน i

= +

อัตราผล

ตอบแทนที่

ไมมคีวามเสี่ยง

คาเบตา

หุน i

อัตราผลตอบ

แทนของตลาดที่

ชดเชยความเสี่ยง

หุน i ตัวเดียว

5 - 86

Page 30: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

30

Security Market Line ( SML ) Security Market Line ( SML )

5 - 94

SML 1

Original situation

อัตราผลตอบแทน

ที่ตองการ k (%)

0 1 1.5 Risk , bi

11

6

SML 1

Original situation

อัตราผลตอบแทน

ที่ตองการ k (%)

SML2

0 1 1.5 Risk , b i

11

86

New SML

IP = 2 %

13

5 - 95

kM= 13.5%

kM = 11%

SML1

Original situation

SML2

After increasein risk aversion

Risk, bi

13.5

6

1.0

2. 5 %

0

อัตราผลตอบแทน

ที่ตองการ k (%)

11

5 - 98 6 - 2

Page 31: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

31

• เปนเครื่องมือที่สําคัญในการวิเคราะหมูลคาของเงินตามเวลา

• Show the timing of cash flows. (แสดงจังหวะเวลาของกระแสเงินสด)

• Tick marks occur at the end of periods, so Time 0 is today; Time 1 is the end

of the first period (year, month, etc.) or the beginning of the second period.

(เครื่องหมายขีดเกิดขึ้น ณ วันสุดทายของระยะเวลา ดังนั้น 0 หมายถึงปจจุบัน

1 หมายถึงสิ้นงวดระยะเวลาที่ 1 (ป เดือน ฯลฯ) หรือเปนการเริ่มงวดที่สอง)

CF0 CF1 CF3CF2

0 1 2 3i%

1. เสนเวลา (TIME LINE)1. เสนเวลา (TIME LINE)6 - 6

• Finding the FV of a cash flow or series of cash flows when compound interest is applied is called compounding. (คํานวณ FV ของกระแส เงินสดหรืออนุกรมของกระแสเงินสดโดยใชวิธีดอกเบี้ยทบตน)

• FV can be solved by using the arithmetic, financial calculator, and spreadsheet methods. (FVสามารถคํานวณไดโดยใชวิธีการทางเลขคณิต ใชเครื่องคํานวณทางการเงิน หรือ spreadsheet)

FV = ?

0 1 2 310%

- 100

6 - 102. มูลคาในอนาคต (Future Value : FV)2. มูลคาในอนาคต (Future Value : FV)

FV1 = PV + PV ( i )

= PV (1 + i)

FV2 = FV1 (1 + i)

= PV (1 + i) (1 + i)

= PV (1 + i)2

FVn = PV (1 + i)nFVn = PV (1 + i)n

ตัวอยาง FV5 = 100 (1 + 0.05)5

= $ 127.63

6 - 12

Future Value Interest Factors : FVIFi , n = (1 + i)n

PERIOD ( n )

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

0 %

1.0000

1.0000

1.0000

1.0000

1.0000

1.0000

1.0000

1.0000

1.0000

1.0000

5 %

1.0500

1.1025

1.1576

1.2155

1.3401

1.0471

1.4475

1.5513

1.6289

10 %

1.1000

1.2100

1.3310

1.4641

1.6105

1.7716

1.9487

2.1436

2.3579

2.5937

15 %

1.1500

1.3225

1.5209

1.7490

2.0114

2.3131

2.6600

3.0590

3.5179

4.0456

6 - 13

1.2763

Page 32: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

32

• Finding the PV of a cash flow or series of cash flows when compound interest is applied is called discounting (the reverse of compounding). [หาคา PV ของกระแสเงินสด หรืออนุกรมของกระแสเงินสด โดยใชวิธีการ ของดอกเบี้ยทบตน เรียกวา การคิดสวนลด (เปนวิธีที่ตรงกันขามกับดอกเบี้ยแบบทบตน)]

• The PV shows the value of cash flows in terms of today’s purchasing power. (PVแสดงมูลคาของกระแสเงินสดในรูปอํานาจซื้อของเงินปจจุบัน)

PV = ? 100

0 1 2 3

10%

6 - 173. มูลคาปจจุบัน (Present Value : PV)3. มูลคาปจจุบัน (Present Value : PV)

0 i = 5%1 2 3 4 5

FVn = PV (1 + i) n

FVn

(1 + i) n

เสนเวลา :

127. 63PV = ? FV1 FV2 FV3 FV4

PV =

FV5

6 - 18

Present Value Interest Factors for $1: PVIFi , n = 1/( 1 + i )n

PERIOD ( n )

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

8 %

.9259

.8573

.7938

.7350

.6806

.6302

.5835

.5403

.5002

.4632

10 %

.9091

.8264

.7513

.6830

.6209

.5645

.5132

.4665

.4241

.3855

12 %

.8929

.7972

.7118

.6355

.5674

.5066

.4523

.4039

.3606

.3220

14 %

.8772

.7695

.6750

.5921

.5194

.4556

.3996

.3506

.3075

.2697

.7835

5 %

.9524

.9070

.8638

.8227

.7462

.7107

.6768

.6446

.6139

Annuity = อนุกรมของการจายเงิน (หรือการรับเงิน)

จํานวนเทา ๆ กันทุกงวด โดยมีระยะเวลา

ที่กําหนดไวแนนอน เชน ดอกเบี้ยหุนกู

6 - 31

5. มูลคาในอนาคตของเงินเทากันทุกงวด

(Future Value of an Annuity : FVAn)5. มูลคาในอนาคตของเงินเทากันทุกงวด

(Future Value of an Annuity : FVAn)

Page 33: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

33

Future Value of an Annuity (FVAn)

มูลคาในอนาคตของเงินเทากันทุกงวด

Annuity แบงออกเปน 2 ประเภท

1. Ordinary Annuity (Deferred Annuity) :

การจายเงินจํานวนเทา ๆ กัน ณ วันปลายงวด

2. Annuity Due : การจายเงินจํานวนเทา ๆ กัน

ณ วันตนงวด

6 - 32 What is the difference between an

ordinary annuity and an annuity due?

Ordinary Annuity

PMT PMTPMT

0 1 2 3i%

PMT PMT

0 1 2 3i%

PMT

Annuity Due

6 - 33

Future Value Interest Factors for $1 Annuity : FVIFAi , n

PERIOD ( n )

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

8 %

1.0000

2.0800

3.2464

4.5061

5.8666

7.3359

8.9228

10.637

12.488

14.487

10 %

1.0000

2.1000

3.3100

4.6410

6.1051

7.7156

9.4872

11.436

13.579

15.937

12 %

1.0000

2.1200

3.3744

4.7793

6.3528

8.1152

10.089

12.300

14.776

17.549

14 %

1.0000

2.1400

3.4396

4.9211

6.6101

8.5355

10.730

13.233

16.085

19.337

3.1525

5 %

1.0000

2.0500

4.3101

5.5256

6.8019

8.1420

9.5491

11.027

12.578

1. Ordinary Annuity1. Ordinary Annuity

6. มูลคาปจจุบันของเงินเทากันทุกงวด

(Present Value of an Annuity : PVA)6. มูลคาปจจุบันของเงินเทากันทุกงวด

(Present Value of an Annuity : PVA)

PVAn = PMT (PVIFAi , n)PVAn = PMT (PVIFAi , n)

0 5 % 1 2 3

100 100 100

PVA3

95. 2490. 7086. 38

272. 32

1. ใชเครื่องคํานวณธรรมดา

6 - 41

Page 34: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

34

Present Value Interest Factors for $1 Annuity : PVIFAi , n

PERIOD ( n )

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

5 %

0.9524

1.8594

3.5460

4.3295

5.0757

5.7864

6.4632

7.1078

7.7271

8 %

0.9259

1.7833

2.5771

3.3121

3.9927

4.6229

5.2064

5.7466

6.2469

6.7101

10 %

0.9091

1.7355

2.4869

3.1699

3.7908

4.3553

4.8684

5.3349

5.7590

6.1446

12 %

0.8929

1.6901

2.4018

3.0373

3.6048

4.1114

4.5638

4.9676

5.3282

5.6502

14 %

0.8772

1.6467

2.3216

2.9137

3.4331

3.8887

4.2883

4.6389

4.9464

5.2161

2.7232 0 1 2 3 4 5

PV = ? 100 100 100 100 100

5 %

7. Perpetuities7. Perpetuities

Perpetuities คือ กระแสเงินสดที่ไดรับงวดละ

เทาๆ กันตลอดไปไมมีสิ้นสุด

PV ( Perpetuities ) = PMTi

1000.05

= $ 2,000=

6 - 49

1. การคํานวณมูลคาปจจุบัน (Present Value)1. การคํานวณมูลคาปจจุบัน (Present Value)

8. กระแสเงินสดแตละงวดไมเทากัน8. กระแสเงินสดแตละงวดไมเทากัน

PV = + +CF1 CF2 … CFn

(1 + i) (1 + i)2 (1 + i)n

6 - 50

100 200 200 200 200 0 1,000

0 1 2 3 4 5 6 76 %

1. ใชเครื่องคํานวณธรรมดา

94.34178.00167.92158.42149.45

0665.06

1,413.19

6 - 51

Page 35: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

35

Will the FV of a lump sum be larger or smaller if

compounded more often, holding the stated I% constant?

• LARGER, as the more frequently compounding occurs, interest is earned on interest more often.

Annually: FV3 = $100(1.10)3 = $133.10

0 1 2 310%

100 133.10

Semiannually: FV6 = $100(1.05)6 = $134.01

0 1 2 35%

4 5 6

134.01

1 2 30

100

6 - 66

Annual compounding

FV = PV (1 + i) n

More frequent compounding

FVn = PV mniNom

m

1 +

6 - 79

1. Nominal (Quoted) Rate : iNom

Annual Percentage Rate : APR

อัตราดอกเบี้ยที่ผูกูและผูใหกูตกลงกันวาจะคิด

ปละกี่เปอรเซ็นต เชน นําเงินฝากธนาคาร

ประจํา 12 เดือน อัตราดอกเบี้ย 4.5 % ระยะเวลา 1 ป

ประจํา 3 เดือน อัตราดอกเบี้ย 4.5 % ระยะเวลา 1 ป

6 - 89

2. Periodic Rate : iPER

iPER = iNom

m

บริษัทเงินทุนใหกูเงิน อัตราดอกเบี้ย 3 % ตอไตรมาส

(3เดือน) ดั้งนั้นจะเปนอัตราดอกเบี้ย 12 % ตอป

iPER = iNom

m; iNom = (iPER) m

= 3 (4) = 12 %

6 - 90

Page 36: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

36

3. Effective (Equivalent) Annual Rate : EAR

EAR : EFF % = 1 + iNomm - 1

m

6 - 91 7 - 2

พันธบัตรคืออะไร (What is a bond ?)

• A long-term debt instrument in which a borrower

agrees to make payments of principal and interest,

on specific dates, to the holders of the bond.

พันธบัตร คือ ตราสารหนี้ระยะยาวซึ่งผูกู (ผูออก

พันธบัตร) ไดสัญญาวาจะจายชําระคืนเงินตนและ

ดอกเบี้ยตามวันที่กําหนดไวใหแกผูถือพันธบัตร

7 - 5

1. พันธบัตรจําแนกตามผูออกจําหนาย1. พันธบัตรจําแนกตามผูออกจําหนาย

1. พันธบัตรรัฐบาล (Treasury bonds

หรือ Government bonds)

จําหนายโดยรัฐบาลกลาง

ไมมีความเสี่ยงในเรื่องการชําระดอกเบี้ย

และเงินตน (no default risk)

7 - 6

Page 37: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

37

2. พันธบัตรของบริษัทเอกชน (Corporate bonds)

จําหนายโดยบริษัทเอกชน

มี default risk

3. พันธบัตรของรัฐ (Municipal bonds)

จําหนายโดยรัฐตาง ๆ ในสหรัฐอเมริกา

หรือรัฐบาลทองถิ่น

มี default risk

7 - 7

4. พันธบัตรตางประเทศ (Foreign bonds)

จําหนายโดยรัฐบาลตางประเทศ

หรือบริษัทตางประเทศ

มี default risk

มีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน

7 - 8

จํานวนเงินที่ผูออกพันธบัตรจะตองชําระคืน

แกผูถือพันธบัตร 1 ฉบับเมื่อครบกําหนดไถถอน

1. มูลคาที่ตราไว (Par value)

7 - 9

2. อัตราดอกเบี้ยที่กําหนด (Coupon interest rate)

Floating rate bonds พันธบัตรที่อัตราดอกเบี้ย

ลอยตัวตามอัตราดอกเบี้ยของตลาด

Fixed rate bonds พันธบัตรที่กําหนด

อัตราดอกเบี้ยไวแนนอน

Zero coupon bonds พันธบัตรที่ไมมีการจาย

ดอกเบี้ย ผูลงทุนจะซื้อโดยหักสวนลดไว

7 - 10

Page 38: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

38

3. กําหนดไถถอน (Maturity date)

ปกติจะอยูในชวงเวลา 10 - 40 ป

4. การไถถอนกอนครบกําหนด (Call provisions)

พันธบัตรที่ออกจําหนายกําหนดเงื่อนไขนี้ไว

เมื่ออัตราดอกเบี้ยของตลาดลดลงต่ํากวา

อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตร ผูออกพันธบัตร

จะใชสิทธิไถถอนพันธบัตรกอนกําหนด

7 - 11

5. เงินกองทุนเพื่อไถถอนพันธบัตร (Sinking funds)

พันธบัตรอาจกําหนดใหผูออกพันธบัตรจัดตั้ง

เงินกองทุนเพื่อไถถอนพันธบัตรได

6. พันธบัตรแปลงสภาพ (Convertible bonds)

พันธบัตรที่กําหนดใหผูถือพันธบัตรนํามา

แปลงสภาพเปนหุนสามัญได

7 - 12

7. พันธบัตรควบใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุนสามัญ

(Bonds issued with warrants) ผูซื้อพันธบัตรจะ

ไดรับใบสําคัญแสดงสิทธิในการซื้อ

หุนสามัญซึ่งนํามาซื้อหุนสามัญได

7 - 13

8. พันธบัตรรายได (Income bond) พันธบัตร

ที่จะจายดอกเบี้ยเมื่อมีรายไดเพียงพอ

เทานั้น

9. Indexd bond (Purchasing power bond)

พันธบัตรที่ปรับอัตราดอกเบี้ย

ตามภาวะเงินเฟอ

7 - 14

Page 39: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

39

3. การประเมินมูลคาพันธบัตร (Bond Valuation)3. การประเมินมูลคาพันธบัตร (Bond Valuation)

0 1 2 3 N

INT+M

INTINTINTVB = ?

VB = มูลคาตามทฤษฎีของพันธบัตร

kd = อัตราผลตอบแทนที่ตองการจากพันธบัตร

( อัตราดอกเบี้ยของตลาด )

kd%

7 - 15

N = อายุของพันธบัตรปจจุบันถึง

วันครบกําหนดไถถอน

INT = จํานวนดอกเบี้ยของพันธบัตรตองวด

M = มูลคาที่ตราไวหรือมูลคาที่ไถถอน

(par value)

7 - 16

VB = INT (PVIFAk , N) + M (PVIFk , N)VB = INT (PVIFAk , N) + M (PVIFk , N)

VB = N INT + Mt = 1 (1 + kd) t (1 + kd) N

หรือ

d d

7 - 17พันธบัตรมูลคาฉบับละ 1,000 บาท

อัตราดอกเบี้ย 10 % อายุ 15 ป

อัตราผลตอบแทนที่ตองการ 10 %

พันธบัตรมีมูลคาตามทฤษฎีเทาไร

VB = + +……+ +INT

( 1 + kd )1

INT

( 1 + kd )2

INT

( 1 + kd )N

M

( 1 + kd )N

VB = + +….+ +100

( 1 + 0.1 )1

100

( 1 + 0.1 )2

100

( 1 + 0.1 )15

1,000

( 1 + 0.1 )15

= 100 (PVIFA10% , 15) + 1,000 (PVIF10% , 15)

7 - 18

Page 40: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

40

การเปลี่ยนแปลงมูลคาพันธบัตรตามเวลาการเปลี่ยนแปลงมูลคาพันธบัตรตามเวลา

M = 1,000

1,495

714

Bond Value

Years

M

Premium Bond

Discount Bond

0 5 10 15

kd = coupon rate

kd ลดลงเหลือ 5 %

kd เพิ่มขึ้นเปน 15 %

7 - 27

อัตราผลตอบแทนที่ไดรับ

ถาถือพันธบัตรไวจนครบกําหนด

4. อัตราผลตอบแทนจากพันธบัตร4. อัตราผลตอบแทนจากพันธบัตร

7 - 29

ซื้อพันธบัตรมูลคาที่ตราไว (par value) 1,000 บาท

อัตราดอกเบี้ย 10 % อายุ 14 ป

ในราคา 1,494.93 บาท และถือไวจนครบกําหนด

อัตราผลตอบแทนจากการถือพันธบัตร

(YTM) ปละเทาไร

7 - 30

VB = INT (PVIFA kd , 14) + M (PVIF kd , 14)VB = INT (PVIFA kd , 14) + M (PVIF kd , 14)

1. ใชเครื่องคํานวณธรรมดา

VB = N INT + Mt = 1 (1 + kd) t (1 + kd) N∑

1,494.93 = + + … + +100

(1 + kd)

100

(1 + kd)2

100

(1 + kd)14

1,000

(1 + kd)14

7 - 31

Page 41: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

41

อัตราผลตอบแทนที่ไดรับ

เมื่อพันธบัตรถูกเรียกไถถอน

กอนครบกําหนด

7 - 34

VB = N 100 + Call Price

t = 1 (1 + kd) t (1 + kd) N∑

1,494.93 = N 100 + 1,100

t = 1 (1 + kd) t (1 + kd) N∑

1. ใชเครื่องคํานวณธรรมดา7 - 36

อัตราผลตอบ

แทนปจจุบัน

ดอกเบี้ยที่ไดรับราคาตลาดปจจุบัน

พันธบัตรจายดอกเบี้ยปละ 100 บาท

ราคาตลาดปจจุบัน 985 บาท

985Current Yield = = 10.15 %100

=

7 - 386.การประเมินความเสี่ยงของพันธบัตร6.การประเมินความเสี่ยงของพันธบัตร

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย

(Interest Rate Risk)ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย

(Interest Rate Risk)

ความเสี่ยงจากอัตรา

ผลตอบแทนที่ไปลงทุนตอความเสี่ยงจากอัตรา

ผลตอบแทนที่ไปลงทุนตอ

1. มีความสัมพันธกับมูลคา

(PRICE)ของพันธบัตร

1. มีความสัมพันธกับรายได

(INCOME)ของผูถือพันธบัตร

2. ผูถือพันธบัตรระยะยาว

จะประสบความเสี่ยงนี้

มากกวาผูถือพันธบัตร

ระยะสั้น

2. ผูถือพันธบัตรระยะสั้นจะประสบ

ความเสี่ยงนี้มากกวาผูถือพันธบัตร

ระยะยาว

(Reinvestment Rate Risk)

7 - 42

Page 42: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

42

การจัดอันดับพันธบัตรการจัดอันดับพันธบัตร

AAA AA A BBB

ลงทุนได

Investment Gradeลงทุนได

Investment Grade

พันธบัตรคุณภาพต่ํา

(Junk Bond)พันธบัตรคุณภาพต่ํา

(Junk Bond)

BB B CCC D

Ba B Caa CAaa Aa A Baa

S&P :

Moody ,s :

7 - 45 8 - 2

(Common Stock Valuation)

3. การประเมินมูลคาหุนสามัญ 3. การประเมินมูลคาหุนสามัญ

หุนสามัญ : ผูถือหุนสามัญมีฐานะเปนเจาของกิจการ

มีลักษณะสําคัญ 2 ประการ คือ

1. บริษัทจะจายเงินปนผลใหผูถือหุนสามัญเมื่อมีกําไร

2. ถาผูถือหุนสามัญขายหุนไดราคาสูงกวาราคาที่ซื้อมา

เรียกวา กําไรสวนทุน (capital gain) ถาขายไดต่ํากวา

เรียกวา capital loss

8 - 7

Dt = เงินปนผลที่ คาดวาจะไดรับในป t

P0 = ราคาตลาดของหุนสามัญใน ปจจุบัน

P̂t = ราคาตลาดของหุนสามัญที่ คาดไวปลายป t

P̂0 = ราคาหุนสามัญที่ ควรจะเปน หรือราคา

ตามทฤษฎี

D0 = เงินปนผล ปปจจุบัน

8 - 8

Page 43: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

43

g = อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินปนผลที่คาดไว

^P0 = P0 ถาตลาดหลักทรัพยอยูในดุลยภาพ

kS = อัตราผลตอบแทนที่ตองการ

kS = อัตราผลตอบแทนที่ไดรับจริง

kS = อัตราผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับ ^

^(ซึ่งอาจจะ มากกวาหรือนอยกวา kS หรือ kS)

8 - 9

D1 = อัตราเงินปนผลที่คาดวาจะไดรับในป

ถัดไป (expected dividend yield)

P1 - P0 = อัตรากําไรที่คาดวาจะไดรับจากการ

ขายหุนสามัญในปถัดไป

(expected capital gains yield)

P0

^

P0

8 - 10

ดังนั้นผลตอบแทนที่คาดวาจะไดัรับจาก

หุนสามัญจึงมีสวนประกอบ 2 สวน คือ

(1) ผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับจากเงินปนผล

(2) กําไรที่คาดวาจะไดรับจากการขายหุนสามัญ

Expected total return : kS = +D1 P1 - P0

P0 P0

^^

8 - 11

นายกนกซื้อหุนสามัญราคาหุนละ 20 บาท

(P0) คาดวาจะไดรับเงินปนผล (D1) หุนละ 1.50 บาท

และถือหุนไว 1 ป คาดวาขายได (P1) 20.20 บาท

ผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับเทากับเทาไร

kS = +D1 P1 - P0

P0 P0

^ ^= +1.50 20.20 - 20

20 20

= 8. 5 %

8 - 12

^

Page 44: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

44

การประเมินมูลคาหุนสามัญโดยใชเงินปนผลเปนเกณฑการประเมินมูลคาหุนสามัญโดยใชเงินปนผลเปนเกณฑ

ผูลงทุนที่ซื้อหุนสามัญแลวถือไวตลอดไป

ผลประโยชนที่ไดรับ คือ เงินปนผล

มูลคาของ

หุนสามัญ

ผลรวมคาปจจุบัน

ของเงินปนผล

ที่ไดรับในอนาคต

8 - 13

P0 = + + ……... + ^ D1 D2 D

(1 + kS)1 (1 + kS)2 (1 + kS)

^P0 = Dt

t = 1 (1 + kS)tΣ∝

∝∝

8 - 14

4. มูลคาหุนสามัญตามทฤษฎี

กรณีที่อัตราเงินปนผลเพิ่มขึ้นคงที่4. มูลคาหุนสามัญตามทฤษฎี

กรณีที่อัตราเงินปนผลเพิ่มขึ้นคงที่

P̂0 =D0(1 + g)kS - g

P̂0 =D1

kS - g

8 - 15

สูตรนี้สําคัญตองนําไปใชอีก

normal

Growth , 8 %

normal

Growth , 8 %

zero

Growth , 0 %

Declining

Growth , - 8 %

Dividend

1.15

0 1 2 3 4 5 Years

End of Supernormal

Growth Period Supernormal

Growth , 30 %

อัตราการเจริญเติบโตของเงินปนผล 8 - 21

Page 45: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

45

9 - 2 หมายถึง เงินทุนจากแหลงเงินทุนระยะยาว

ไดแก หนี้สินระยะยาว หุนบุริมสิทธิ์

หุนสามัญ และกําไรสะสม

1. ตนทุนของเงินทุนนี้จะใชเปนอัตราสวนลด

(discount rate) ในเรื่อง “งบลงทุน”2. ใชเพื่อเปรียบเทียบในการ

ตัดสินใจจัดหาแหลงเงินทุนตาง ๆ

9 - 6

1. เหตุผลในการใชตนทุนของเงินทุนถัวเฉลี่ย1. เหตุผลในการใชตนทุนของเงินทุนถัวเฉลี่ย

เนื่องจากธุรกิจจัดหาเงินทุนมาจากแหลงตาง ๆ

ที่มีตนทุนไมเทากัน จึงตองใชตนทุนถัวเฉลี่ยถวง

น้ําหนักของเงินทุนจากแหลงเงินทุนตาง ๆ ที่จัดหามา

โดยไมตองสนใจวาโครงการลงทุนใด

จะใชเงินทุนจากแหลงใดโดยเฉพาะ

9 - 7

2. คําจาํกัดความ2. คําจาํกัดความ

องคประกอบของเงินทุน (Capital Components) :

คือ รายการดานขวาของงบดุล

ตนทุนของเงินทุนแตละแหลง

เรียกวา component cost

9 - 8

Page 46: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

46

kd = อัตราดอกเบี้ยของหนี้สินใหม

(ตนทุนของหนี้สินกอนภาษี)

kd (1 - T) = ตนทุนของหนี้สินหลังภาษี

kP = ตนทุนของหุนบุริมสิทธิ์

kS = ตนทุนสวนของผูเปนเจาของ มี 2 แหลง

แหลงภายใน คือ กําไรสะสม

แหลงภายนอก เชน ออกหุนสามัญจําหนาย

สัญลักษณที่ใช

9 - 9

WACC = ตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของเงินทุน

(Weighted Average Cost of Capital)

ถา WACC ต่ําสุด มูลคาของกิจการ

(ราคาหุนสามัญ) จะสูงสุด

9 - 10

3. ตนทุนของหนี้สิน : kd(1 - T)3. ตนทุนของหนี้สิน : kd(1 - T)

ตนทุนของหนี้สินหลังภาษี = อัตราดอกเบี้ย - ภาษีที่ประหยัดไดตนทุนของหนี้สินหลังภาษี = อัตราดอกเบี้ย - ภาษีที่ประหยัดได

= kd(1 - T)= kd(1 - T)

= kd - kdT

9 - 11

4. ตนทุนของหุนบุริมสิทธิ์ : kP4. ตนทุนของหุนบุริมสิทธิ์ : kP

DPPP

kP =

9 - 13

Page 47: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

47

5. ตนทุนของกําไรสะสม : kS5. ตนทุนของกําไรสะสม : kS

เงินทุนจากผูถือหุนสามัญไดมาจาก 2 แหลง

1. กําไรสะสม

2. การออกหุนสามัญจําหนายเพิ่ม ซึ่งจะมี

ตนทุนสูงกวากําไรสะสม เพราะตองเสีย

คาใชจายในการจัดจําหนาย

9 - 15

เปนตนทุนเสียโอกาส (opportunity cost)

ของผูถือหุนสามัญ เพราะผูถือหุนควรจะไดรับ

เงินปนผลแตไมไดรับ เนื่องจากบริษัทนําเงินกําไร

ที่ทํามาหาไดไปลงทุนขยายกิจการ

ตนทุนของกําไรสะสม = อัตราผลตอบแทน

ที่ผูถือหุนสามัญตองการ = kS

9 - 16

การคํานวณตนทุนของกําไรสะสมการคํานวณตนทุนของกําไรสะสม

มี 3 วิธี คือ

วิธีที่ 1. ใช Capital Asset Pricing Model : CAPM

kS = kRF + ( kM - kRF ) bikS = kRF + ( kM - kRF ) bi

9 - 17

วิธีที่ 2. อัตราผลตอบแทนจากพันธบัตรบวก Risk Premium

ตัวอยาง บริษัทที่มีฐานะดีอัตราผลตอบแทนจาก

พันธบัตร (bond yield) 8 % risk premium 4 %

kS = 8 % + 4 % = 12 %

ตรงขัาม บริษัทที่มีความเสี่ยงสูงกวามี bond

yield สูงถึง 12 % : kS = 12 + 4 = 16 %

kS = Bond Yield + Risk PremiumkS = Bond Yield + Risk Premium

9 - 19

Page 48: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

48

วิธีที่ 3. Dividend Yield บวก Growth Rate

หรือ Discounted Cash Flow

จากสมการ P0 = D1

kS - g

D1kS = + g P0

^

9 - 20

ทั้ง 3 วิธีคํานวณ kS ไมเทากัน คือ

วิธีที่ 1 = 11.5 %

วิธีที่ 2 = 12.0 %

วิธีที่ 3 = 13.4 %

จะใชวิธีใดขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูบริหาร

ผูบริหารที่ conservative จะใช 13.4 %

หรืออาจใชตนทุนทั้ง 3 วิธีถัวเฉลี่ยกัน

9 - 24

6. ตนทุนของหุนสามัญที่ออกใหม : ke6. ตนทุนของหุนสามัญที่ออกใหม : ke

ke จะสูงกวา kS เพราะการออกหุนใหมจําหนาย

ตองเสียคาใชจายในการขายหุนD1

P0 (1 - F)

F = คาใชจายในการขายหุน

P0 (1 - F) = ราคาขายสุทธิ

ke = + g

9 - 25

7. ตนทุนของเงินทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก

(Weighted Average Cost of Capital : WACC)7. ตนทุนของเงินทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก

(Weighted Average Cost of Capital : WACC)

WACC = wdkd(1 - T) + wPkP + wckS

w = สัดสวนของเงินทุนแตละประเภท

9 - 28

Page 49: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

49

8. ปจจัยที่มีผลกระทบตอตนทุนของเงินทุนถัวเฉลี่ย8. ปจจัยที่มีผลกระทบตอตนทุนของเงินทุนถัวเฉลี่ย

ปจจัยที่

ควบคุมไมไดปจจัยที่

ควบคุมไมได

ปจจัยที่

ควบคุมไดปจจัยที่

ควบคุมได

ระดับอัตราดอกเบี้ยระดับอัตราดอกเบี้ย

อัตราภาษีอัตราภาษี

นโยบายโครงสรางของเงินทุนนโยบายโครงสรางของเงินทุน

นโยบายเงินปนผลนโยบายเงินปนผล

นโยบายการลงทุนนโยบายการลงทุน

9 - 30

9. การปรับตนทุนของเงินทุนใหเหมาะสมกับความเสี่ยง

(Adjusting the Cost of Capital for Risk)9. การปรับตนทุนของเงินทุนใหเหมาะสมกับความเสี่ยง

(Adjusting the Cost of Capital for Risk)

9 - 31

การยอมรับโครงการลงทุนนั้น โครงการที่มี

ความเสี่ยงสูงยอมตองการผลตอบแทนจากการลงทุนสูง

การชดเชยความเสี่ยง

จึงตองปรับตนทุนของเงินทุนใหสูงขึ้น

10 - 2

2. แนวความคิดที่ทําใหเกิดโครงการลงทุน2. แนวความคิดที่ทําใหเกิดโครงการลงทุน

การเติบโตของกิจการ

ความสามารถในการแขงขัน

การคิดคนผลิตภัณฑชนิดใหม

การปรับปรุงผลิตภัณฑเดิมใหมีคุณภาพดีขึ้น

การดําเนินงานที่ทําใหตนทุนลดลง

10 - 9

Page 50: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

50

3. การจําแนกโครงการลงทุน3. การจําแนกโครงการลงทุน

1. โครงการใหมทดแทนโครงการเกาที่หมดอายุ

2. โครงการใหมทดแทนโครงการเกาเพื่อลดตนทุน

3. โครงการขยายผลิตภัณฑเดิม

4. โครงการผลิตภัณฑใหม

5. โครงการเพื่อความปลอดภัยและรักษาสิ่งแวดลอม

6. โครงการอื่น ๆ

10 - 11

5. วิธีการประเมินโครงการลงทุน5. วิธีการประเมินโครงการลงทุน

5.1 ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period : PB)

5.2 ระยะเวลาคืนทุนโดยคํานึงถึงมูลคาปจจุบัน

(Discounted Payback Period : DPB)

5.3 มูลคาปจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV)

10 - 13

5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ

(Internal Rate of Return : IRR)

5.5 อัตราผลตอบแทนของโครงการที่

ปรับปรุงใหม (Modified Internal

Rate of Return : MIRR)

10 - 145.3 มูลคาปจจุบันสุทธิ ( NPV )5.3 มูลคาปจจุบันสุทธิ ( NPV )

การประเมินโครงการวิธีนี้จะคิดมูลคาปจจุบันของ

กระแสเงินสดรับและกระแสเงินสดจายเปรียบเทียบกนั

NPV = PV กระแสเงนิสดรับ - PV กระแสเงินสดจาย

= CF1 CF2 CFnCF0 + + + …… +( 1 + k )1 ( 1 + k )2 ( 1 + k )n

= CFt

n

t = 0 ( 1 + k )n∑

10 - 27

Page 51: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

51

CF0 = เงินลงทุนเริ่มแรก

CFt = กระแสเงินสดสุทธิป t

k = ตนทุนของเงินทุนของโครงการ

10 - 28

5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ ( IRR )5.4 อัตราผลตอบแทนของโครงการ ( IRR )

การประเมินโครงการวิธีนี้จะหาอัตรา

สวนลด ( discount rate ) ที่ทําให

ผลรวมมูลคาปจจุบันของกระแสเงินสด

ในอนาคตเทากับเงินลงทุนเริ่มแรก

(คือ อัตราสวนลดที่ NPV เทากับ 0)

10 - 34

CF0 = + + ………… +( 1 + IRR )1 ( 1 + IRR )2 ( 1 + IRR )n

CF1 CF2 CFn

( 1 + IRR )1 ( 1 + IRR )2 ( 1 + IRR )3 ( 1 + IRR )41,000 = + + +500 400 300 100

10 - 35

0 1 2 3 4

- 1,000 500 400 300 100

1,000

CF

NPV

ผลรวม PV

0

CF1-4

IRR

IRR S = 14.5 %

10 - 36

Page 52: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

52

เกณฑในการตัดสินใจ

1. IRR ของโครงการ คือ อัตราผลตอบแทน

ที่คาดวาจะไดรับจากโครงการนั้น

2. โครงการที่ให IRR = ตนทุนของเงินทุน

โครงการนั้นใหอัตราผลตอบแทน

เทากับตนทุนของเงินทุนดวย

10 - 38

4. จะเลือกโครงการที่ให IRR > ตนทุนของเงินทุน

ปฏิเสธโครงการที่ให IRR < ตนทุนของเงินทุน

5. กรณีที่เปนโครงการที่ทดแทนกันได จะเลือกลงทุน

โครงการทีใ่ห IRR สูงกวา

3. โครงการที่ให IRR > ตนทุนของเงินทุน โครงการ

นั้นใหอัตราผลตอบแทนมากกวาตนทุนของเงินทุน

กรณีโครงการ S และโครงการ L : รับโครงการ S

10 - 39

บางครั้งในโครงการเดียวอาจมีคา IRR

หลายอัตรา เนื่องจากกระแสเงินสด

ผิดปกติ กรณีเชนนี้ควรใชวิธี

NPV หรือ MIRR มาเปนเกณฑ

ในการประเมินโครงการแทน IRR

10 - 53โครงการลงทุนทําเหมืองแร 1.6 ลานบาท ปที่ 1

มีกระแสเงินสดสุทธิ 10 ลานบาท ปที่ 2 จางถมดิน

จายเงิน 10 ลานบาท ตนทุนของเงินทุน 10 %0 1 2

- 1010- 1.6

CFj CFj CFj i EXE

= - 0.7736 ลานบาท

- 1010- 1.6

NPV

10

10 - 54

Page 53: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

53

100 200 300 400 500

IRR1 = 25 %

Cost of Capital ( % )

NPV

( Millions of Baths )

- 1.5

- 1.0

0

- 0.5

0.51.0

1.5

IRR2 = 400 %

NPV = - 1.5 + -10 10

( 1 + k ) ( 1 + k )2

NPV = 0

IRR = 25% และ 400%

10 - 55

7. วิธีอัตราผลตอบแทนของโครงการที่ปรับปรุงใหม7. วิธีอัตราผลตอบแทนของโครงการที่ปรับปรุงใหม

1. วิธีนี้สมมติวานําเงินสดที่ไดรับในป

แรก ๆ ไปลงทุนจนถึงปสุดทายของ

โครงการโดยไดรับผลตอบแทนเทากับ

ตนทุนของเงินทุน (Cost of Capital)

( Modified Internal Rate of Return : MIRR )

10 - 59

2. นําผลที่คํานวณไดตามขอ 1 มารวมกัน

เปนมูลคา ณ ปสุดทายของโครงการ

( Terminal Value : TV )

3. หาอัตราสวนลดที่ทําให TV

เทากับเงนิลงทุนเริ่มแรกพอดี

ซึ่งก็คือ MIRR นั่นเอง

10 - 60

0 1 2 3 4

Cash Flows - 1,000 500 400 300 100330

484

665.50

1,579.50

k = 10 %

k = 10 %

k = 10 %

PV of TV 1,000

NPV = 0

MIRR = 12.1 %Terminal Value (TV)

10 - 61

Page 54: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

54

1. โครงสรางของเงินทุนเปาหมาย

2. ธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงิน

3. การกําหนดโครงสรางของเงินทุนที่เหมาะสม

4. ทฤษฎีโครงสรางของเงินทุน

5. ขอควรพิจารณาประกอบการตัดสินใจ

เกี่ยวกับโครงสรางของเงินทุน6. โครงสรางของเงินทุนที่แตกตางกัน

13 - 3

การผสมผสานการใชเงินทุนระหวางหนี้สิน

หุนบุริมสิทธิ์ และหุนสามัญที่กิจการกําหนด

เปาหมายไวเพื่อการจัดหาเงินทุนในอนาคต

1. โครงสรางของเงินทุนเปาหมาย1. โครงสรางของเงินทุนเปาหมาย

คือคือ

13 - 4

โครงสรางของเงินทุน ( การผสมผสานการใช

เงินทุนจากหนี้สิน หุนบุริมสิทธิ์ และหุน

สามัญ ) ซึ่งทําใหราคาหุนสามัญ (P0) สูงสดุ

โดยการแลกเปลี่ยนชดเชย (trade off)

ระหวาง E (ROE) และ EPS ที่สูงขึ้น

พรอมกับความเสี่ยง (risk) ที่สูงขึ้นดวย

13 - 5

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเรื่องโครงสรางของเงินทุนปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเรื่องโครงสรางของเงินทุนปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเรื่องโครงสรางของเงินทุน

1. ความเสี่ยงทางธุรกิจ

2. ภาษีของธุรกิจ

3. ความยืดหยุนในการจัดหาเงินทุน

4. ผูบริหารถือหลัก ความปลอดภัยกลาไดกลาเสีย

13 - 6

Page 55: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

55

2. ธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงิน2. ธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงิน

1. ความเสี่ยงทางธุรกิจ

2. Operating Leverage

3. ความเสี่ยงทางการเงิน

13 - 7

ความไมแนนอนของผลตอบแทนจากเงินทุนที่ใช

ลงทุนทั้งหมด ( Return on Invested Capital

“ ROIC ” ) ถากิจการไมมีหนี้สิน

Capital = หนี้สิน + สวนของผูเปนเจาของ

ROIC กรณีไมมีหุนบรุมิสิทธิ์ คํานวณไดดังนี้

ROIC = NOPAT = NI to common

stockholders +After-tax

interest paymentsCapital Capital

( 1 ) ความเสีย่งทางธุรกิจ (Business Risk)( 1 ) ( 1 ) ความเสีย่งทางธุรกิจความเสีย่งทางธุรกิจ ( (Business Risk)Business Risk)

คือคือ

13 - 8

ROIC = ROE = NI to common stockholders

Common equity

กรณีที่ไมมีหนีส้ินความเสี่ยงทางธุรกิจ

วัดดวยสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐานของ ROE

13 - 9

กรณีไมมีหนี้สิน ROE = ROICกรณีไมมีหนี้สิน ROE = ROICปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอความเสี่ยงทางธุรกิจปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลตอความเสี่ยงทางธุรกิจ

1. ความผันผวนของความตองการสินคา (ยอดขาย)2. ความผันผวนของราคาขาย3. ความผันผวนของราคาปจจัยในการผลิต

4. ความสามารถในการปรับราคาขายสินคา

เมื่อราคาปจจัยในการผลิตเปลี่ยนแปลงไป

5. ความสามารถในการพัฒนาผลิตภัณฑใหมโดยตนทุนไมสูง

6. ความเสี่ยงที่เกิดจากการคาขายกับตางประเทศ

7. ตนทุนคงที่ของกิจการ

13 - 12

Page 56: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

56

( 2 ) Operating leverage ( 2 ) Operating leverage ( 2 ) Operating leverage

Operating leverage คอื ตนทุนคงที่ซึ่งเกิดขึ้น

ในการดําเนินธุรกิจ

ถาตนทุนทั้งสิ้นเปนตนทุนคงที่ เมื่อความตองการ

สินคาลดลงตนทุนคงที่จะไมลดลงดวย ทําให

กําไรจากการดําเนินงานและผลตอบแทน

สวนของผูเปนเจาของลดลง

13 - 13

QBE FQBE F=P - V

สูตร

13 - 15

ปริมาณ Output ซึ่งทาํให ROE = 0

หรือ EBIT = 0

EBIT = PQ - VQ - F = 0

13 - 17

โครงการ Aโครงการโครงการ A A โครงการ Bโครงการโครงการ B B

Sales

Rev.

TC

FC

Sales

Rev.

TCFC

Profit

พันบาท พันบาท

Loss

(พันหนวย)

00

(พันหนวย)EBIT = 0 EBIT = 0

40 60

( 3 ) โครงสรางของเงินทุนที่เหมาะสม (( 33 )) โครงสรางของเงินทุนที่เหมาะสมโครงสรางของเงินทุนที่เหมาะสม

คือ

โครงสรางของเงินทุนที่ WACC ต่ําสุด ซึ่งเปน

โครงสรางของเงินทุนที่ราคาหุนสามัญ P0 สูงสุดดวย

การคํานวณโครงสรางของเงินทุนที่เหมาะสมจึงคํานวณ

โครงสรางของเงินทุนที่ WACC ต่ําสุด เพราะงายกวา

13 - 57

Page 57: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

57

1. ผลของภาษี

2. ผลกระทบจากตนทุนลมละลาย

4. ทฤษฎีสัญญาณ

5. การใชหนี้สินในโครงสรางของเงินทุน

ของผูบริหารมีขีดจํากัด

3. ทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชย

4. ทฤษฎีโครงสรางของเงินทุน4. ทฤษฎีโครงสรางของเงินทุน13 - 65

1. ไมมีคานายหนาในการซื้อขายหลักทรัพย

2. ไมมีคาภาษี

3. ไมมีตนทุนลมละลาย

4. ผูลงทุนสามารถกูเงินไดในอัตรา

ดอกเบี้ยเทากับกิจการ

5. ผูลงทุนมีขอมูลเกี่ยวกับการลงทุน

ในอนาคตของกิจการ

6. การใชหนี้สินไมมีผลกระทบตอ EBIT

โครงสรางของเงินทุน

ไมมีผลกระทบตอ

มูลคาของกิจการ

จึงใชเงินทุนจาก

แหลงใดก็ได

ขอสมมติ

ทฤษฎีโครงสรางของเงินทุน ของ M & M ทฤษฎีโครงสรางของเงินทุนทฤษฎีโครงสรางของเงินทุน ของของ M M & M & M 13 - 66

ราคาหุนสามัญ

(บาท)

0 D1 D2Leverage ( D/A )

20ราคาหุน

คงที่

13 - 67( 1 ) ผลของภาษี( 1 ) ผลของภาษี

กิจการจึงควรจัดหาเงินทุนจากหนี้สิน 100%กิจการจึงควรจัดหาเงินทุนจากหนี้สิน 100%

M&M ยกเวนขอสมมติ ขอ 2 ไมมีภาษีM&M ยกเวนขอสมมติ ขอ 2 ไมมีภาษี

ดอกเบี้ยจายหักเปนคาใชจายกอน

คํานวณภาษีเงินไดทําใหประหยัดภาษีดอกเบี้ยจายหักเปนคาใชจายกอน

คํานวณภาษีเงินไดทําใหประหยัดภาษี

13 - 68

Page 58: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

58

0 D1 D2Leverage ( D/A )

20

ราคาหุนสามัญ

(บาท)ราคาหุนเพิ่มขึ้น

13 - 69

( 2 ) ผลกระทบจากตนทุนลมละลาย(( 22 )) ผลกระทบจากตนทุนลมละลายผลกระทบจากตนทุนลมละลาย

ในทางปฏิบัติถากิจการมีหนี้สินสูงตนทุนลมละลาย

จะสูงขึ้นดวยในทางปฏิบัติถากิจการมีหนี้สินสูงตนทุนลมละลาย

จะสูงขึ้นดวย

ยกเวนขอสมมติขอ 3 ไมมตีนทุนลมละลายยกเวนขอสมมติขอ 3 ไมมตีนทุนลมละลาย

13 - 70

13 - 71

ผลกระทบจากตนทุนลมละลายที่มีตอราคาหุนสามัญผลกระทบจากตนทุนลมละลายที่มีตอราคาหุนสามัญ

ราคาหุนสามัญ

(บาท)

0 D1 D2 Leverage ( D/A )

20

ราคาหุนลดลง

ผลของภาษีและตนทุนลมละลายที่มีตอราคาหุนสามัญผลของภาษีและตนทุนลมละลายที่มีตอราคาหุนสามัญ

13 - 72

0 D1D2 Leverage ( D/A )

20

ราคาหุนสามัญ

(บาท)

ราคาหุน

Page 59: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

59

( 3 ) ทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชย (Trade - Off Theory)( 3 ) ทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชย (Trade - Off Theory)

เกิดขึ้นใหม เกิดขึ้นใหม

แลกเปลี่ยนชดเชย

ธุรกิจธุรกิจอัตราดอกเบี้ยและตนทุน

ลมละลายที่สูงขึ้นอัตราดอกเบี้ยและตนทุน

ลมละลายที่สูงขึ้น

ประโยชนที่ไดรับจากการ

ใชหนี้สิน ( ดอกเบี้ยจาย

ทําใหประหยัดภาษี )

ประโยชนที่ไดรับจากการ

ใชหนี้สิน ( ดอกเบี้ยจาย

ทําใหประหยัดภาษี )แสดงรูปหนาถัดไป

13 - 73

0 D1 D2Leverage ( D/A )

20

ราคาหุนสามัญ (บาท)

ยังไมมีตนทุนลมละลาย

โครงสรางของเงินทุนที่ เหมาะสม

ราคาหุนจริง

ราคาหุน ( D/A = 0 )

ตนทุนลมละลายทําใหราคาหุนลดลง ( - )

M&M ( ยกเวนขอสมมติขอ 2 )ประโยชนของภาษีทําใหราคาหุนสูงขึ้นและยังไมมีตนทุนลมละลาย

ประโยชนของภาษีราคาหุนสูงขึ้น (+)

13 - 74

การใชหนี้สินจะมีตนทุนลมละลายทําใหราคาหุนลดลง

ในชวงแรกตนทุนลมละลายจะต่ําหรือแทบไมมี เมื่อ D/A

ถึง D1 ประโยชนดานภาษียังมากกวาตนทุนลมละลายที่

สูงขึ้น ทําใหราคาหุนจึงยังสูงขึ้นในอัตราลดลง เมื่อ D/A

ถึง D2 ตนทุนลมละลายสูงกวาประโยชนดานภาษีราคาหุน

จะลดลง D2 จึงเปนโครงสรางของเงินทุนที่เหมาะสม

การใชหนี้สินไดประโยชนดานภาษี ทฤษฎี M&M

ราคาหุนจะสูงขึ้นและสูงสุดเมื่อใชหนี้สิน 100 %

คําอธิบายภาพทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชยคําอธิบายภาพทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชย13 - 75

ทฤษฎีนี้มีเหตุผล แตเปนเพียงการคาดคะเนเทานั้น

ไมไดกลาวถึงเรื่องโครงสรางของเงินทุนทั้งหมด

ปญหาที่สาํคญั คือ สมมติวาผูลงทุนมีขอมูล

ขาวสาร

เชนเดียวกับผูบริหาร

สมมติวาผูลงทุนมีขอมูล

ขาวสาร

เชนเดียวกับผูบริหาร

คําอธิบายภาพทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชย (ตอ)คําอธิบายภาพทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชย (ตอ)

13 - 76

Page 60: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

60

พัฒนาตอจากทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชยพัฒนาตอจากทฤษฎีแลกเปลี่ยนชดเชย

( 4 ) ( 4 ) ทฤษฎีสัญญาณทฤษฎีสัญญาณ ( (Signaling Theory)Signaling Theory)

ความจริงผูบริหารมีขอมูลมากกวาผูลงทุน ความจริงผูบริหารมีขอมูลมากกวาผูลงทุน

ยกเวนขอสมมติขอ 5 ผูลงทุนมีขอมูลเกี่ยวกับอนาคต

ของกิจการเทากับผูบริหาร (Symmetric information)ยกเวนขอสมมติขอ 5 ผูลงทุนมีขอมูลเกี่ยวกับอนาคต

ของกิจการเทากับผูบริหาร (Symmetric information)

13 - 77

การที่ผูบริหารมีขอมูลดีกวาผูลงทุนแสดงสัญญาณอะไรการที่ผูบริหารมีขอมูลดีกวาผูลงทุนแสดงสัญญาณอะไรการที่ผูบริหารมีขอมูลดีกวาผูลงทุนแสดงสัญญาณอะไร

การจัดหา

เงินทุนเพิ่ม

สัญญาณ (Negative)

คาดคะเนวาอนาคตไมดี

ออกหุนสามัญใหม

เพื่อใหผูลงทุนรายใหม

รวมรับผลขาดทุนดวย

13 - 78

สัญญาณ (Positive)

คาดคะเนวาอนาคตดี

จะใชหนี้สินเพราะ

ไมตองแบงผลกําไร

ใหผูลงทุนรายใหม

กิจการควรใชหนี้สินระดับต่ํากวา

ที่ M&M เสนอแนะโดยสํารอง

ความสามารถในการกูเงินไว

กิจการควรใชหนี้สินระดับต่ํากวา

ที่ M&M เสนอแนะโดยสํารอง

ความสามารถในการกูเงินไว

ทฤษฎี

สัญญาณทฤษฎี

สัญญาณ เสนอแนะ เสนอแนะ

ถากิจการมีโครงการลงทุนที่ดีและไมตองการออก

หุนสามัญจําหนาย ( เนื่องจากผลกระทบจาก

ทฤษฎีสัญญาณจะทําใหราคาหุนสามัญต่ําลง )

ก็สามารถจัดหาเงินทุนจากหนี้สินได

ถากิจการมีโครงการลงทุนที่ดีและไมตองการออก

หุนสามัญจําหนาย ( เนื่องจากผลกระทบจาก

ทฤษฎีสัญญาณจะทําใหราคาหุนสามัญต่ําลง )

ก็สามารถจัดหาเงินทุนจากหนี้สินได

เพราะ

13 - 79

ทฤษฎีสัญญาณมีผลกระทบตอโครงสรางของเงินทุนทฤษฎีสัญญาณมีผลกระทบตอโครงสรางของเงินทุน

ตอบ ขอสมมติ

13 - 80

ผูบริหารมีขอมูลเกี่ยวกับกิจการใน

อนาคตมากกวาผูลงทุนภายนอกการตัดสินใจของผูบริหารจะคํานึงถึง

ประโยชนที่ ผูถือหุนปจจุบัน จะไดรับ

Page 61: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

61

บทที่ 14การแบงผลประโยชนใหผูถือหุน : เงินปนผลและการซื้อหุนคนืมา

1. ผูถือหุนตองการเงินปนผลกับกําไรสวนทุน

2. ประเด็นนโยบายเงินปนผลอื่น ๆ

3. เงินปนผลสม่ําเสมอ

4. การกําหนดนโยบายเงนิปนผลในทางปฏิบัติ

5. การนําเงินปนผลที่ไดรับมาลงทุนใหม

14 - 3

การตัดสินใจจายผลกําไรแกผูถือหุนหรือ

นํามาลงทุนตอในสินทรัพยตางๆ

กรณีจายเงินปนผลแกผุถือหุนตองพิจารณาดังนี้

1. จายมากหรือนอย

2. จายสม่ําเสมอ หรือไมสม่ําเสมอ

3. จายบอยแคใหน

4. จะประกาศนโยบายนี้อยางไร

นโยบายเงินปนผล ( Dividend Policy )นโยบายเงินปนผล ( Dividend Policy )

คือคือ

14 - 5

1. ผูถือหุนตองการเงินปนผลหรือกําไรสวนทุน1. ผูถือหุนตองการเงินปนผลหรือกําไรสวนทุน

14 - 6

ของธุรกิจ คือ ทําใหผูถือหุนมีความมั่งคั่งสูงสุด

การจายเงินปนผลเทาไร ตองระลึกวาเปาหมาย

D1

kS - g =P0

^

อัตรารอยละของกําไรสุทธิที่จายเปนเงินสดปนผล

1. ใหบริษัทจายเงินสดปนผล

2. ใหบริษัทซื้อหุนคืนมา หรือ ลงทุนขยายกิจการ

เพื่อใหไดรับกําไรสวนทุน

ผูลงทุนชอบอะไร

14 - 7

Page 62: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

62

นโยบายเงินปนผลที่เหมาะสม นโยบายเงินปนผลที่เหมาะสม

หมายถึงหมายถึงความสมดุลระหวาง

การจายเงินปนผล

ในปจจุบันการจายเงินปนผล

ในปจจุบัน

อัตราการเจริญเติบโต

ของบริษัทในอนาคตอัตราการเจริญเติบโต

ของบริษัทในอนาคตราคาหุนสามัญ

สูงสุด

ผล

14 - 8

1. Dividend Irrelevance

ผูลงทุนไมสนใจวาจะจายเงินปนผลเทาไร

2. Bird - in - the - Hand :

ผูลงทุนชอบอัตราการจายเงินปนผลสูง

3. Tax Preference :

ผูลงทุนชอบอัตราเงินปนผลต่ําแตชอบกําไรสวนทุน

ผูลงทุนชอบอัตราการจายเงินปนผลสูงหรือต่ํา มี 3 ทฤษฎี

14 - 9

1. Irrelevance

2. Bird - in - the - Hand

3. Tax Preference

ทฤษฎีทฤษฎี การนําไปใชจะกําหนดการนําไปใชจะกําหนด

อัตราเงินปนผลเทาไหรก็ได

อัตราเงินปนผลสูง

อัตราเงินปนผลต่ํา

การใชทฤษฎีทั้ง 3 ของผูบริหาร การใชทฤษฎีทั้ง 3 ของผูบริหาร

14 - 15

การแบงหุน การเพิ่มจํานวนหุนที่อยูในมือบุคคลภายนอก

เชน 2 : 1 ทําใหผูถือหุนมีจํานวนหุนมากขึ้น

หุนปนผล การที่ธุรกิจออกหุนใหมเพื่อจายปนผลแทน

เงินสด เชน จายหุนปนผล 10 % ผูถือหุน

100 หุน จะไดรับหุนปนผล 10 หุน

8. หุนปนผลและการแบงหุน8. หุนปนผลและการแบงหุน

14 - 45

Page 63: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

63

การแบงหุน (Stock Splits) บริษัทจะใชการแบงหุนเพื่อลดราคาตลาดของหุนลง

จํานวนหุนที่อยูในมือ

บุคคลภายนอกเพิ่มขึ้น แตราคา

ตามมูลคาของหุนลดลงเปน

สัดสวนกัน จึงไมกระทบตอ

สวนของผูถือหุน

Ice Cream Parlor

Banana Splits

On Sale Now

15 - 2

16 - 2

1. นโยบายการจัดหาเงินเพื่อลงทุนในสินทรัพยหมุนเวียน1. นโยบายการจัดหาเงินเพื่อลงทุนในสินทรัพยหมุนเวียน

สินทรัพยหมุนเวียนขั้นต่ํา

ที่ธุรกิจมีไวเพื่อการ

ดําเนินงานตามปกติ

สินทรัพยหมุนเวียนที่ตองการ

เพิ่มขึ้นเปนการชั่วคราว

เนื่องจากยอดขายเพิ่มขึ้น

Permanent Current AssetsPermanent Current Assets VS Temporary Current AssetsTemporary Current Assets

16 - 4

Page 64: บรรยายสรุป BALANCE SHEET BM 602 การจัดการการเง … · บรรยายสรุป bm 602 การจัดการการเง

64

3. Conservative

Approach3. Conservative

Approach

3 แบบ3 แบบ

1. Maturity Matching

(Self - Liquidating)

Approach

1. Maturity Matching

(Self - Liquidating)

Approach

16 - 5

2. Relatively Aggressive

Approach

บาท

0ป

สินทรัพยถาวร

สินทรัพยหมุนเวียน

ที่ตองการเพิ่มขึ้นชั่วคราว

สินทรัพยหมุนเวยีนขั้นต่ํา

หนี้สินหมุนเวยีนไมรวมหนี้สิน

ที่เกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ

หนี้สินระยะยาว + สวนของ

ผูเปนเจาของ + หนี้สิน

หมุนเวยีนที่เกิดขึ้นเอง

โดยอัตโนมัติ

สินทรัพย

ที่ตองการ

ใชในการ

ดําเนิน

งานขั้นต่ํา

16 - 6

บาท

0ป

สินทรัพยถาวร

สินทรัพยหมุนเวียน

ที่ตองการเพิ่มขึ้นชั่วคราว

สินทรัพยหมุนเวยีนขั้นต่ํา

หนี้สินหมุนเวยีนไมรวมหนี้สิน

ที่เกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ

หนี้สินระยะยาว + สวนของ

ผูเปนเจาของ + หนี้สิน

หมุนเวยีนที่เกิดขึ้นเอง

โดยอัตโนมัติ

สินทรัพย

ที่ตองการ

ใชในการ

ดําเนิน

งานขั้นต่ํา

16 - 7

บาท

0ป

สินทรัพยถาวร

หลักทรัพย

เงินลงทุนชั่วคราว

สินทรัพยหมุนเวยีนขั้นต่ํา

หนี้สินหมุนเวยีนไมรวมหนี้สิน

ที่เกิดขึ้นเองโดยอัตโนมัติ

หนี้สินระยะยาว + สวนของ

ผูเปนเจาของ + หนี้สิน

หมุนเวยีนที่เกิดขึ้นเอง

โดยอัตโนมัติ

สินทรัพย

ที่ตองการ

ใชในการ

ดําเนิน

งานขั้นต่ํา

16 - 8