กฎหมายการแพทย์ (medical law)

105
กฎหมายการแพทย MEDICAL LAWS นพ. บุญศักดิ หาญเทอดสิทธิ, .. นิติเวชศาสตร , .., ...

Upload: boonsak-hanterdsith

Post on 14-Apr-2017

565 views

Category:

Law


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

กฎหมายการแพทย

MEDICAL LAWS

นพ. บุญศักดิ ์หาญเทอดสิทธิ์, ว.ว. นิติเวชศาสตร, น.บ., น.บ.ท.

Page 2: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

วัตถุประสงค

เขาใจหลักกฎหมาย+แนวทางปฏิบัติ

3

Presenter
Presentation Notes
สำหรับบุคคลากรทางการแพทย์
Page 3: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

11

กฎหมายตองรู (ตามลําดับศักด์ิ)

กฎหมายเฉพาะ

วิชาชีพ/องคกร

กฎหมายท่ัวไป อาญา

แพง ปกครอง

รัฐธรรมนูญ

Presenter
Presentation Notes
ตัวอย่าง รธ คำวินิจฉัยศาลที่ 12/2555 (พรบ. ขายตรง), 5/2556 (พรบ ลิขสิทธิ์ 2537) มีมาตราหนึ่งเหมือนกัน กำหนดให้กรรมการนิติบุคคลต้องรับผิดถ้านิติบุคคลทำผิด ถือเป็นการสันนิษฐานะของบุคคลว่ากระทำผิด ขัดกับ รธ 2550 มาตรา 39 วรรคสอง ที่สันนิษฐานว่าผู้ต้องหาหรือจำเลยบริสุทธิ์ สองมาตรานั้นจึงตกไป บังคับไม่ได้
Page 4: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

หัวขอ หลักปฏิบัติเพื่อปองกันการฟองรอง (กอนไป

ศาล)

เมื่อเกิดความเสียหายแลวทําอยางไร (เมื่อตองไปศาล)

Page 5: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

15

Topic

ปองกันฟองรอง

Standard of care

Risk Mx

Informed consent

เวชระเบียน

อาญา/แพง

พรบ วิชาชีพ

Social media-related problem

เมื่อเกิดความ

เสียหาย ใหคดียุติโดยเร็ว

อาญา

ลหุโทษ

สวนตัว

อาญาแผนดิน

แพง

Disclosure,ไกลเกลี่ย, ม 41

ประนีประนอมยอมความ

พรบ. ความรับผิดทางละเมิด

วิชาชีพ/วินัย

Presenter
Presentation Notes
ส่วนตัว ยก 390 (ประมาทเป็นอตร แก่กาย) 391(ไม่เป็น อตร แก่กาย)
Page 6: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

16

อาญา

แพง

ปกครอง พรบ.ขอมูล

ขาวสารของ

ทางราชการ

2540

พรบ.

สถานพยาบาล

2541 พรบ.

หลักประกัน

สุขภาพ

แหงชาติ 2545

พรบ.สุขภาพ

แหงชาติ

2550

ประกาศ

กระทรวง

สาธารณสุข

2539

Presenter
Presentation Notes
พรบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พศ 2539
Page 7: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 และพ.ร.บ.

แกไขประมวลกฎหมายอาญา

กฎหมายอื่นๆ

กฎหมายอาญา

31

Page 8: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ความแตกตาง อาญา แพง

อาญา แพง

มุงปองกันปราบปราบการ

กระทําความผิด (crime

control)

แมไมเกิดความเสียหายก็เปน

ความผิด

มีโทษทางอาญา

ความสัมพันธระหวางรัฐ-

เอกชน

มุงชดเชยความเสียหาย (pay

for damage)

ตองเกิดความเสียหาย

กระทําการ/งดเวนกระทําการ/

ชดใชคาเสียหาย

ความสัมพันธ เอกชน-เอกชน

32

Page 9: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ภาค

ความผิด

ลหุโทษ

ภาค

บทบัญญัติ

ท่ัวไป

ประมวลกฎหมายอาญา

33

Page 10: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

หามอางวาไมรูกฎหมายเพ่ือใหพนความรับผิด

ทําไมตองรูกฎหมาย

Presenter
Presentation Notes
แต่ถ้าศาลเห็นว่า ตามสภาพและพฤติการณ์ + แสดงพยานหลักฐานให้เห็นว่าไม่รู้จริง ศาลลงโทษน้อยกว่ากฎหมายกำหนดได้
Page 11: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ความรับผิดทางอาญา

Page 12: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

บุคคลจะตองรับผิดทางอาญา ตอเมื่อ

47

Presenter
Presentation Notes
ปอ ม 59 เวลาฟ้องก็ต้องบรรยายฟ้องให้ครบองค์ประกอบความผิดด้วย ไม่งั้นศาลก็ยกฟ้อง
Page 13: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

สรุป การใชกฎหมายอาญา

ไมมีกฎหมาย => ไมมีความผิด => ไมมีโทษ

กฎหมายไมยอนหลังในสวนที่เปนโทษทางอาญา

48

Page 14: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

56

มีสติ รู

สํานึก

ประสงค

ตอผล /

เล็งเห็นผล

รู

ขอเท็จจริง

เจตนา

Presenter
Presentation Notes
การกระทำโดยเล็งเห็นผลนั้นหมายความว่า ผลนั้นจะเกิดขึ้นได้อย่างแน่นอนเท่าที่บุคคลในภาวะเช่นนั้นจะเล็งเห็นได้ มิใช่เพียงเล็งเห็นว่าผลนั้นอาจเกิดขึ้นได้
Page 15: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

57

ไมใช

เจตนา

ขาดความ

ระมัดระวังตาม

วิสัย &

พฤติการณ

อาจใช

ความระวัง

ได แตไมใช

ประมาท

Page 16: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

59

มีความ

ระมัดระวังตาม

ฐานะ & ภาวะ

น้ัน

เหตุการณท่ีไม

อาจปองกันได สุดวิสัย

Page 17: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

79

Page 18: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ภาคความผิด

ประมวลกฎหมายอาญา

80

Page 19: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

เจาพนักงานละเวนปฏิบัติหนาที่ มาตรา 157 ผูใดเปนเจาพนักงาน ปฏิบัติหรือละเวน

การปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ เพ่ือใหเกิดความเสียหาย

แกผูหนึ่งผูใด หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่

โดยทุจริต ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหน่ึงปถึงสิบป

หรือ....

81

Presenter
Presentation Notes
คำว่า มิชอบ ไม่จำเป็นต้องผิดกฎหมาย เพียงแต่มิชอบด้วยหน้าที่ก็เพียงพอ เช่น มีหน้าที่ตรวจตรายามแต่ไม่ตรวจตราให้เรียบร้อย ส่วนคำว่าโดยทุจริต ก็อาจเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ แต่เป็นการแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ด้วยกฎหมาย เพื่อให้เกิดความเสียหาย คือ เจตนาพิเศษ คือ มากกว่าเล็งเห็นผล เพียงแต่เล็งเห็นผลไม่ได้
Page 20: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยางเจาพนักงาน ละเวนปฏิบัติหนาทีโ่ดยมิชอบ

จําเลยรับราชการเปนพยาบาลประจําโรงพยาบาล ได

ตรวจชันสูตรบาดแผลของ พ. ซ่ึงถูกขมขืนกระทํา

ชําเรา ละเวนไมสงซับน้ําในชองคลอดของ พ. ไปหา

เชื้อของน้ําอสุจิตามระเบียบและกรอกขอความลงใน

รายงานผลการตรวจชันสูตรเอาเอง พ.ยอมเปน

ผูเสียหายและไดรับความเสียหายเพราะการกระทํา

ของจําเลยแลว จําเลยมีความผิดตาม ป.อ. มาตรา

๑๕๗ (ฎีกาที่ ๑๘๘๖/๒๕๒๓)

Presenter
Presentation Notes
อัยการนครศรีธรรมราช โจทก์ นางประทีป เมืองศรี จำเลย ...เฉพาะคดีนี้ ถ้าจะรอการลงโทษให้แก่จำเลยไว้ ย่อมจะเป็นเครื่องเหนี่ยวรั้งให้จำเลยต้องระมัดระวังความประพฤติของตนไปตลอดระยะเวลาที่ศาลจะรอการลงโทษให้แก่จำเลย ซึ่งน่าจะเป็นผลดีแก่สังคมมากกว่าที่จะลงโทษจำคุกจำเลยไปทีเดียว ทั้งจำเลยก็มีอายุ 57 ปี รับราชการเป็นพยาบาล ไม่เคยกระทำความผิดมาก่อน โดยพฤติการณ์และเหตุผลแห่งรูปคดีมีเหตุสมควรรอการลงโทษให้ เพื่อให้โอกาสจำเลยได้กลับประพฤติตนเป็นพลเมืองดีต่อไป ฎีกาของจำเลยในข้อนี้ฟังขึ้น พิพากษาแก้คำพิพากษาศาลอุทธรณ์เป็นว่า ให้รอการลงโทษไว้มีกำหนด 2 ปี ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 56 นอกจากที่แก้คงให้เป็นไปตามคำพิพากษาศาลอุทธรณ์
Page 21: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ทําคํารับรองเอกสารอนัเปนเท็จ มาตรา 269 ผู ใดในการประกอบการงานในวิชาแพทย

กฎหมาย บัญชีหรือวิชาชีพอ่ืนใด ทําคํารับรองเปนเอกสารอัน

เปนเท็จ โดยประการท่ีนาจะเกิดความเสียหายแกผูอ่ืนหรือ

ประชาชน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือ...

ผูใดโดยทุจริตใชหรืออางคํารับรองอันเกิดจากการ

กระทําความผิดตามวรรคแรกตองระวางโทษเชนเดียวกัน

83

Presenter
Presentation Notes
โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน เป็นพฤติการณ์ประกอบการกระทำ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ องค์ประกอบภายนอก แต่ไม่ใช่ข้อเท็จจริง ไม่นำ มาตรา 59 วรรคสาม มาใช้ (ผู้กระทำไม่ต้องรู้ข้อเท็จจริง)
Page 22: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ออกใบรับรองแพทยโดยทุจริต ขอบังคับแพทยสภา วาดวยการรักษาจริยธรรมแหง

วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549 หมวด 4 การประกอบ

วิชาชีพเวชกรรม

ขอ 25 ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมตองไมเจตนา

ทุจริตในการออกใบรับรองแพทย

ขอ 26 ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมตองไม ให

ความเห็นโดยไมสุจริตอันเกี่ยวกับวิชาชีพเวชกรรม 84

Presenter
Presentation Notes
ให้ความเห็นโดยไม่สุจริต เช่น ไม่ตรงกับความเป็นจริง ตรวจสอบจากเวชระเบียนกับในใบรับรองแพทย์นั้นต่างกัน ให้ข้อมูลคลุมเครือ
Page 23: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ทอดทิ้งเด็ก คนปวยเจ็บ คนชรา มาตรา 307 ผูใดมีหนาที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญาตอง

ดูแลผูซึ่งพ่ึงตนเองมิได เพราะอายุ ความปวยเจ็บ กายพิการ

หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผูซึ่ ง พ่ึงตนเองมิได น้ัน เสียโดย

ประการที่นาจะเปนเหตุใหเกิดอันตรายแกชีวิต ตองระวาง

โทษจําคุกไมเกินสามป หรือ...

มาตรา 373 ผูใดควบคุมดูแลบุคคลวิกลจริต ปลอยปละ

ละเลยใหบุคคลวิกลจริตน้ันออกเที่ยวไปโดยลําพัง ตอง

ระวางโทษปรับไมเกินหารอยบาท 85

Presenter
Presentation Notes
หน้าที่ตามกฎหมาย เช่น บิดา มารดา แพทย์ หน้าที่ตามสัญญา ไม่จำเป็นต้องได้รับค่าตอบแทน ทอดทิ้งนี้ไม่จำเป็นต้องเด็ดขาด เพียงละไปชั่วครู่ก็ผิดได้ และการงดเว้นการป้องกันผลก็ผิดเช่นกัน
Page 24: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

เสรีภาพ มาตรา 309 ขมขืนใจ ผูใดขมขืนใจผูอื่นใหกระทําการใด ไมกระทําการใด หรือ

จํายอมตอสิ่งใด

โดยทําใหกลัววาจะเกิดอันตรายตอชีวิต รางกาย

เสรีภาพ ช่ือเสียงหรือทรัพยสินของผูถูกขมขืนใจ

น้ันเองหรือของผูอื่น หรือ

โดยใชกําลังประทุษราย

จนผูถูกขมขืนใจตองกระทําการน้ัน ไมกระทําการน้ัน

หรือจํายอมตอสิ่งน้ัน ตองระวางโทษ... 86

Page 25: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

มาตรา 392 ขมขืนใจ ผูใดทําใหผูอื่นเกิดความกลัว หรือความตกใจ โดย

การขูเข็ญ ตองระวางโทษ...

87

Page 26: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยาง

นายแพทย/พยาบาล/เจาหนาที่ ตองการใหผูปวยที่ตน

รักษานอนโรงพยาบาล (admit) โดยบอกผูปวยวาถา

ไมนอน และกลับบานอาจกลับไปตายได เปน

ความผิดตอเสรีภาพตาม ม. 309 หรือไม (ขมขืนใจ

ผูปวย) ?

88

Presenter
Presentation Notes
ไม่ผิด เพราะ การทำให้กลัวนั้น ต้องเป็นการกระทำจากผู้ข่มขืนใจหรือปัจจัยจากผู้ข่มขืนใจ ไม่ใช่ปัจจัยภายในผู้ป่วยเอง ซึ่งกรณีนี้ถือเป็นการแจ้งข้อเท็จจริงให้ ผป ทราบ และเสนอทางเลือกให้ผู้ป่วยรับการรักษาที่ถูกต้อง
Page 27: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

เสรีภาพ มาตรา 310ขมขืนใจ ผูใดหนวงเหนี่ยวหรือกักขังผูอื่น หรือ

กระทําดวยประการใดใหผูอื่นปราศจากเสรีภาพใน

รางกาย

ไมตองมีเจตนาพิเศษ

89

Page 28: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยาง

ผูปวยจิตเวช ถูกขังในหอง ตอมาผูปวยกระโดดตึกตาย

ผิดมาตรา 310 หรือไม

90

Page 29: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ชีวิต รางกาย

ไมเปนอันตรายแกกายหรือจิตใจ (391)

เปนอันตรายแกกายหรือจิตใจ ( เจตนา ( (295)

ประมาท(390))

รับอันตรายสาหัส (เจตนา(297) ประมาท(300) )

ตาย (เจตนา(288) ไมเจตนา(290) ประมาท(291))

93

Page 30: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

อันตรายสาหัส มาตรา 297 ผูใดกระทําความผิดฐานทํารายรางกาย จนเปนเหตุใหผูถูกกระทํารายรับอันตราย

สาหัส ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหกเดือนถึงสิบป อันตรายสาหัสนั้น คือ

(1) ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาด หรือเสียฆานประสาท

(2) เสียอวัยวะสืบพันธุ หรือความสามารถสืบพันธุ

(3) เสียแขน ขา มือ เทา นิ้วหรืออวัยวะอื่นใด

(4) หนาเสียโฉมอยางติดตัว

(5) แทงลูก

(6) จิตพิการอยางติดตัว

(7) ทุพพลภาพ หรือปวยเจ็บเรื้อรังซึ่งอาจถึงตลอดชีวิต

(8) ทุพพลภาพ หรือปวยเจ็บดวยอาการทุกขเวทนาเกินกวายี่สิบวันหรือจนประกอบกรณียกิจ

ตามปกติไมไดเกินกวายี่สิบวัน 97

Page 31: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

106

Page 32: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

CIVIL LAW

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

107

Presenter
Presentation Notes
เริ่มใช้บรรพ 1-2 ตั้งแต่ 2466 ต่อมามีการเพิ่มบรรพอื่น และแก้ไขบรรพ 1-2 เรื่อยมา
Page 33: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

TORT

ละเมิด

Page 34: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ละเมิด มาตรา ๔๒๐ ผูใดจงใจหรือประมาทเลินเลอ ทําตอบุคคลอ่ืนโดยผิด

กฎหมายใหเขาเสียหายถึงแกชีวิตก็ดี แกรางกายก็ดี อนามัยก็ดี

เสรีภาพก็ดี ทรัพยสินหรือสิทธิอยางหนึ่งอยางใดก็ดี ทานวาผูนั้นทํา

ละเมิดจําตองใชคาสินไหมทดแทนเพ่ือการนั้น

มาตรา ๔๒๔ ในการพิพากษาคดีขอความรับผิดเพื่อละเมิดและกําหนดคา

สินไหมทดแทนนั้น ทานวาศาลไมจําตองดําเนินตามตามบทบัญญัติแหง

กฎหมายลักษณะอาญาอันวาดวยการท่ีจะตองรับโทษ และไมจําตองพิเคราะห

ถึงการท่ีผูกระทําผิดตองคําพิพากษาลงโทษทางอาญาหรือไม

123

Presenter
Presentation Notes
แต่อาจใช้ข้อเท็จจริงจากคดีอาญาได้ ความผิดบางอย่างฟ้องได้ทั้งแพ่งและอาญา สามารถฟ้องเป็นคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาได้ ตาม ปวิอ ม 40-51 ต้องใช้ข้อเท็จจริงจากคำพิพากษาคดีอาญา (ปวิอ ม 46) มีผลต่ออายุความ ถ้าฟ้องคดีอาญาอยู่ ยังไม่ตัดสิน/ยังไม่เด็ดขาด -> อายุความแพ่งสะดุดหยุดลง ตัดสินแล้วให้รับโทษ -> อายุความแพ่งดูตามปพพ มาตรา 193/32 ซึ่งมีอายุความ 10 ปี ตัดสินแล้วยกฟ้อง-> อายุความแพ่งตามปพพ ทั่วไป ไม่เกิน 1 ปีรู้ตัวรู้เหตุ ไม่เกิน 10 ปีเรื่องเกิด
Page 35: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

124

ละเมิด

เสียหาย

จงใจ/

ประมาท

เลินเลอ

กระทําผิด

กฎหมาย

Page 36: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

Medical negligent

125

TORT

Damage

Direct

cause

Duty of

care

Dereliction

Page 37: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

เจตนา

ประสงคตอผล เจตนา

เล็งเห็นผล จงใจ................

Presenter
Presentation Notes
จงใจ = มีสติ รู้สำนึกขณะกระทำ รู้ว่าผลเสียหายจะเกิด แต่ไม่ต้องทราบว่าจะเสียหายมากน้อยเท่าไร เพราะอย่างไรก็ต้องรับผิดหมด เจตนาประสงค์ต่อผล รู้สำนึก+รู้ว่าจะเกิดผลเช่นไรเฉพาะเจาะจง ผลเกินกว่านั้นไม่ต้องรับผิดในผลจากเจตนานั้น แต่อาจรับผิดอื่น เช่น ตายโดยไม่เจตนา เป็นต้น
Page 38: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

127

ละเมิด

ชดใช

คาเสียหาย

เยียวยา ลงโทษ

Presenter
Presentation Notes
ค่าเสียหายเชิงลงโทษ พรบ วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค 2551 ม 42 พรบ ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย 2551 ม 11(2)
Page 39: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยางคดี

พยาบาลทําคลอดและผูชวยพยาบาลหองทารกแรก

เกิดปลอยให นศ. พยาบาล เอากระเปานํ้ารอนไป

ประคบทารกเกิดใหม เกิดน้ํารอนรั่วเพราะจุกปดไม

แนน เด็กถูกน้ํารอนลวกที่มือ พิการตลอดชีวิต

ญาติเด็กฟองศาลเปนคดีแพง

128

Page 40: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยางคดี

จําเลย

1. กระทรวงสาธารณสุข

2. ผอ.

3. แพทย

4. หัวหนา ward

5. พยาบาลทําคลอด (มีหนาท่ีดูแลทารกแรกคลอดดวย)

6. ผูชวยพยาบาลหองทารกแรกเกิด

7. ผูชวยพยาบาลหองคลอด 129

Presenter
Presentation Notes
นี่ถ้าแม่บ้านคนทำความสะอาดอยู่แถวนั้นคงโดนด้วย
Page 41: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยางคดี: ประเด็นที่สําคัญ

เปนละเมิดหรือไม

ใครตองรับผิดบาง

130

Page 42: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

เปนละเมิดหรือไม

พยาบาลทําคลอดและผูชวยพยาบาลหองทารกแรกเกิด

ปลอยให นศ. พยาบาล เอากระเปาน้ํารอนไปประคบ

ทารกเกิดใหม เกิดน้ํารอนรั่วเพราะจุกปดไมแนน

เด็กถูกน้ํารอนลวกที่มือ พิการตลอดชีวิต

131

Page 43: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยางคดี

เปนละเมิดหรือไม

ฝาเกลียวถุงใสน้ํารอนปดไมสนิท = ประมาท ไมใช

เหตุสุดวิสัย

132

Page 44: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยางคดี

ใครตองรับผิดบาง

133

Page 45: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยางคดี: ผลทางคดี

คดีแพงหมายเลขแดงที่ 456/2525 (สิ้นสุดท่ีศาลอุทธรณ)

กระทรวงสาธารณสุขผิดในฐานะนิติบุคคลโดยผูแทน คือ

พยาบาลหัวหนาตึก พยาบาลทําคลอด (มีหนาที่ดูแลผูปวย

โดยตรง) ผูชวยพยาบาลหองทารกแรกเกิดเปนคนทําละเมิด

ยกฟอง ผอ. แพทย และ ผช. พยาบาลหองคลอด: ไมมีหนาที่

โดยตรง

134

Presenter
Presentation Notes
สมัยนั้น ใช้กฎหมายเรื่องผู้แทนนิติบุคคลตัวแทนทำละเมิด เพราะเป็นการกระทำตามหน้าที่ตาม ปพพ มาตรา 76 ไล่เบี้ยได้
Page 46: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยางคดี: ผลตอเนื่อง

คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3954/2536

กระทรวงสาธารณสุขฟองพยาบาลทําคลอด และผูชวยพยาบาลหอง

ทารกแรกเกิดเปนคนทําละเมิด ไลเบี้ยในฐานะตัวแทนทําละเมิด

ศาลพิพากษาใหชดใชคาสินไหมทดแทน (ไลเบี้ยได)

135

Presenter
Presentation Notes
สมัยนั้น ใช้กฎหมายเรื่องผู้แทนนิติบุคคลตัวแทนทำละเมิด เพราะเป็นการกระทำตามหน้าที่ตาม ปพพ มาตรา 76 ไล่เบี้ยได้
Page 47: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยางคดี: ขอสังเกต ถา (ทั้งสองคดีรวมกัน)

คดีแรก ถาจําเลยอ่ืนเรียกให นศ.พยาบาลเขามาเปนคูความรวมและ

พิ สูจนไดว า จํา เลยท้ังหมดไมไดประมาท เชน ไดตัก เตือนและ

ควบคุมดูแลใกลชิดแลว แต นศ.พยาบาล ประมาทเอง ศาลนาจะยกฟอง

จําเลยอ่ืน แตกระทรวงสาธารณสุขอาจตองรับผิดชอบอยูเพราะ นศ.

พยาบาลถือเปนผูแทน

ถามี พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. 2539

จําเลยทุกคน ยกเวนกระทรวง สธ นาจะไมตองรับผิดและไมถูกไลเบี้ย

เพราะ ไมไดประมาทเลินเลออยางรายแรง

ไดประโยชนทุกฝาย ผูปฏิบัติงาน ผูปวย กระทรวงสาธารณสุข

136

Presenter
Presentation Notes
สธ น่าจะรู้ก่อนว่าจะมี พรบ นี้ออกมา จึงรีบฟ้องก่อน (joke)
Page 48: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

155

Page 49: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

การเปดเผยขอมูลทางการแพทย

172

Page 50: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)
Page 51: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ผลการตรวจสุขภาพของพนักงาน

เปดเผยไดหรือไม

Page 52: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

หากเห็นวา การเปดเผยขอมูลการตรวจสุขภาพของ

พนักงานจําเปนตอการปองกันหรือระงับอันตรายตอชีวิต

หรือสุขภาพของบุคคลก็สามารถที่จะใชดุลยพินิจในการ

เปดเผยขอมูลการตรวจสุขภาพของพนักงานดังกลาวเปน

รายกรณีได ตามมาตรา 24 (7) แหงพระราชบัญญัติขอมูล

ขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540

17

5

Presenter
Presentation Notes
ถามไปที่ คณะกรรมการข้อมูลข่าวสาร เพื่อหารือ
Page 53: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

IN MEDICAL PRACTICE

Social media-related problems

218

Page 54: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

219

Page 55: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

220

Page 56: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

221

Page 57: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ประเด็นสําคัญ

Patient confidentiality

Appropriate discussion

Privacy

Defamation

222 Using social media: practical and ethical guidance for doctors and medical students by British Medical Association

Presenter
Presentation Notes
รัฐธรรมนูญ ม 35
Page 58: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ตัวอยาง

การโพสตรูปผูปวยที่นอนรักษาตัวโนโรงพยาบาลผาน

เฟซบุค

การประกาศขอรับบริจาคเลือดหรือขอความชวยเหลือ

เกี่ยวกับการรักษา โดยระบุ ชื่อ และขอมูลสวนตัวผูปวย

223

Page 59: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ผูโพสตผิดอะไรบาง

อาญา หมิ่นประมาทบุคคลที่ 3, เปดเผยความลับที่ไดมาจากการ

ประกอบวิชาชีพ

แพง ละเมิด

พรบ. วิชาชีพ แพทย ใหความเห็นโดยไมสุจริต

พรบ. สุขภาพแหงชาติ 2550 ม. 7

พรบ. ขอมูลขาวสารของทางราชการ 2540 ม. 15 (5)

พรบ. วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 2550 ม.

9, 11, 14, 16 224

Presenter
Presentation Notes
มาตรา ๗ ขอมูลดานสุขภาพของบุคคล เปนความลับสวนบุคคล ผูใดจะนําไปเปดเผยในประการที่นาจะทําใหบุคคลนั้นเสียหายไมได เวนแตการเปดเผยนั้นเปนไปตามความประสงคของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติใหตองเปดเผย แตไมวาในกรณีใด ๆ ผูใดจะอาศัยอํานาจหรือ สิทธิตามกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับขอมูลดาน สุขภาพของบุคคลที่ไมใชของตนไมได มาตรา ๔๙ ผูใดฝาฝนมาตรา ๗ หรือมาตรา ๙ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ความผิดตามมาตรานี้เปนความผิดอันยอมความได
Page 60: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

หม่ินประมาทบุคคลที่สาม มาตรา 326 ผูใดใสความผูอื่นตอบุคคลที่สาม โดย

ประการท่ีนาจะทําใหผูอื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น

หรือถูกเกลียดชัง ผูนั้นกระทําความผิดฐานหมิ่น

ประมาท ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือ...

225

Presenter
Presentation Notes
ใส่ความ คือ ให้ร้ายไม่ว่าจริงหรือเท็จ แต่ไม่รวมถึงเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ (เช่น เป็นผีปอบ) หรือเรื่องที่กล่าวเลื่อนลอยยังพิสูจน์ไม่ชัดเจน ผู้อื่น ต้องระบุตัวบุคคลได้หรือรู้ว่าเป็นใคร
Page 61: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ประเด็นสําคัญ (ตอ)

Doctor-Patient relationship

Facebook friend requests

Declaring conflicts of interest

Trust (Private & Public)

Professionalism

226

Using social media: practical and ethical guidance for doctors and medical students by British Medical Association

Presenter
Presentation Notes
ป้องกันการแสวงหาประโยชน์ในทางการค้า ให้มีความไว้เนื้อเชื่อกันในฐานะแพทย์ผู้ป่วย
Page 62: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ผูปวยหรือญาติทําอยางไร

เกิดความผิดพลาดแลว

Page 63: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

228

Page 64: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

229

Page 65: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ฟองรอง

อาญา

แพง

วิชาชีพ

230

Page 66: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

231

Page 67: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

สาเหตุบุคคลากรทางการแพทยถูกฟอง

233

Presenter
Presentation Notes
วิจัย อ วิฑูรย์ 2544 สาเหตุที่ผู้ป่วยฟ้องแพทย์
Page 68: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

สาเหตุบุคคลากรทางการแพทยถูกฟอง

234

Presenter
Presentation Notes
วิจัย อ วิฑูรย์ 2544 สาเหตุที่ผู้ป่วยฟ้องแพทย์
Page 69: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

สาเหตุบุคคลากรทางการแพทยถูกฟอง

235

Presenter
Presentation Notes
วิจัย อ วิฑูรย์ 2544 สาเหตุที่ผู้ป่วยฟ้องแพทย์
Page 70: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

236

Page 71: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

237

Page 72: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

238

Page 73: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

เจาหนาที่ทําอยางไร

เกิดความผิดพลาดแลว

Page 74: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

240

Page 75: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

241

Presenter
Presentation Notes
ทำอย่างนี้อาจไม่ได้ผลในบางกรณี เช่น กรณีต่อไปนี้ ดูสไลด์ถัดไป
Page 76: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

242

Page 77: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

243

Page 78: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

244

Page 79: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ขั้นตอนดําเนินการ

แจงบุคคลที่เกี่ยวของ

หาสาเหตุของความเสียหาย: ตาย ตอง ชันสูตรพลิกศพ

รวบรวมพยานหลักฐานทุกชนิด

ไกลเกลี่ย ประนีประนอมยอมความ

Disclosure

ชวยเหลือเบ้ืองตน ไปงานศพ?

อยาใหถึงสื่อมวลชน

245

Page 80: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

พรบ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ 2545

ม 41, 42

คุมครองเฉพาะผูปวยบัตรทอง

“เงินชวยเหลือเบ้ืองตน” = มุงเยียวยา ไมใช ”

ชดเชย”

หวังปองกันการฟองรอง

Page 81: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ที่มา: บุญศักดิ์ หาญเทอดสิทธิ์. ครบรอบ 7 ป การพิจารณาเงินชวยเหลือเบ้ืองตน ตามมาตรา 41 ในจังหวัดลําพูน: ปจจุบันและแนวโนม

ในอนาคต. วารสารวิชาการสาธารณสุข 2554;20(6):971-81.

Presenter
Presentation Notes
7 ปีมีการจ่ายเงินเพิ่มขึ้น 20 เท่า หรือ 2000 % นี่ถ้าเป็นการลงทุนแล้วผลตอบแทน 2000 % ก็น่าจะดีมากเลยนะ
Page 82: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ท่ีมา: บุญศักด์ิ หาญเทอดสิทธิ์. การไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตนตามมาตรา 41 กับการฟองรองคดีแพง. วารสาร

วิจัยระบบสาธารณสุข 2554;5(2):205-15.

Page 83: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

บุญศักด์ิ หาญเทอดสิทธิ์. การไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตนตามมาตรา 41 กับการฟองรองคดีแพง. วารสารวิจัย

ระบบสาธารณสุข 2554;5(2):205-15.

Page 84: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

บุญศักด์ิ หาญเทอดสิทธิ์. แนวคิดปจจุบันของการเปดเผยความผิดพลาดทางการแพทย. วารสารวิจัยระบบ

สาธารณสุข 2555;6(1):21-9.

Page 85: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

เมื่อถูกฟอง

Page 86: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ประนีประนอมยอมความ

การไกลเกลี่ย และ

Page 87: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

หลักการไกลเกลีย่

ไมขัดกฎหมาย

ไมกอปญหาเพ่ิม

ปฏิบัติได

253

Page 88: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ไกลเกลีย่ แสวงหาจุดรวม สงวนจุดตาง

คนไขสนใจเรื่องทั่วไป ใหพูดเรื่องขอยกเวน

คนไขสนใจเรื่องขอยกเวน ใหพูดเรื่องทั่วไป

หาจุดยืนแตละฝาย และหลีกเลี่ยง

254

Presenter
Presentation Notes
หารูปและตัวอย่าง
Page 89: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

เมื่อเรื่องถึงศาล

Page 90: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

คดีความที่พิพาทฟองรองกันในศาลไมวาจะเปน

คดีแพง หรือ คดีอาญาจะเกี่ยวกับขอที่ตองวินิจฉัย 2

ประการ คือ

1. การวินิจฉัยปญหาขอเท็จจริง

2. การวินิจฉัยปญหาขอกฎหมาย

Page 91: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ปญหาขอเท็จจริง Fact

Page 92: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ปญหาขอกฎหมาย

Fact1 Fact2 Meaning

Page 93: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

ในศาล สูกันดวยพยานหลักฐาน

มาตรฐานการพิสูจน คดีอาญา =/= คดีแพง

กระบวนการตอสูคดีเปนชั้นๆ

259

Page 94: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

มาตรฐานการพิสูจน

แพง

น้ําหนักมากกวา

อีกฝาย= ชนะ

ภาระการพิสูจน

ตกแกฝายแพทย

อาญา

ปราศจากความ

สงสัย

ตกแกฝาย

ผูเสียหาย

Page 95: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

พยานหลักฐานที่ตองรวบรวม

เอกสาร: consent / medical records

บุคคล: ประจักษพยาน พยานผูเชี่ยวชาญ

พยานวัตถุ: ภาพถาย

261

Page 96: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

คําถาม ?

Page 97: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

Take home messages

Page 98: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

Do

290

Presenter
Presentation Notes
Doctor-patient relationship
Page 99: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

Do

291

Page 100: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

Do

292

Presenter
Presentation Notes
วิเคราะห์จุดแข็งจุดต่าง
Page 101: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

Do

293

Presenter
Presentation Notes
เปิดเผยข้อมูล ความจริง
Page 102: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

Don’t

294

Presenter
Presentation Notes
นั่งกลุ้มคนเดียว
Page 103: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

Don’t

295

Presenter
Presentation Notes
blame
Page 104: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

Don’t

296

Presenter
Presentation Notes
อย่าปิดบังข้อผิดพลาด
Page 105: กฎหมายการแพทย์ (Medical Law)

References

297