ระบบขับถ่าย (t) 1 2560

51
เรื่อง ระบบขับถ่าย รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 คุณครูฐิตารีย์ สาเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)

Upload: thitaree-samphao

Post on 22-Jan-2018

598 views

Category:

Education


2 download

TRANSCRIPT

Page 1: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

เรื่อง ระบบขับถ่าย รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560

คุณครูฐิตารีย์ ส าเภา โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม

ส านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)

Page 2: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

สืบค้นข้อมูล อภิปรายและสรุปเกี่ยวกับความหมายของของเสีย และการขับถ่าย พร้อมทั้งอธิบายกระบวนการขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และของสัตว ์

สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างของไต และอวัยวะที่เกี่ยวข้อง

สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปเกี่ยวกับการท างานของไตกับการรักษาดุลยภาพของน้ า และแร่ธาตุในร่างกาย

สืบค้นข้อมูล อภิปราย และอธิบายความผิดปกติที่เกี่ยวเนื่องกับไตและโรคของไต พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางในการดูแลสุขภาพ

จุดประสงค์การเรียนรู้

Page 3: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

การขับถ่าย (Excretion)

การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

การขับถ่ายของสัตว์มีกระดูกสันหลัง

การขับถ่ายของคน

ความผิดปกติเกี่ยวกับไตและโรคของไต

ระบบขับถ่าย

Page 4: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

กระบวนการก าจัดของเสียที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึม

CO2 จากระบบหายใจ น้ า และเกลือแร่ Nitrogenous waste : ของเสียที่เกิด

จากกระบวนการสลายโปรตีนและกรดนิวคลีอิกภายในเซลล ์ Ammonia Urea Uric acid

การถ่ายอุจจาระไม่เป็น Excretion เนื่องจากกากอาหารที่ร่างกายขับออกมายังเป็นสารที่มีประโยชน์ แต่ร่างกายย่อยไม่ได้

การขับถ่าย (EXCRETION)

Page 5: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

Gas

พิษสูงสุด

ใช้น้ าในการก าจัดมาก

ก าจัดออกในรูป NH+4

เปลี่ยนรูปเป็น urea/uric acid ได้

พบในสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในน้ า

สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

สัตว์หลายเซลล์ชั้นต่ า

สัตว์ขาข้อที่อาศัยอยู่ในน้ า

Mollusk ที่อยู่ในน้ า

ปลากระดูกแข็ง ปลากัด ปลาดุก ปลาช่อน ปลาทู ปลาไหล

AMMONIA (NH3)

Page 6: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

Liquid

พิษต่ ากว่า NH3

สูญเสียน้ าน้อยลงเวลาขับออก

สร้างที่ตับ

ขับทางไตในรูปปัสสาวะ

ปริมาณขึ้นอยู่กับโปรตีนที่กิน

พบในสิ่งมีชีวิตที่อยู่บนบก

ไส้เดือนดิน

สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก

ปลากระดูกอ่อน เช่นปลาฉลาม, ปลากระเบน,

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

UREA

Page 7: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

Solid พิษต่ าสุด ขับทางอุจจาระ Allantois เป็นที่เก็บของเสีย พบในเอ็มบริโอ

ของสัตว์เลื้อยคลาน/นก อาจสะสมในข้อในผู้ป่วยโรค gout มูลจิ้งจกมีสีขาวและสีด า สีขาวของเสียในรูป

กรดยูริก สีด าคือกากอาหาร (อุจจาระ) พบในสัตว์สงวนน้ า

สัตว์ขาข้อที่อาศัยอยู่บนบก/แมลง Mollusk ที่อยู่บนบก สัตว์เลื้อยคลาน นก

URIC ACID

Page 8: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

NITROGENOUS WASTE

Page 9: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

เกิดจากกระบวนการเผาผลาญสารอาหาร C6H12O6+6O2+6H2O+36ADP+36Pi6CO2+12H2O+36ATP ขับออกทางปอด พืชก าจัดออกทางปากใบ/น ากลับไปใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง

CO2

Page 10: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ขับส่วนที่เกินความต้องการออก

ขับในรูป

ปัสสาวะ (max)

เหงื่อ

ลมหายใจ

อุจจาระ (min)

ขับออกทางปัสสาวะ เหงื่อ อุจจาระ จะมีเกลือแร่ปนอยู่ด้วย

ขับออกทางลมหายใจจะมีแต่น้ า (gas) เท่านั้น

ส าหรับพืชเก็บสะสมไว้ที่ sap vacuole

น้ าและเกลือแร่

Page 11: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

แบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้ าเงิน: ของเสียแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (CO2)

โพรโทซัวน้ าเค็ม: ขับของเสียออกจากเยื่อหุ้มเซลล์

อะมีบา พารามเีซียม และโพรโทซัวน้ าจืดอื่นๆ :

ของเสียแพร่ออกจากเยื่อหุ้มเซลลส์ู่น้ ารอบๆ ในรูปของ NH3 และ CO2

contractile vacuole ท าหน้าทีข่ับน้ าส่วนเกินออกจากเซลล์ ซึ่งท าหน้าที่คล้ายไตของสัตว์ชั้นสูง

Page 12: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ไม่มีโครงสร้างในการขับถ่ายของเสีย แต่ทุกเซลล์สัมผัสกับน้ าโดยตรง

ของเสียในเซลล์เป็นแอมโมเนีย ถูกก าจัดออกสู่สภาพแวดล้อมภายนอกโดยการแพร่

ไฮดรา : ของเสียสะสมภายในช่องแกสโตรวาสคิวลาร์ แล้วขับออกทางปาก

การขับถ่ายของฟองน้ า ไฮดรา แมงกะพรุน

Page 13: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

เฟลมเซลล์ (Flame cell) : ท าหน้าที่ก าจัดของเสีย

กระจายอยู่ 2 ข้างตลอดความยาวของล าตัว เชื่อมต่อกับช่องขับถ่ายที่ผนังล าตัว

ภายในมีซีเลีย โบกพัดน้ าและของเสียไหลไปตามท่อและออกสู่ภายนอกทางรูขับถ่าย

ของเหลวที่กรองผ่าน Flame cell เข้าสู่เซลล์ด้วยกระบวนการ pinocytosis

ของเสียที่ถูกก าจัดออกสู่ภายนอกเป็นสารพวกแอมโมเนีย

การขับถ่ายของพลานาเรียหรือหนอนตัวแบน

Page 14: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

อวัยวะขับถ่ายของเสียคือ เนฟริเดียม (Nephridium) พบทุกปล้อง ๆ ละ 1 คู่ เป็นท่อขดไปมา มีปลายเปิดทั้งสองข้าง ปลายข้างหนึ่งคล้ายปากแตร มีซิเลียติดตามขอบ ท าหน้าที่กรองสารต่างๆ เรียกว่า

เนโฟรสโตรม (nephrostome) อีกข้างเป็นท่อเปิดออกข้างนอกเรียกว่า รูขับถ่าย (Nephridiopore) รับของเหลวพวกแอมโมเนีย และยูเรีย เพื่อขับออกนอกร่างกาย

ลักษณะการท างานของเนฟริเดียมคล้ายหน่วยไตของสัตว์มีกระดูกสันหลัง

การขับถ่ายของไส้เดือนดิน

ดูดซึมน้ าและเกลือแร่กลับเข้าสู่ระบบเลือด

ของเสียถูกก าจัดออก

หลอดขับถ่าย

หลอดพัก

Page 15: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

อวัยวะขับถ่ายของแมลง: ท่อมัลพิเกียน (Malpighian tubule)

ของเสียจากเลือดในโพรงล าตัว+เกลือแร่แพร่เข้าสู่ Malpighian tubule ด้วยกระบวนการ active transport และ passive transport

ของเหลวที่มีของเสียปนอยู่เคลื่อนเข้าทางเดินอาหารโดยการหดตัวของกล้ามเนื้อผนังมัลพิเกียนทิวบูล

ที่ทางเดินอาหาร : ดูดซึมน้ าและสารต่างๆ กลับเข้าร่างกายโดย เรกตัลแพด (Rectal pad)

ของเสียที่แมลงขับออกทางทวารหนัก : กากอาหาร กรดยูริก เกลือแร ่

การขับถ่ายของแมลง

Page 16: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ไต เป็นอวัยวะขับถ่ายของเสีย

ของเสียเป็นสารประกอบไนโตรเจนลักษณะเป็นของเหลวจ าพวกแอมโมเนีย

การขับถ่ายของปลา

Page 17: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ขับถ่ายของเสียในรูปของยูเรีย

การขับถ่ายของสัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก

Page 18: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

โครงสร้างร่างกายที่ป้องกันการสูญเสียน้ าและแร่ธาตุ มีผิวหนังหนา มีเกล็ด/ขนปกคลุม

ของเสียจากทุกส่วนของร่างกายผ่านมาทางกระแสเลือดและเข้าสูไ่ตแล้วขับออกนอกร่างกาย

ของเสียเป็นกรดยูริก

อุจจาระจิ้งจกมี 2 สี สีด าเป็นกากอาหาร สีขาวเป็นกรดยูริก

การขับถ่ายของนกและสัตว์เลื้อยคลาน

Page 19: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

อวัยวะที่ใช้ในการขับถ่ายของสิ่งมีชีวิต

สิ่งมีชีวิต โครงสร้างทีใ่ช ้โปรโตซัว อะมีบา พารามีเซียม (สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว)

เยื่อหุ้มเซลล,์ Contractile vacuole เพ่ือขับน้ าส่วนเกิน

ฟองน้ า (P. Porifera) และ ไฮดรา (P. Cnidaria)

แพร่โดยตรงเข้าเซลล ์

หนอนตัวแบน (P. Platyhelminthes)

เฟลมเซลล์ (Flame cell) ระบบ Protonephridia

ไส้เดือนดิน (P. Annelida) เนฟรเิดีย (Nephridia)

แมลง (P. Arthropoda : Insect) ท่อมัลพเิกียน (Mulphighian Tubule)

สัตว์มีกระดูกสันหลัง, คน (P. Chordata), P. Mollusca

ไต (Kidney)

Page 20: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

โครงสร้างของไต โครงสร้างระดับอวัยวะ: ไต, ท่อไต, กระเพาะปัสสาวะ, ท่อปัสสาวะ โครงสร้างระดับเซลล์: glomerulus, Bowman’s capsule, ท่อหน่วยไตส่วนต้น,

ห่วงเฮนเล, ท่อหน่วยไตส่วนท้าย, ท่อไตรวม, renal blood vessel การท างานของไต ความผิดปกติของระบบขับถ่าย

การขับถ่ายของคน

Page 21: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ไต (KIDNEY)

มี 1 คู่ รูปร่างคล้ายเม็ดถั่ว อยู่ในช่องท้องทั้งสองข้างของ

กระดูกสันหลังบริเวณเอว ยาว ≈ 10 cm กรองของเสียออกจากเลือด

โดยเฉพาะของเสียจากเมแทบอลิซึมของสารโปรตีน

ก าจัดสารส่วนเกิน ควบคุมดุลยภาพของสารใน

เลือด สร้างฮอร์โมน อิริโทรปอยอิติน

(Erythropoietin) กระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง

Page 22: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

Nephron (หน่วยไต) จ านวนมาก แต่ละข้างมีหน่วยไตประมาณ 1 ล้านหน่วย

ไตชั้นนอก (Cortex): สีจาง โครงสร้างส่วนใหญ่ของ Nephron ได้แก่ Bowman’s capsule, ท่อหน่วยไตส่วนต้น, ท่อหน่วยไตส่วนท้าย ท าหน้าท่ีกรองของเสียออกจากเลือด

ไตชั้นใน (Medulla): สีเข้มกว่าชั้น Cortex ลักษณะคล้ายพีระมิด เป็นส่วนท่ีดูดซับของดีกลับ ประกอบด้วยห่วงเฮนเล

Pelvis (กรวยไต): รวบรวมน้ าปัสสาวะให้ไหลเข้าสู่ท่อไต

ท่อไตรวม (collecting duct): พบทั้งในชั้น Cortex และ Medulla

papilla เนื้อไต

Page 23: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

เป็นท่อออกมาจากไตทั้งสองข้าง

เชื่อมต่อจากกรวยไตไปสู่กระเพาะปัสสาวะ

เส้นผ่านศูนย์กลาง ≈ 1 cm

ท าหน้าที่ล าเลียงปัสสาวะไปยังกระเพาะปัสสาวะ

ท่อไต (URETER)

Page 24: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ตั้งอยู่ในช่องท้องน้อย มีผนังยืดหดดี เป็นที่พักน้ าปัสสาวะจากท่อไตทั้งสองข้างไหล

มารวมกัน ความจุ 500 ml รูเปิดออกทางท่อปัสสาวะ มี sphincter (หู

รูด) คอยควบคุมการปิด-เปิด

กระเพาะปัสสาวะ (URINARY BLADDER)

Page 25: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

Male (ผู้ชาย) : ยาว ≈ 25 cm มีต่อมลูกหมากและท่อน า

น้ าเชื้อมาเปิด/ เป็นทางออกร่วมกับน้ าอสุจิ

เปิดออกสู่ภายนอกที่ปลายองคชาต

Female (ผู้หญิง) : ยาว ≈ 4 cm ท่อสั้นมาก โอกาสติดเชื้อง่าย

กระเพาะปัสสาวะอักเสบ กรวยไตอักเสบ

น้ าปัสสาวะเปิดออกสู่ภายนอกโดยตรง

ท่อปัสสาวะ (URETHRA)

Page 26: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

Glomerulus Bowman’s capsule ท่อของหน่วยไต (renal tubule)

Proximal Convoluted Tubule Henle’s loop Distal Convoluted Tubule

Collecting Duct Renal blood vessel

โครงสร้างระดับเซลล์ : หน่วยไต (NEPHRON)

Page 27: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

กลุ่มเส้นเลือดฝอย/ ยื่นเข้าไปในBowman’s capsule

แตกแขนงจาก afferent arteriole ท าหน้าทีก่รองของเสียออกจากเลือด Glomerulus มีเซลล์ชนิดพิเศษเรียก

podocyte ช่องว่างระหว่าง podocyte เรียก

filtration slit (slit pore) สารที่ผ่านมากับเลือดจะถูกกรองผ่าน

filtration slit ของเหลวที่ถูกกรองได้เรียก filtrate

(น้ ากรอง) เลือดที่ไม่ผ่านการกรองจะล าเลียงออก

ทาง efferent arteriole

โครงสร้างระดับเซลล์ : GLOMERULUS

Page 28: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

กระเปาะรูปถ้วยหุ้มรอบ Glomerulus Bowman’s space เป็นช่องว่างระหว่าง Bowman’s capsule และ Glomerulus เป็นทีร่องรับ filtrate แล้วไหลสู่ renal tubule (ท่อหน่วยไต)

BOWMAN’S CAPSULE

Page 29: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ท่อขดสั้นๆ อยู่ในชั้น cortex ผนังของท่อประกอบด้วย mitochondria มาก (แหล่งพลังงาน) เพราะมี

กระบวนการ active transport ดูดสารที่มีประโยชน์ เช่น กลูโคส กรดอะมิโน Microvilli มาก ช่วยเพ่ิมพื้นท่ีดูดสารต่างๆ กลับ

PROXIMAL CONVOLUTED TUBULE (ท่อขดส่วนต้น)

Page 30: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

HENLE’S LOOP (ห่วงเฮนเล) ห่วงรูปท่อตัว U/ ท่อโค้งลงสู่ medulla

แล้ววกกลับขึ้นสู่ชั้น cortex

ท่อเรียงตัวลึกลงในท่อไต

มี vasa recta เรียงตัวขนานกับห่วง

อาศัย countercurrent mechanism ในการดูดซึมสารกลับ

ประกอบด้วย

Descending limb (ท่อตัว U ขาลง)

ไม่ยอมให้ NaCl ผ่าน

ยอมให้ H2O ผ่าน

Ascending limb (ท่อตัว U ขาขึ้น)

thin segment : ยอมให้ NaCl ผ่าน ไม่ยอมให้ H2O ผ่าน

thick segment : ยอมให้ NaCl ผ่าน ไม่ยอมให้ H2O ผ่าน

Page 31: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ท่อขดไปมาคล้ายท่อขดส่วนต้น อยู่ถัดจากห่วงเฮนเลเข้ามาในเนื้อไตชั้นคอร์เท็กซ์ ฮอร์โมนวาโซเปรสซิน/ADH จากต่อมใต้สมองส่วนท้ายมาเพ่ิมการดูดกลับน้ า ฮอร์โมน Aldosterone จากต่อมหมวกไตชั้นนอก มามีผลต่อการดูดกลับโซเดียมอิออน ตอนปลายเปิดเข้าสู่ท่อรวม (collecting duct) ซึ่งรับของเหลวจากท่อหน่วยไตส่งไป

ทางกรวยไต

DISTAL CONVOLUTED TUBULE (ท่อขดไตส่วนท้าย)

Page 32: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ท่อรวมน้ าปัสสาวะจาก nephron อื่น เมื่อของเหลวที่กรองได้ผ่านมาถึงต าแหน่งนี้ เรียกว่า น้ าปัสสาวะ (Urine) น้ าปัสสาวะจะเปิดเข้าสู่กรวยไต (Renal pelvis) ไปสู่ท่อไต (Ureter) ซึ่งน าน้ าปัสสาวะ

ไปเก็บสะสมในกระเพาะปัสสาวะ เพ่ือรอการขับทิ้ง

COLLECTING DUCT (ท่อรวม)

Page 33: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

RENAL BLOOD VESSEL

http://humananatomylesson.com/blood-supply-of-the-kidney/

Page 34: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

Abdominal aorta : เป็นส่วนของ aorta อยู่ในช่องท้อง, น าเลือดจากหัวใจไปเลี้ยงอวัยวะภายในช่องท้อง

Renal artery : แยกไปไตซ้ายและขวา, น าเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของไต Afferent arteriole : วิ่งเข้า Bowman’s capsule, มี juxtaglomerular cell ผลิต

renin ที่ควบคุมความดันเลือด, แตกแขนงเป็น glomerulus Glomerulus : กลุ่มเส้นเลือดฝอย ท าหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือด Efferent arteriole : วิ่งออกจาก Bowman’s capsule, แตกแขนงเป็นเส้นเลือดฝอย

พันรอบหน่วยไต peritubular capillaries (juxtamedullary nephron vasa recta ) : พันรอบ

renal tubule, ท าหน้าที่ดูด/หลั่งสาร, รักษา hyperosmolarity renal vein : แยกไปไตซ้ายขวา, รับเลือดจากไตทั้งสองข้างเข้าเส้นเลือดด าใหญ่ Inferior vena cava : รับเลือดจาก renal vein ทั้งสองข้างจากไต, น าเลือดไปยัง

หัวใจ

RENAL BLOOD VESSEL

Page 35: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

กรองของเสียออกจากเลือด และก าจัดออกเป็นน้ าปัสสาวะ

กระบวนการเกิดน้ าปัสสาวะ 3 กระบวนการ

การกรองที่โกลเมอรูลัส (glomerular filtration)

การดูดกลับที่ท่อของหน่วยไต (tubular reabsorption)

การหลั่งสารที่ท่อของหน่วยไต (tubular secretion)

กลไกการท างานของหน่วยไต

Page 36: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

Ultrafiltration (แยกสารเฉพาะที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ออกจากสารละลาย)

ความเข้มข้นสูงกว่าเส้นเลือดฝอยทั่วไป 2 เท่า เลือดจาก afferent arteriole จะถูกกรองผ่าน

glomerulus เม็ดเลือดและสารโมเลกุลขนาดใหญ่จะไม่ผ่านการ

กรอง สารที่กรองได้คล้ายกับ plasma น้ ากรอง (filtrate): พบ: H2O, amino acid, glucose, เกลือแร่ (Na

K Cl), vitamin, hormone, urea, uric acid ไม่พบ: RBC, Hb, albumin, globulin,

prothrombin, fibrinogen WBC: เคลื่อนที่แบบอะมีบาลอดผ่าน

glomerulus ได ้

การกรองทีโ่กลเมอรูลัส (GLOMERULAR FILTRATION)

Page 37: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

เซลล์เยื่อบุผิวที่ท่อของหน่วยไตมีบทบาทในการดูดสารกลับเนื่องจากมี microvilli และมี Mitochondria มาก

proximal tubule: ดูดกลับกลูโคส กรดอะมิโน วิตามิน และ NaCl (Active transport) ส่วน น้ า K+ และ HCO3

- (Passive transport) ห่วงเฮนเลส่วนวกลง: ดูดน้ ากลับโดยวิธี Osmosis ห่วงเฮนเลส่วนวกขึ้น: ดูด NaCl กลับ ทั้งแบบ Active transport และ Passive

transport Distal tubule: ดูดน้ ากลับ แบบ Passive transport ส่วน NaCl และ HCO3

- ดูดกลับแบบ Active transport

Collecting Duct: ดูดน้ ากลับโดยวิธี Osmosis ยอมให้ยูเรียผ่านออกโดยการแพร่ การดูดสารกลับถูกควบคุมด้วยฮอร์โมน Aldosterone หลั่งจากชั้นคอร์เทกซ์ของต่อม

หมวดไต กระตุ้น Distal tubule และ Collecting Duct ให้เพ่ิมการดูด H2O และ Na+ กลับคืนเลือด

การดูดกลับที่ท่อของหน่วยไต (TUBULAR REABSORPTION)

Page 38: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

สารบางชนิดหลั่งจากเลือดเข้าสู่ของเหลวที่กรองได้ในทิวบูล

proximal tubule: มีการหลั่ง H+, K+, NH+4

H+: เพ่ือรักษาระดับ pH ในของเหลวในร่างกายให้คงที่

K+: เมื่อความเข้มข้นของ K+ สูงเกินไปเพราะท าให้การส่งกระแสประสาทบกพร่องและความแรงในการหดตัวของกล้ามเนื้อลดลง

Distal tubule: มีการหลั่ง H+, K+, ยาบางชนิดเช่น เพนิซิลลิน และยาพิษ

K+: ควบคุมระดับความเข้มข้นของ K+ และ Na+ ในร่างกาย แปรผันการหลั่ง K+ และการดูดกลับ Na+

H+: เพ่ือควบคุม pH ในเลือด โดยควบคุมการหลั่ง H+ และการดูดกลับ HCO3-

การหลั่งสารที่ท่อของหน่วยไต (TUBULAR SECRETION)

Page 39: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

การดูดกลับและการหลั่งสารที่ท่อของหน่วยไต

Page 40: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

การดูดกลับและการหลั่งสารที่ท่อของหน่วยไต

Page 41: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

องค์ประกอบของสารที่ตรวจพบในบริเวณต่างๆ

ต าแหน่ง องค์ประกอบของสารที่ตรวจพบ Glomerulus เม็ดเลือด, โปรตีน, กรดอะมิโน, กลูโคส, ยูเรีย, น้ าและแร่ธาต ุ

Bowman’s capsule กรดอะมิโน, กลูโคส, ยูเรีย, น้ าและแร่ธาต ุ

Proximal tubule กรดอะมิโน, กลูโคส, ยูเรีย, น้ าและแร่ธาต ุ

Loop of Henle ยูเรีย, น้ าและแร่ธาต ุ

Distal tubule ยูเรีย, น้ าและแร่ธาต ุ

Urine ยูเรีย, น้ าและแร่ธาต ุ

Page 42: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ตารางเปรียบเทียบสารต่างๆ จากพลาสมา โกลเมอรูลัส และปัสสาวะ

Page 43: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

รักษาสมดุลน้ าในร่างกาย: ขับปัสสาวะเพ่ือควบคุมน้ า เกิดจากฮอร์โมน Antidiuretic (ADH) ควบคุมการดูดกลับของน้ าที่ท่อหน่วยไตและท่อรวม

ร่างกายขาดน้ า: ADH หลั่งมาก ดูดน้ ากลับมาก ปัสสาวะสีเหลืองจัด กระหายน้ า

ร่างกายมีน้ ามาก: ADH หลั่งน้อย ดูดน้ ากลับน้อย ปัสสาวะสีจาง

รักษาสมดุลเกลือแร่ของร่างกาย: โดยฮอร์โมน Aldosterone กระตุ้นการดูดกลับของแร่ธาตุ ถ้าขาดฮอร์โมนนี้ปัสสาวะมีแร่ธาตุมาก เรียกว่า เบาเค็ม

การรักษาระดับ pH ของร่างกาย: ร่างกายผลิตกรดทุกวัน การคั่งของกรดท าให้เบื่ออาหาร ไตเสื่อมสภาพ ปัสสาวะเป็นกรด

ควบคุมความดันโลหิต: ความดันโลหิตสูงเกิดจากความผิดปกติของการควบคุมสมดุลน้ าและเกลือแร่

ผลิตและควบคุมการท างานของฮอร์โมน: เช่น Vitamin D ช่วยสร้างกระดูก

หน้าที่ของไต

Page 44: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

โพรทิสต ์: ก าจัดของเสียออกทางเยื่อหุ้มเซลล์

โพรทิสต์น้ าจืดบางชนิด : พารามีเซียมน้ าจืด และอะมีบาน้ าจืด มี contractile vacuole หดตัวไล่น้ าส่วนเกินที่ออสโมซิสเข้ามาให้ออกไป

สัตว ์: ป้องกันการสูญเสียน้ าโดยมีเกล็ด และสร้างปัสสาวะปริมาณน้อยและ สังเกตจาก Bowman’s capsule เล็ก หรือ loop of Henle ยาว

คน : รักษาสมดุลของน้ าโดยสมองส่วน hypothalamus และ kidney

การรักษาสมดุลของน้ า

Page 45: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

การรักษาสมดุลของน้ า

Page 46: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

ปลาน้ าจืด: สภาพแวดล้อมเป็น hypotonic จึงมีกระบวนการป้องกันน้ าเข้าตัว และกันเกลือแพร่ออก เช่น มีเกล็ด ปัสสาวะเจือจางและบ่อย มี active transport ท่ีเหงือก ทวารหนักดูดเกลือกลับคืน

ปลาน้ าเค็ม: สิ่งแวดล้อมเป็น hypertonic จึงมีกระบวนการป้องกันเกลือแพร่เข้ามา และน้ าทะลักออก เช่น มีเกล็ด ปัสสาวะเข้มข้น มี active transport ขับเกลือแร่ออกที่เหงือกและทวารหนัก

สัตว์ทะเลอื่น: มีของเหลวในร่างกาย isotonic ต่อน้ าทะเล เช่น แมงกะพรุน ปลาดาว

นก: มีต่อมนาสิกหรือต่อมเกลือ (nasal gland, salt gland) ขับเกลือส่วนเกินออกบริเวณจมูก

การรักษาสมดุลเกลือแร่

Page 47: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

การรักษาสมดุลเกลือแร่

Page 48: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

คน: ผิวหนังเป็นเซนเซอร์รับอุณหภูมิ แล้วส่งข้อมูลไปให้สมองส่วนไฮโพทาลามัสควบคุม

T สูง: หลอดเลือดฝอยที่ผิวหนังขยายตัว มีการขับเหงื่อ เส้นขนเอนราบ ลดอัตรา metabolism

T ต่ า: หลอดเลือดฝอยที่ผิวหนังหดตัว ขนลุกชัน กล้ามเนื้อสั่นเทิ้ม เพิ่มอัตรา metabolism

การรักษาสมดุลอุณหภูมิ

Page 49: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

การจ าศีลสัตว์เลือดเย็น: มีอัตราการหายใจและการเต้นของหัวใจต่ ามาก เช่น กบ

การจ าศีลของสัตว์เลือดอุ่น: การเปลี่ยนแปลงในร่างกายน้อยมาก เช่น หนูและค้างคาวบางชนิด

สัตว์เลือดอุ่นไม่ได้จ าศีลแต่หลับในฤดูหนาว เช่น หมีขั้วโลก สกั๊งค ์

การรักษาสมดุลอุณหภูมิ

Page 50: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560

รักษา pH พลาสมาให้อยู่ที่ประมาณ 7.4 มี 3 กระบวนการ

ระบบหายใจ: มี CO2 หรือ H+ เป็นตัวกระตุ้นพอนส์และเมดัลลา

ระบบขับถ่าย: ใช้ไต เช่นการขับ H+ ออกหรือดูดกลับ HCO3- เข้า

ระบบบัฟเฟอร์: สารเคมีในเลือดท าปฏิกิริยาเพื่อปรับ pH เช่น คู่สาร H2CO3 / HCO3

- คู่สาร H2PO4- / HPO4

2- หรือโปรตีน เช่น hemoglobin

ก าลังในการรักษา pH: ไต (ออกเยอะ) > หายใจ (ออกทีละน้อย) > บัฟเฟอร์ (ปฏิกิริยาเคมี)

ความเร็วในการรักษา pH: บัฟเฟอร์ (วินาท)ี > หายใจ (นาท)ี > ไต (ชั่วโมง)

การรักษาสมดุลกรดเบส

Page 51: ระบบขับถ่าย (T) 1 2560