03 rc design concept.pdf

14
Page 1

Upload: ebsmsart

Post on 01-Dec-2015

535 views

Category:

Documents


7 download

DESCRIPTION

03 RC Design Concept

TRANSCRIPT

Page 1: 03 RC Design Concept.pdf

Page 1

Page 2: 03 RC Design Concept.pdf

Page 2

RC Design

1) Working Stress Design

วิธีหนวยแรงใชงาน

มาตรฐาน ACI 318-63 หรือ

ว.ส.ท. 1007-34

พ้ืนฐานแนวคิดจากการจัดใหขนาดของ

องคอาคาร และปริมาณของเหล็กเสริม

ซึ่งเมื่อรับน้ําหนักบรรทุกใชงานแลว

หนวยแรงที่เกิดข้ึนตองไมเกินคาที่ยอม

ใหสําหรับคอนกรีต และเหล็กเสริมโดยมี

คาอัตราสวนความปลอดภัย (Factor

of Safety)

2) Ultimate Strength Design

วิธีกําลัง

มาตรฐาน ACI 318-71 และ

318-89 หรือ ว.ส.ท. 1008-38

แนวคิดใหมนี้ไดพบวา วิธีการออกแบบ

โดยวิธีหนวยแรงใชงานมีขอสังเกตหลาย

ประการทีไ่มตอบสนองวิธีการออกแบบ

ภาระรับแรงสูงสุดไดจากการจัดน้ําหนัก

บรรทุกประลัย (U)

อัตราสวนความปลอดภัยของวัสดุตาง ๆ

มีคาไมเทากัน

วิธีการของหนวยแรงใชงานไมสามารถ

พิจารณาคุณภาพของการกอสรางได

Page 3: 03 RC Design Concept.pdf

Page 3

RC Design

1) Working Stress Design

วิธีหนวยแรงใชงาน

W ≥ DL + LL

W = 45% of Ultimate Strength

= 37.5% พรบ.กรุงเทพฯ 2522

= 65 ksc คอนกรีตที่ไมไดทดสอบ

2) Ultimate Strength Design

วิธีกําลัง

U ≥ 1.7DL + 2.0LL (วสท)

U ≥ 1.4DL + 1.7LL (กทม)

U = Ultimate Strength at Yield

มาตรฐานใหมเปนแบบการกําหนดกําลัง

และเพ่ิมน้ําหนักบรรทุกที่เรียกกันวาเปน

LRFD (Load and Resistant

Factor Design)

Page 4: 03 RC Design Concept.pdf

Page 4

RC Design

Summary การออกแบบอาคารในประเทศไทยมีอยู 2 วิธีหลัก คําตอบที่ไดคือผลของการออกแบบ

อาจเทียบกันไดตามความจริงของตัวเลขแตไมสามารถเปรียบเทียบกันไดตามความเปน

จริงทางวิศวกรรม เนื่องจากแนวคิดในการออกแบบไมเหมือนกัน วิศวกรและสถาปนิก

จึงควรเปนผูมีความสามารถในการกําหนดวิธีการออกแบบใหเหมาะสมกับความ

ตองการของการใชอาคาร

แตหากพิจารณาถึงความปลอดภัยในเกณฑคุณภาพของงานปกติ วิธีการออกแบบโดย

กําลังมีแนวโนมที่จะใหคําตอบที่ใกลเคียงพฤติกรรมจริง และมีขนาดเล็กลงและย่ิงเมื่อไป

พิจารณาถึง ACI 318-95 (ลาสุดจะมีฉบับป 2001แลว) มีแนวโนมวาจะพิจารณาใช

วัสดุใหส้ินเปลืองนอยลง เชน ยอมใหกิดรอยราวในคอนกรีตสวนรับแรงดึงไดในกรณีที่

ทําการทดสอบ การับน้ําหนักบรรทุกทดสอบขององคอาคารในขณะที่ ACI 318 -89

ไมยินยอม หรือแนวโนมของการพิจารณาใหองคอาคารมพีฤติกรรมตามที่ผูออกแบบ

ตองการตามปจจัย และสภาพของอาคารนั้น ๆ

Page 5: 03 RC Design Concept.pdf

Page 5

RC Design

Summary งานออกแบบของประเทศไทยกวารอยละ 90 ไดรับการออกแบบโดยใชวิธีหนวยแรงใช

งาน ซึ่งเหตุสําคัญ 2-3 ประการ คือ การกําหนดคาน้ําหนักบรรทุกออกแบบตาม

กฎหมายที่สูงเกินไปจึงไมจูงใจใหตอง คํานวณออกแบบตามวิธีกําลัง อีกทั้งการ

วิเคราะหโครงสรางโดยวิธีกําลังสรางความยุงยากมากข้ึนเนื่องจากตอง แยกคํานวณ

น้ําหนักบรรทุกแตละประเภท ในขณะที่วิธีหนวยแรงใชงานไมตองทํา ย่ิงไปกวานั้นก็คือ

แบบมาตรฐานที่ใชอยูในสวนราชการเกือบทั้งหมดออกแบบดวยวิธีหนวยแรงใชงาน

สําหรับตัววิศวกรและสถาปนิกเองตองพิจารณาศึกษาหาความรูเพ่ิมเติมใหทันสมัย

เพราะโอกาสของงานวิศวกรรมและการกอสรางแมวาจะมีอยูมากมายในอนาคตที่เปน

ขาข้ึนของเศรษฐกิจ แตสํารองไวใหกับผูมีทักษะดีและรูเทาทันเทคโนโลยีสมัยใหมเทานั้น

Page 6: 03 RC Design Concept.pdf

Page 6

Page 7: 03 RC Design Concept.pdf

Page 7

Page 8: 03 RC Design Concept.pdf

Page 8

Page 9: 03 RC Design Concept.pdf

Page 9

Page 10: 03 RC Design Concept.pdf

Page 10

Page 11: 03 RC Design Concept.pdf

Page 11

Page 12: 03 RC Design Concept.pdf

Page 12

Page 13: 03 RC Design Concept.pdf

Page 13

Dead Load (DL) นํ้าหนักบรรทุกคงท่ี (Dead Load : DL) หมายถึงนํ้าหนักบรรทุกท่ีกระทําอยูกับท่ี คงท่ีตายตัว ไมมีการเคล่ือนยายหรือ

เปล่ียนแปลงขนาดของนํ้าหนัก ถาจะใหเห็นลักษณะท่ีชัดเจนก็คือชิ้นสวนของโครงสรางของอาคารน่ันเอง ซึ่งไดแก เสา คาน

พื้น หลังคา ผนัง บันได กระเบ้ืองปูพื้น พื้นสําเร็จรูป และคอนกรีตทับหนาของพ้ืนสําเร็จรูป เปนตน แลวเราจะรูไดอยางไรวา

ชิ้นสวนของอาคารเหลาน้ันมันมีนํ้าหนักเทาไหร แตไมตองกังวล เพราะนํ้าหนักตางๆเหลาน้ันเขาไดมีการทดสอบมาเปนท่ี

เรียบรอยแลว เพียงแตเราทราบขนาดหรือพื้นท่ีของชิ้นสวนน้ันๆ ก็จะสามารถทราบนํ้าหนักคงท่ีโดยคราวๆไดแลว ซึ่ง

นํ้าหนักคงท่ีของวัสดุตางๆ มีขอมูลนํ้าหนักตอหนวยโดยประมาณ ดังแสดงไวในตารางตอไปน้ี

น้ําหนักบรรทุกคงท่ีของวัสดุ หนวยน้ําหนักโดยประมาณ 1. คอนกรีตเสริมเหล็ก 2300- 2400 กก./ลบ.ม.

2. เหล็ก 7700 – 7900 กก./ลบ.ม.

3. ไม 460 – 490 กก./ลบ.ม.

4. กระจก 2900 – 3000 กก./ลบ.ม.

5. น้ํา 1000 กก./ลบ.ม.

6. ผนังอิฐบล็อกรวมฉาบหนา 10 ซม. 120 – 150 กก./ตร.ม.

7. ผนังอิฐมอญรวมฉาบหนา 10 ซม. 180 – 200 กก./ตร.ม.

8. ผนังอิฐบล็อกมวลเบารวมฉาบหนา 10 ซม. 90 – 100 กก./ตร.ม.

9. ผนังเบา เชน ไมอัด, ยิปซั่ม รวมโครงคราว 20 – 40 กก./ตร.ม.

10. หลังคากระเบื้องลอนคู, ลอนเล็ก รวมแป 12 – 15 กก./ตร.ม.

11. หลังคากระเบื้องโมเนีย, ดินเผาเคลือบ รวมระแนง 50 – 70 กก./ตร.ม.

12. โครงสรางหลังคา 20 – 50 กก./ตร.ม.

13. ฝาเพดาน รวมโครงคราว 15 – 20 กก./ตร.ม.

14. พื้นไมรวมตง 30 – 50 กก./ตร.ม.

15. พื้นสําเร็จรูปรวมคอนกรีตทับหนา รวมหนา 10 ซม. 240 – 260 กก./ตร.ม.

16. กระเบื้องปูพื้นรวมปูนทราย หนา 5 ซม. 120 – 150 กก./ตร.ม.

Page 14: 03 RC Design Concept.pdf

Page 14

Live Load (LL) นํ้าหนักบรรทุกจร (Live Load : LL) หมายถึง นํ้าหนักบรรทุกท่ีเปนลักษณะมีการเคล่ือนยาย เคล่ือนท่ี หรือมีการ

เปล่ียนแปลงขนาดนํ้าหนักอยูตลอดเวลา หรืออยูชั่วคราว เชน รถยนต หิมะ แรงลม ผูคนท่ีใชอาคาร วัสดุอุปกรณ

สํานักงาน เปนตนซึ่งท้ังหมดท่ีกลาวมาเราจะสามารถสังเกตไดวา แรงกระทําเหลาน้ีจะเกิดขึ้นเปนครั้งคราว และเม่ือมีการ

เคล่ือนยายออกไป ก็จะไมมีแรงกระทําคงคาง ซึ่งตามขอกําหนดของพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 หรือ

ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร วาดวยเรื่องควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 ไดกําหนดคานํ้าหนักบรรทุกจรขั้นตํ่าเพื่อใชควบคุม

การออกแบบไวดังตารางตอไปน้ี

ประเภทการใชอาคาร

น้ําหนักบรรทุกจรขั้นตํ่า

(กก./ตร.ม.) 1. หลังคา 50

2. พื้นกันสาดหรือพื้นหลังคาคอนกรีต 100

3. ที่พักอาศัย โรงเรียนอนุบาล หองน้ํา-หองสวม 150

4. หองแถว ตึกแถว อาคารชุด หอพัก โรงแรม 200

5. สํานักงาน ธนาคาร 250

6. อาคารพาณิชย มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน 300

7. หองโถง บันไดและชองทางเดินของอาคารชุด หอพัก โรงแรม โรงพยาบาล สํานักงาน ธนาคาร 300

8. ตลาด หางสรรพสินคา หอประชุม โรงมหรสพ ภัตตาคาร หองประชุม หองอานหนังสือในหอสมุด ที่จอดรถ/เก็บรถยนตนั่ง 400

9. หองโถง บันไดและชองทางเดินของอาคารพาณิชย มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน 400

10. คลังสินคา โรงกีฬา พิพิธภัณฑ อัฒจันทร โรงพิมพ โรงงานอุตสาหกรรม หองเก็บเอกสารและพัสดุ 500

11. หองโถง บันได ชองทางเดินของตลาด หางสรรพสินคา หอประชุม โรงมหรสพ ภัตตาคาร และหอสมุด 500

12. หองเก็บหนังสือของหอสมุด 600

13. ที่จอดรถหรือเก็บรถยนตบรรทุกเปลาและรถอื่นๆ 800

14. แรงลมที่กระทําตออาคาร (กรณีไมมีเอกสารอางอิง)

– สวนของอาคารที่สูงไมเกิน 10 เมตร 50

– สวนของอาคารที่สูงกวา 10 เมตร แตไมเกิน 20 เมตร 80

– สวนของอาคารที่สูงกวา 20 เมตร แตไมเกิน 40 เมตร 120

– สวนของอาคารที่สูงกวา 40 เมตร 160