20170213 digital-archives

84
การพัฒนานวัตกรรมการให ้บริการ เอกสารจดหมายเหตุ บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ผู้อํานวยการฝ่ ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี าน ักงานพ ัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ [email protected] http://www.thailibrary.in.th http://facebook.com/boonlert.aroonpiboon

Upload: boonlert-aroonpiboon

Post on 09-Apr-2017

1.705 views

Category:

Technology


0 download

TRANSCRIPT

การพัฒนานวตักรรมการใหบ้รกิารเอกสารจดหมายเหตุ

บญุเลศิ อรณุพบิลูย ์ผูอ้ํานวยการฝ่ายบรกิารความรูท้างวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลยีสํานกังานพฒันาวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลยแีหง่ชาติ[email protected]://www.thailibrary.in.thhttp://facebook.com/boonlert.aroonpiboon

การทาํงาน• ปฏบิตังิานดา้นเทคโนโลยี

สารสนเทศ วังสระปทมุ• พัฒนาระบบ eMuseum

วังสระปทมุ• สนับสนุนการพัฒนาพพิธิภัณฑ์

สมเด็จพระพันวัสสาอยัยกิาเจา้• คณะทํางานหนังสอืเกา่พมา่

ตามพระราชดํารฯิสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุาฯ

• คณะทํางานโครงการไอทตีามพระราชดํารฯิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุาฯ

การทาํงาน• ประธานคณะทํางานประชาสมัพันธผ์า่นสือ่ออนไลน ์

สํานักงานเสรมิสรา้งเอกลักษณ์ของชาต ิสํานักปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

• ทีป่รกึษาคณะทํางานจัดการองคค์วามรูสํ้าหรับขา้ราชการผา่นสือ่ออนไลน ์สํานักงานคณะกรรมขา้ราชการพลเรอืน

• กรรมการกําหนดแนวทางการจัดการสารสนเทศเพือ่ประชาสมัพันธแ์ละสรา้งบทเรยีนออนไลนข์องศาลปกครอง

• กรรมการพัฒนาคลังขอ้มลูความรูข้องสํานักงานศาลปกครอง

• กรรมการกําหนดแนวทางในการจัดการสารสนเทศเพือ่การประชาสมัพันธข์องศาลปกครอง

• กรรมการพัฒนาศนูยว์ทิยบรกิารศาลยตุธิรรม• กรรมการพัฒนาการเรยีนรูเ้กีย่วกบักระบวนการ

ยตุธิรรมทางปกครองและวธิปีฏบิัตริาชการทีด่ผีา่นระบบอเิล็กทรอนกิส์ สํานักงานศาลปกครอง

• คณะทํางานขับเคลือ่นเครอืขา่ยจดหมายเหตุ• คณะอนุกรรมการขับเคลือ่นการใชเ้ทคโนโลยี

สารสนเทศเพือ่การศกึษา ม.ธรุกจิบัณฑติ

• อาจารยพ์เิศษ/วทิยากรสาขาวชิาบรรณารักษศาสตรแ์ละสารสนเทศศาสตร์ ม.เชยีงใหม,่ ม.หอการคา้ไทย, มศว, จฬุาลงกรณ์มหาวทิยาลัย, ม.ขอนแกน่

• อาจารยพ์เิศษการบรหิารจัดการขอ้มลู มธ.• อาจารยพ์เิศษการบรหิารจัดการจดหมายเหตแุละ

สารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม ม.ศลิปากร• ผูท้รงคณุวฒุใินคณะกรรมการประจํา

สํานักหอสมดุ ม.บรูพา และสํานักวทิยบรกิารและเทคโนโลยสีารสนเทศ มรภ.พบิลูสงคราม, หมูบ่า้นจอมบงึ, ราชนครนิทรฯ

• กรรมการดําเนนิโครงการหนังสอืเกา่ชาวสยาม • ผูท้รงคณุวฒุปิรับปรุงหลักสตูรศลิปศาสตรบัณฑติ

สารสนเทศศกึษา ม.เชยีงใหม, ม.บรูพา• คณะทํางานการพัฒนาคลังผลงานวจัิยไทย• ผูท้รงคณุวฒุใินคณะกรรมการประจํา• กรรมการการจัดหาระบบหอ้งสมดุ

ศาลปกครอง, TK Park, ม.บรูพา

การพฒันาเศรษฐกจิสงัคมดจิทิลันําไปสู.่..

วธิกีารคดิใหม ่- กระบวนการเรยีนรูใ้หม ่–กระบวนการทํางานใหม ่- โมเดลธรุกจิใหม ่-

วถิชีวีติใหม่

ประเทศไทย 1.0สงัคมเกษตรกรรม

ประเทศไทย 2.0สงัคมอตุสาหกรรมเบา

ประเทศไทย 3.0สงัคมอตุสาหกรรมหนกั

ประเทศไทย 4.0

Smithsonian Institution Archivesไดใ้หแ้นวคดิการจัดการแนวใหม ่ทีเ่รยีกวา่

More Product, Less ProcessMPLP

minimal processing

เพือ่สง่มอบ High Value Services

“แหง่ชาต”ิ

ความคาดหวงัของผูใ้ช ้ผูเ้กีย่วขอ้ง

National Palace Museum of Taiwan

ยทุธศาสตร์

๑.พัฒนาโครงสรา้งพืน้ฐานดจิทิัล

ประสทิธภิาพสงู ให ้ครอบคลมุทั่วประเทศ

เขา้ถงึ พรอ้มใช ้จา่ยได้

๒. ขบัเคลือ่นเศรษฐกจิดว้ยเทคโนโลยดีจิทิลั

ขบัเคลือ่น New S-Curve เพิม่ศกัยภาพ สรา้งธุรกจิเพิม่มูลคา่

๓. สรา้งสงัคมคณุภาพดว้ยเทคโนโลยดีจิทิลั

สรา้งการมสีว่นรว่ม การใชป้ระโยชนอ์ยา่งท ัว่ถงึ

และเทา่เทยีม

๕. พัฒนากําลังคนใหพ้รอ้มเขา้สูย่คุเศรษฐกจิและสงัคมดจิทัิลสรา้งคน สรา้งงาน

สรา้งความเขม้แข็งจากภายใน

๔. ปรบัเปลีย่นภาครฐัสูก่ารเป็นรฐับาลดจิทิลัโปรง่ใส อํานวยความสะดวก รวดเร็ว เชือ่มโยงเป็นหนึง่เดยีว

๖. สรา้งความเชือ่มัน่ในการใช ้เทคโนโลยดีจิทิลักฎระเบยีบทนัสมยั เชือ่ม ัน่ในการลงทนุ

มคีวามม ัน่คงปลอดภยั

แนวทางประชารฐัขบัเคลือ่นยทุธศาสตร์

ขยายโครงขา่ยโทรคมนาคมทีท่นัสมยั

กา้วทนัเวทโีลกดว้ยดจิทิลั

สรา้งโอกาส สรา้งความเทา่เทยีม

ยกระดบัประสทิธภิาพและประสทิธผิลสูร่ฐับาลดจิทิลั

สรา้งคนไทย 4.0 + ดจิทิลั

สรา้งระบบนเิวศดจิทิลัย ัง่ยนื เป็นทีย่อมรบัในระดบัสากล

• ประชาชนทกุกลุม่โดยเฉพาะกลุม่ผูอ้ยูอ่าศัยในพืน้ทีห่า่งไกล ผูส้งูอาย ุ และคนพกิาร สามารถเขา้ถงึและใชป้ระโยชนจ์ากเทคโนโลยดีจิทัิล

• ประชาชนทกุคนมทัีกษะการใชเ้ทคโนโลยดีจิทัิลอยา่งสรา้งสรรค์• ประชาชนสามารถเขา้ถงึ การศกึษา สาธารณสขุ และบรกิารสาธารณะ ผา่นระบบ

ดจิทัิล

๓.๑ สรา้งโอกาสและความเทา่เทยีมทางดจิทิลั

๓.๒ พฒันาการใชเ้ทคโนโลยดีจิทิลัอยา่งสรา้งสรรคแ์ละรบัผดิชอบ

๓.๓ สรา้งสือ่ คลงัสือ่และแหลง่เรยีนรูด้จิทิลั

๓.๔ เพิม่โอกาสทางการศกึษาดว้ยเทคโนโลยดีจิทิลั

๓.๕ เพิม่โอกาสการเขา้ถงึบรกิารสขุภาพดว้ยดจิทิลั

ยทุธศาสตรท์ี ่๓. สรา้งสงัคมคณุภาพดว้ยเทคโนโลยดีจิทิลั

สรา้งการมสีว่นรว่ม การใชป้ระโยชนอ์ยา่งท่ัวถงึและเทา่เทยีม

แผนงาน

เป้าหมาย

Presenter
Presentation Notes
Key Massage สร้างสังคมคุณภาพที่ทั่วถึงเท่าเทียมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (สร้างการมีส่วนร่วม การใช้ประโยชน์อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม) โดยประชาชนทุกกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเกษตรกร ผู้ที่อยู่ในชุมชนห่างไกล ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส และคนพิการ สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากบริการต่างๆ ของรัฐผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล มีการรวบรวมและแปลงข้อมูล องค์ความรู้ของประเทศทั้งระดับประเทศและระดับท้องถิ่นให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลที่ประชาชนสามารถเข้าถึงและนำไปใช้ประโยชน์ได้โดยง่ายและสะดวก โดยประชาชนมีความรู้เท่าทันข้อมูลข่าวสาร และมีทักษะในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม เป้าหมาย ประชาชนทุกกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มผู้อาศัยในพื้นที่ห่างไกล ผู้สูงอายุ และคนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล ศูนย์ดิจิทัลชุมชนทีมีบริการอุปกรณ์การเชื่อมต่อ และ Free-Wi-Fi ครอบคลุมทุกตำบลทั่วประเทศ สัดส่วนของกลุ่มผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่อายุเกิน 50 ปี เพิ่มเป็น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ภายในปี 2563 ประชาชนทุกกลุ่ม(โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส ทั้งด้านพื้นที่และข้อจำกัดด้านร่างกาย) สามารถใช้บริการภาครัฐได้โดยไม่มีข้อจำกัดด้านพื้นที่ ด้านเวลา และด้านภาษา ประชาชนทุกคนมีความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์และสร้างสรรค์ (Digital Literacy) ประชาชนสามารถเข้าถึง การศึกษา สาธารณสุข และบริการสารธารณะ ผ่านระบบดิจิทัล ประชาชนทุกวัย ทั่วประเทศสามารถเข้าถึงบริการการเรียนรู้ระบบเปิดสำหรับมหาชน (MOOCs) ได้ตามความต้องการ ประชาชนทุกพื่นที่สามารถเข้าถึงบริการด้านการให้คำแนะนำด้านสุขภาพ และวินิจฉัยโรคเบื้องต้น ประชาชนทุกพื้นที่สามารถเข้าถึงบริการแบบ one stop service ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันตลอดทุกช่วงอายุตั้งแต่เกิดจนตาย ผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล แผนงาน สร้างโอกาสและความเท่าเทียมในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มผู้พิการกลุ่มผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ห่างไกล สนับสนุนด้านเทคโนโลยีดิจิทัลหรือเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกให้แก่คนพิการ และกำหนดให้สื่อดิจิทัล การพัฒนาเว็บไซต์ แอปพลิเคชั่น และบริการอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ของรัฐต้องพัฒนาตามหลักการออกแบบที่เป็นสากล ขยายผลศูนย์สารสนเทศชุมชนไปสู่ทุกตำบลให้เป็นศูนย์บริการของชุมชนที่มีการบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานภาครัฐทั้งส่วนกลางและท้องถิ่น สามารถให้บริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ เป็นจุดรับบริการภาครัฐ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจและประกอบอาชีพผ่านระบบออนไลน์ของชุมชน และพื้นที่ของชุมชนในการทำกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเน้นบริการด้านการศึกษา การเกษตร การดูแลสุขภาพ การค้าขาย การบริการท่องเที่ยว สิทธิและสวัสดิการสังคม พัฒนาศักยภาพของประชาชนในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์และสร้างสรรค์ รวมถึงความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และแยกแยะข้อมูลข่าวสารในสังคมดิจิทัลที่เปิดกว้างและเสรี เพิ่มศักยภาพและทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์และสร้างสรรค์ของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ม ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ผ่านการอบรมโดยศูนย์ดิจิทัลชุมชนร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร และจัดให้มีการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลขั้นพื้นฐานสำหรับคนกลุ่มต่างๆ ส่งเสริมแนวปฏิบัติที่ดีในโลกดิจิทัล โดยบรรจุเรื่องการรู้เท่าทันสื่อที่เป็นมาตรฐานลงไปในหลักสูตรการศึกษาทุกระดับ ดำเนินการวัดระดับการรู้เท่าทันสื่อตามเกณฑ์ที่กำหนดให้ชัดเจน รณรงค์ให้เกิดความรู้ด้านการรู้เท่าทันสื่อในวงกว้าง โดยมุ่งเน้นในเรื่องความสามารถในการแยกแยะ วิเคราะห์สื่อและข้อมูลข่าวสาร การใช้เทคโนโลยีอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม และการไม่ละเมิดสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา สร้างกลไกติดตามข้อมูลข่าวสารออนไลน์ สำหรับเฝ้าระวังข้อมูลที่เป็นอันตรายต่อสังคมแบบทันสถานการณ์ (real time) เช่น ความเชื่อที่ผิดในเรื่องอาหารและยา สื่อลามกอนาจารเด็ก ข้อมูลเท็จ และกระแสข่าวที่ทำให้สังคมตื่นตระหนก ฯลฯ เพื่อส่งต่อไปให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่สังคม สร้างสื่อ คลังสื่อ และแหล่งเรียนรู้ดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ประชาชนเข้าถึงได้อย่างสะดวก ผ่านทั้งระบบโทรคมนาคม ระบบแพร่ภาพกระจายเสียง และสื่อหลอมรวม กำหนดให้หน่วยงานเจ้าของข้อมูลต่างๆ เช่น เอกสารสำคัญของราชการ ข้อมูล สถิติ ความรู้เชิงอาชีพ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และสาระบันเทิงต่างๆ เป็นต้น เร่งผลิตหรือแปลงข้อมูล ข่าวสาร องค์ความรู้ ของหน่วยงานให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล และเปิดให้ประชาชนเข้าถึง สืบค้นได้ รวมถึงมีกลไกที่อนุญาตให้ประชาชน หรือธุรกิจสามารถนำข้อมูลไปต่อยอดใช้ประโยชน์ ร้างและส่งเสริมให้เกิดแหล่งความรู้ดิจิทัลทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่นเพื่อเป็นแหล่งความรู้ที่น่าเชื่อถือของสังคมไทย โดยมีมาตรการเช่น การสร้างเครือข่ายผู้พัฒนาแหล่งความรู้ การให้ทุนสนับสนุนการดำเนินการ การจัดหาแพลตฟอร์ม การรับรองความน่าเชื่อถือของข้อมูลและองค์ความรู้ การบูรณาการแหล่งความรู้เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลและความรู้ได้ง่าย เป็นต้น ส่งเสริมให้ภาคเอกชนและภาคประชาชนผลิตสื่อดิจิทัลที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ เช่น การผลิตสื่อผ่านกิจกรรมที่รับผิดชอบต่อสังคมโดยหน่วยงานเอกชน หรือการผลิตสื่อภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยประชาชนและชุมชน โดยสื่อที่เกิดใหม่จะต้องรองรับความหลากหลายในสังคม ทั้งด้านภาษา วัฒนธรรม สภาพร่างกาย พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ฐานะทางเศรษฐกิจ และการเป็นประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก ฒนาแพลตฟอร์มสำหรับรวบรวมข้อมูล องค์ความรู้ ความสามารถของบุคคล โดยเฉพาะบุคลากรหลังเกษียณอายุ ปราชญ์ชุมชน นักวิชาการ และผู้มีจิตอาสา ให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เรียนรู้ร่วมกัน และถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์จากรุ่นสู่รุ่น จากชุมชนสู่ชุมชน นำไปสู่เศรษฐกิจและสังคมแห่งการแบ่งปัน เพิ่มโอกาสการในการเรียนรู้และการได้รับบริการ การศึกษาที่มีมาตรฐานของนักเรียนและประชาชน แบบทุกวัย ทุกที่ ทุกเวลา ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล บูรณาการการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้าสู่โรงเรียนในพื้นที่ห่างไกลชายขอบ เช่น โรงเรียนในพื้นที่ห่างไกลและเดินทางลำบาก โรงเรียนในพื้นที่ชายแดน โรงเรียนในพื้นที่ที่มีความขัดแย้งสูง โดยการบูรณาการจะรวมถึงเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมและแพร่ภาพกระจายเสียง และเทคโนโลยีการศึกษาผ่านระบบอินเทอร์เน็ตที่เอื้อต่อการศึกษาและเรียนรู้ของนักเรียน ประชาชนและชุมชน พัฒนาและส่งเสริมบริการการเรียนรู้ผ่านระบบเปิดสำหรับมหาชน (Massive open online course: MOOC) ที่ครอบคลุมถึงหลักสูตรเสริมการศึกษาในระบบโรงเรียนประถมและมัธยม หลักสูตรด้านอาชีวศึกษา หลักสูตรในระดับมหาวิทยาลัยที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ข้ามสถาบันการศึกษาได้ หลักสูตรสำหรับอาเซียน ไปจนถึงหลักสูตรเพื่อประชาชนทั่วไปที่ต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมตลอดชีวิตตามความสนใจ และการสร้างกลไกความร่วมมือหน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาขน และภาคประชนชนให้เกิดการขับเคลื่อนงานด้านนี้ในระดับชาติ ผลิตสื่อ และคลังสื่อสาระออนไลน์เพื่อการศึกษาเรียนรู้ ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้อง หรือใช้ระบบลิขสิทธิ์แบบเปิด รวมถึงการอบรมให้ครูและผู้สนใจมีทักษะด้านการผลิตสื่อออนไลน์ เพื่อให้เกิดการต่อยอดการทำสื่อการเรียนรู้ทั้งในระบบ และนอกระบบการศึกษา เพิ่มโอกาสการได้รับบริการทางการแพทย์และสุขภาพที่ทันสมัย ทั่วถึง และเท่าเทียม รองรับการเข้าสู่สังคมสูงวัยด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล บูรณาการระบบประวัติสุขภาพผู้ป่วยอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเชื่อมต่อกันทั่วประเทศที่ประชาชนสามารถเข้าถึงและบริหารจัดการข้อมูลสุขภาพของตนได้ เพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้ารับการรักษา และเป็นข้อมูลสำคัญประกอบการรักษากรณีฉุกเฉิน บูรณาการและส่งเสริมให้เกิดการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม ที่ครอบคลุมถึงระบบการให้บริการแพทย์ทางไกล (telemedicine) การสร้างพื้นที่ปรึกษาปัญหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเฝ้าระวังและสื่อสารเตือนภัยด้านสุขภารวมไปถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อสุขภาพในรูปแบบใหม่ เพื่อสนับสนุนการมีสุขภาพ สุขภาวะที่ดี หรือแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนในพื้นที่ห่างไกล กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้พิการ เร่งจัดทำนโยบายและแผนการดำเนินการการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่สังคมสูงวัย โดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางด้านการแพทย์ เทคโนโลยีดิจิทัล วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการพัฒนาสังคม

แหลง่เรยีนรูด้จิทิลั

L

A

M

Library

G

Archive

Museum

Gallery

Digital-based

แหลง่เรยีนรูด้จิทิลั

L

A

M

Library

G

Archive

Museum

Gallery

Digital-based= หรอื ≠

Electronic-based

E or D ?

สรา้งเอกสารดว้ย Computer

Trends in Archival Processing• Born-digital Materials• Application of MPLP• Faster, Better, Cheaper and more Open and Reusable• GLAM Interoperability• Risk Management• Collaboration & Communities

คําถามชวนคดิ ประเด็นชวนคยุ• ทา่นเลอืกบนัทกึเอกสารในฟอรแ์มต JPG หรอื TIF

• ทา่นเลอืกบนัทกึ JPG โดยกําหนดคา่ Quality สงูสดุ แบบ Baseline Standard ทกุครัง้

• ทา่นรูว้า่เครือ่งพมิพทํ์างานดว้ยส ีCMYK

• ทา่นกําหนดเมทาดาทาของภาพชดุ IPTC ทกุครัง้

• เอกสาร PDF ทา่นเลอืกใช ้แบบ PDF/A

• มาตรฐาน/แนวปฏบิตักิารแปลงดจิทิลัทรัพยากรจดหมายเหตุ

• มาตรฐาน/แนวปฏบิตักิารสรา้งเอกสารดจิทิลัและอนุรักษ์ทรัพยากรจดหมายเหตดุจิทิลั

• ประเภทเอกสารจดหมายเหตุในยคุดจิทิลั

สือ่ในรปูแบบกระดาษ• สแกน

• ตอ้งตัง้โหมด CMYK• ฟอรแ์มต JPG 300dpi (แนะนํา 600dpi)• และบนัทกึแบบ High Quality / Based-line Standard• กรณีทีภ่าพมขีนาดตํา่กวา่ 5 นิว้ จะตอ้งสแกนดว้ยคา่อตัราสว่น 300%

• ถา่ยดว้ยกลอ้งดจิทิลั• ฟอรแ์มต JPG High Quality หรอื Raw• และบนัทกึแบบ High Quality / Based-line Standard

• กรณีนําภาพไปใช ้จะตอ้งนําภาพมาทําสําเนาและปรับคา่ DPI / JPG Options ตามเหมาะสม หรอื Based-line Optimized

สือ่ในรปูแบบกระดาษ PDF• สแกน

• ตอ้งตัง้โหมด CMYK• ความละเอยีด 300dpi (แนะนํา 600dpi)• กรณทีีภ่าพมขีนาดตํา่กวา่ 5 นิว้ จะตอ้งสแกนดว้ยคา่อตัราสว่น 300%

• ถา่ยดว้ยกลอ้งดจิทิลั• ฟอรแ์มต JPG High Quality หรอื Raw• และบนัทกึแบบ High Quality / Based-line Standard

• PDF แบบ High Quality • PDF แบบ Medium Quality หรอื Low /A• PDF/X เพือ่สง่พมิพโ์รงพมิพใ์นโหมด CMYK• PDF/E เพือ่งานวศิวกรรม

https://oer.learn.in.th/search_detail/result/31398

Text Born Digital• สรา้งดว้ย Word, PPT, InDesign …• ฟอรแ์มตทีต่อ้งจัดเก็บ

• ตามตน้ฉบบั .doc, docx, ppt, pptx, ai• PDF/A• Layout• ฟอนต์

• หน่วยงานราชการ ... ประกาศ TH SarabunPSK ….เอกสารสําคญัของหน่วยงานตอ้งฝังฟอนต ์(Embedded Font)

Raw Data : Storage & Backup System & Physical Space

Digital Archives / Museum

Management System

Document Management

System

Digital Library / IR – Institutional

Repository / Digital Repository

/ Research Repository / KMeLearning / ILS

ระบบปิด ระบบเปิดData Exchange & Interoperability ?

สือ่ดจิทิลักบัคลงัเอกสารดจิทิลั

Word

PDF PDF/Aฝังฟอนต์

Wordฝังฟอนต์

JPGHigh Quality

Z39.5OAI-PMH

XML Services

ประเภทเอกสารจดหมายเหต ุ... ณ วนันี้Traditional Format

• สิง่พมิพ์• ภาพถา่ย• แผนที่• วตัถตุา่งๆ

Born-Digital Format• เอกสารทีส่รา้งดว้ยโปรแกรมคอมพวิเตอร์• Microsoft Office• Adobe PhotoShop

• เอกสารทีส่ง่ออก (Export) หรอืแปลง (Convert) จากตน้ฉบบัดจิทิลั• PDF

• ภาพถา่ยจากกลอ้งถา่ยภาพดจิทิลั

• สือ่มลัตมิเีดยี

ประเด็นดจิทิลัทีค่วรใสใ่จ• Uncompressed• Unencrypted• Use standard character encoding (ASCII, UTF - 8)• Open, documented standard• Non - proprietary

ฟอรแ์มตเอกสารดจิทิลั• TIF• GIF• JPG• PNG• PDF/A• AIFF / WAV / MP3• MOV / MP4

• RTF• DOC, PPT, XLS• TXT• HTML, XML• PDF/A• ZIP / GZIP

การสแกนเอกสารดว้ย Scanner• เลอืกเครือ่งสแกนเนอรใ์หเ้หมาะสมกบัประเภทของเอกสาร• สวมใสถ่งุมอืขณะดําเนนิการ• กําหนดคา่ Config ของเครือ่งสแกนเนอรใ์หอ้ยู่ในระดบัสงู• Resolution มากกวา่ 300 dpi • โหมดส ีCMYK/RBG/Grey

• บนัทกึในฟอรแ์มต• TIFF• Best Quality JPG• PNG

• เก็บขอ้มลูไวห้ลายสําเนา

รปูแบบการสแกน

การสแกนเอกสารดว้ย Scanner

การสแกนเอกสารดว้ย Scannerกระบวนการสแกน

การสแกนเอกสารดว้ย Scannerกระบวนการตดัขอบ/หมนุ

การสแกนเอกสารดว้ย Scannerกระบวนการ Retouch + เอกสาร PDF ตน้ฉบบั

การสแกนเอกสารดว้ย Scannerกระบวนการเอกสาร PDF เผยแพร่

JPG ประเด็นทีค่วรระมัดระวงั• ภาพกราฟิกฟอรแ์มต JPG (Joint Photographer’s Experts Group)

• สนับสนุนสไีดถ้งึ 24 bit • สามารถใชง้านขา้มระบบ (Cross Platform) หมายความวา่ ระบบคอมพวิเตอรท์กุระบบ ไมว่า่จะใช ้Windows, Unix, xOSก็สามารถเรยีกใชไ้ฟลภ์าพสกลุนีไ้ด ้

• สามารถกําหนดคา่การบบีไฟลไ์ดต้ามทีต่อ้งการ ดว้ยเทคนคิการบบีอดัคงสญัญาณหลกั (Lossy compression) โดยนําบางสว่นของภาพทีซ่ํ้าซอ้นออกไป คงไวเ้ฉพาะขอ้มลูสําคญัเทา่นัน้

• มรีะบบแสดงผลแบบหยาบและคอ่ยๆ ขยายไปสูล่ะเอยีดในระบบ Progressive

• มโีปรแกรมสนับสนุนการสรา้งจํานวนมาก• เรยีกดไูดก้บั Graphics Browser ทกุตวั

JPG ประเด็นทีค่วรระมัดระวงั• ปัญหาสําคญัคอื คา่ Default ของ JPG จะบบีอดั(Compress) “คณุภาพ -Quality” ของภาพ

• ดงันัน้หากจะใช ้JPG เพือ่งานจดหมายเหต ุจะตอ้งตัง้คา่ Quality ของการบนัทกึใหเ้ป็นคา่ “สงูสดุ” ทกุครัง้

จําไวว้า่คา่ Quality จะตอ้ง “สงูสดุ”กําหนด Format Options เป็น Baseline (“Standard”)

โหมดส ีRGB หรอื CMYK

สือ่จากระบบคอมพวิเตอร์ สือ่ในระบบการพมิพ์

สขีองเครือ่งพมิพ์

การบรหิารจัดการ Born-Digital Media• ภาพถา่ยดจิทิลั

ตัง้คา่วัน/เวลาของกลอ้งถา่ยภาพดจิทัิล

ถา่ยภาพดว้ยคา่ Config ในระดบัสงู

นําภาพมาบนัทกึ IPTC, XMP Metadata

JPG ประเด็นทีค่วรระมัดระวงั• รวมทัง้การถา่ยภาพดว้ยกลอ้งถา่ยภาพดจิทิัล ก็จะตอ้งกําหนดคา่ Qualityให ้“สงูสดุ” ดว้ยเชน่กนั

สใีนระบบดจิทิลักบัชือ่เรยีก• CMYK• RGB• Web Code

การบรหิารจัดการ Born-Digital Media• เอกสารจาก Microsoft Office Word/PowerPoint

สรา้งเอกสารแบบ Style

กําหนด Metadata

บนัทกึเอกสารแบบฝังฟอนต์

สง่ออกเป็น PDF/A

ภาษาไทย ... ปัญหาใหญท่ีต่อ้งรณรงคต์อ่ไป

• คณุรูจั้ก ... Thai Encoding แลว้หรอืยงั• ANSI, TIS-620, Windows-874, UTF-8

Presenter
Presentation Notes
http://www.slideshare.net/Narawich/dtorjra

วนั/เวลา สําคญัมากนะครับ• พรบ.การกระทําความผดิทางคอมพวิเตอร์

หน่วยงาน/องคก์รของทา่นกําหนด “นโยบายเกีย่วกบัวนั/เวลา” ????

เอกสารแยกกนัเกบ็ ไมเปนระบบ

จัดเขาแฟมเอกสาร

จัดเกบ็ เขาระบบจดัเกบ็

เก็บเขาตูเอกสาร

Drive / Folder / Sub-FolderDirectory

การจัดเก็บเอกสาร

คณุบรหิารจัดการโฟลเดอรอ์ยา่งไร

มักจะเก็บทกุอยา่งไวใ้นโฟลเดอร ์Documents ???×

การจัดการโฟลเดอรท์ีค่วรทํา

ชือ่โฟลเดอรแ์ละแฟ้มเอกสาร• มักใชภ้าษาไทย• มักจะมชีอ่งวา่ง • มักมอีกัขระพเิศษผสม• ไมส่ือ่ความหมาย

หนว่ยงานของทา่นมขีอ้กาํหนดเกีย่วกบัการต ัง้ชือ่โฟลเดอรแ์ละแฟ้มเอกสาร

แลว้หรอืยงั !!!!!

ชือ่หนา้เอกสารออนไลน์• Namespace – Wiki• Pagename• Alias• Permalink• ผลกระทบตอ่การนํา URL มาอา้งองิ

คุณชอบ ...

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%97%E0%B8%B8%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0

http://th.wikipedia.org/wiki/ทุเรียน

หรือ

นโยบายเกีย่วกบัแบบอกัษร• หน่วยงานของทา่น กําหนดฟอนต ์ขนาดฟอนต ์และลักษณะฟอนตม์าตรฐานไวอ้ยา่งไร

• หน่วยงานของทา่นมขีอ้กําหนดการฝังฟอนตห์รอืไม่อยา่งไร

• หน่วยงานของทา่นมปีระกาศนโยบายการใชฟ้อนต์ทีไ่มล่ะเมดิลขิสทิธิห์รอืไม่

ตวัอกัษรแตก ฟอนตบ์นเว็บ

Thai Encoding

เอกสารเว็บของทา่นกําหนด Encoding หรอืไม่หากกําหนดระบเุป็นอะไร

Thai EncodingUTF-8, TIS-620, Windows-874

<meta http-equiv=“content-type” content=“text/html; charset=………..”>

Thai Encoding

DatabaseTIS-620

DatabaseWindows-874

DatabaseUTF-8

WebISO-8859-1

WebWindows-874

Webไมร่ะบุ

สือ่ PPT

สือ่ Word

สือ่ Excel

สือ่ Web

ปัญหา Thai Encodingกบัการเกบ็เกีย่วขอ้มลูจากฐานขอ้มลูอืน่

DSpace

DSpace

DSpace

DSpace

OAIHarvester

ฟอนตใ์นประเทศไทย• ปัญหาทีผ่า่นมา

– การใชฟ้อนตท์ีห่ลากหลายไมม่มีาตรฐานในเอกสารทางราชการ

– การใชม้าตรฐานฟอนตข์องบรษัิทเอกชนทีผ่กูขาดลขิสทิธิ์ของระบบปฏบิตังิาน ทําใหจํ้ากดัสทิธิต์า่งๆ ทีจ่ะมมีาตรฐานเอกสารเป็นเสร ีไมข่ึน้กบัระบบปฏบิตักิารใดๆ

– ปัญหาเรือ่งการฟ้องรอ้งละเมดิลขิสทิธิฟ์อนต์

• แนวทางแกไ้ข– รัฐบาลไทยประกาศใช ้“ฟอนตม์าตรฐานราชการไทย”

ฟอนตส์วยๆ ไมล่ะเมดิลขิสทิธิ์(ตวัอยา่งจากฟอนตม์าตรฐานราชการไทย)

TH Charmonman ออกแบบโดยคณุเอกลักษณ์ เพยีรพนาเวช TH Krub ออกแบบโดยคณุเอกลกัษณ์ เพยีรพนาเวช

TH Sarabun PSK ออกแบบโดย คณุศภุกจิ เฉลมิลาภ

TH Sarabun PSK

TH Sarabun New

SIPA รว่มกับกรมทรัพยส์นิทางปัญญา ไดร้ว่มกันแกไ้ขสญัญาอนุญาตฟอนต ์TH Sarabun ตัวนีใ้หมเ่ป็น GPL 2.0 + Font exception เพือ่ใหเ้ป็นฟอนตท์ีเ่สรยี ิง่ข ึน้ พรอ้มกันนีก็้ไดแ้กไ้ขจดุบกพรอ่งตา่งๆ ทีม่ใีน TH Sarabun PSK ตัวเดมิ

Default Font• การกําหนดใหฟ้อนตใ์ดๆ เป็นคา่ “กําหนด” ของโปรแกรม MS Word, MS PowerPoint หรอืโปรแกรมอืน่ๆ ในกลุม่ลกัษณะเดยีวกนั

• ไมต่อ้งเสยีเวลากบัการเลอืกเปลีย่นฟอนตท์ลีะพารากราฟ หรอืทีละสไลด์

ตวัอยา่ง Default Font ใน PPT1

2

3

ตวัอยา่ง Default Font ใน Word

บนัทกึเอกสารแบบฝังฟอนต์

Style หวัใจงานพมิพ์

Heading 1

Heading 2Heading 2Heading 2

Style หวัใจงานพมิพ์• ปรับแกไ้ขไดง้า่ย• เอกสารไมเ่สยีฟอรแ์มต• สรา้งสารบญัไดท้ันที• แปลงเป็นเอกสารเว็บ

ทีค่นตาบอดอา่นไดด้ว้ยScreen Reader ไดง้า่ย

• แปลงเป็น Digital LibraryContent มาตรฐานพรอ้มสารบญัอตัโนมัต ิ(Greenstone)

ปรับเปลีย่นวธิพีมิพง์าน• ตดัคํา ณ ตําแหน่งทีต่อ้งการ โดย

• เคาะชอ่งวา่งไปเรือ่ยๆ จนกวา่จะตดัคํา• กดปุ่ ม <Enter>• กดปุ่ ม <Shift><Enter>

• ขึน้หนา้ใหม ่ณ ตําแหน่งทีต่อ้งการ• กดปุ่ ม <Enter> ไปเรือ่ยๆ จนขึน้หนา้ใหม่• กดปุ่ ม <Ctrl><Enter>

×

××

สไลดด์ว้ยแมแ่บบสไลด์

Auto Caption

Metadata เอกสารจากMicrosoft Office• Office 2003

• File, Properties..

ประเด็นพจิารณา... แตล่ะรายการ

มหีลกัในการลงขอ้มลูอยา่งไร

สง่ออกเอกสารเป็น PDF/A

Metadata เอกสาร PDF

• Acrobat Professional• File, Properties…

• กรณีไมม่ ีAcrobatProfessional สามารถใช ้Freeware :BeCyPDFMetaEdit

BeCyPDFMetaEdit

การบรหิารจัดการ Born-Digital Media• ภาพถา่ยดจิทิลั

ตัง้คา่วัน/เวลาของกลอ้งถา่ยภาพดจิทัิล

ถา่ยภาพดว้ยคา่ Config ในระดบัสงู

นําภาพมาบนัทกึ IPTC Metadata

EXIF Image Metadata

IPTC & XMP Image Metadata

Metadata ของสือ่อืน่ๆ

Metadata & System

L

A

M

G

MARCAACR2, RDALC Subject Heading

DC !CirculationCatalogingOPAC …

Metadata

http://jennriley.com/metadatamap/

Types of MetadataLibrary Museum Archive eLearning

Data Structure MARC, DC CDWA EAD, ISAD(g) DC

Data Content AACR2, RDA CCO DACS LOM

Data Format XML XML XML XML

Data Exchange Z39.5, OAI OAI OAI OAI

ขอขอบคณุ• www.thailibrary.in.th• facebook.com/boonlert.aroonpiboon

วธิกีารคดิใหม ่กระบวนการเรยีนรูใ้หม ่กระบวนการทํางานใหม ่

โมเดลธรุกจิใหม ่ชวีติใหม่