2109101...

27
1 2109101 วัสดุวิศวกรรม การปรับปรุงสมบัติทางกลของโลหะ

Upload: others

Post on 18-Feb-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

1

2109101 วัสดุวิศวกรรม

การปรับปรุงสมบัติทางกลของโลหะ

Page 2: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

2

การปรับปรุงคุณสมบัติทางกลของโลหะ

ในที่นี้จะกลาวถึง ๒ ประเด็นคือ

• การเพิ่มความแข็งแรงใหโลหะ

• การปรับปรุงคุณสมบัติดานความเหนียว/ความแกรงของโลหะ

Page 3: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

3

การเพิ่มความแข็งแรงใหโลหะ(Strengthening Mechanisms)

• Solid solution Strengthening

• เติมธาตุผสมเขาไปใหละลายเปนสารละลายของแข็งอะตอมตัวถูกละลายจะชวย “ตรึง” ใหเนื้อพื้น (Matrix) แปรรูปยากขึ้น = แข็งแรงขึ้นเชน ทองเหลือง = ทองแดง + สังกะสี

เหล็กแอลฟา (เฟอรไรต) ที่มีคารบอนละลายอยูเหล็กที่เติม แมงกานีส, ซิลิคอน ฯลฯ

Page 4: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

4

ชนิดของสารละลายของแข็ง

Page 5: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

5

การเพิ่มความแข็งแรงใหโลหะ(Strengthening Mechanisms)

• การขึ้นรูปเย็น (Cold work)โดยเฉพาะโลหะประเภทที่ไมสามารถเพิ่มความแข็งแรงดวยวิธีอื่นไดเชน อะลูมิเนียมบริสุทธิ์ (ทางการคา), โลหะแผนตาง ๆ (เหล็กกลา, อะลูมิเนียม, ทองแดง), ลวดเหล็ก ฯลฯ

Page 6: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

6

การเพิ่มความแข็งแรงใหโลหะ(Strengthening Mechanisms)

• การทําใหเกรนละเอียด (Grain Refinement)หลักการคือ ขอบเกรน แข็งแรงกวา เนื้อเกรน⇒• โดยเฉพาะ ในโลหะหลอเชน อะลูมิเนียมหลอ เติม Ti-B เพื่อทําใหเกรนอะลูมิเนียมละเอียด

• กลไก คือ เรงการเกิดนิวเคลียส, ลดการขยายตัวของเกรน

Page 7: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

7

Page 8: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

8

การทําใหเกรนละเอียด (Grain Refinement)

Page 9: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

9

การเพิ่มความแข็งแรงใหโลหะ(Strengthening Mechanisms)

• การอบชุบความรอน/กรรมวิธีทางความรอน (Heat Treatment) ที่มีจุดประสงคเพื่อ เพิ่มความแข็งแรงของโลหะ• 1. การชุบแข็งตกตะกอน (Precipitation

Hardening) หรือการบมแข็ง (Age Hardening) มีบทบาทมากในโลหะนอกกลุมเหล็ก

• 2. Hardening of Steel = การทําใหเหล็กแข็งโดยเปลี่ยนสภาพเปนมารเตนไซต

Page 10: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

10

การชุบแข็งตกตะกอน

Page 11: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

11

การชุบแข็งตกตะกอน

Page 12: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

12

การชุบแข็งตกตะกอน

Page 13: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

13

การชุบแข็งตกตะกอน

Page 14: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

14

การชุบแข็งตกตะกอน

Page 15: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

15

การชุบแข็งตกตะกอน

Page 16: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

16

การชุบแข็งตกตะกอน(Precipitation Hardening, Age Hardening)

ขั้นตอน1. การทําใหเปนสารละลายเนื้อเดียว (Solution Treatment)2. การชุบ (Quenching) เพื่อใหเกิดสภาพสารละลายอิ่มตัวยิ่งยวด

(Supersaturated Solid Solution)3. การบม (Aging) เพื่อใหเกิดการแยกตัวของเฟสที่สองเฟสที่สองนี้จะเปนอนุภาคเล็ก ๆ (Particles) ที่กระจายตัวอยูทั่วไป ในเนื้อพื้น ชวย “ตรึง” ใหเนื้อพื้นเกิดการแปรรูปเนื่องจากแรงกระทําไดยากขึ้น

Page 17: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

17

การชุบแข็งตกตะกอน(Precipitation Hardening, Age Hardening)

• พบครั้งแรกในโลหะผสม Al-Cu• แผนภูมิเฟส จะตองมีลักษณะคือ เสน Solvus บอกถึงลักษณะความสามารถในการละลายต่ําที่อุณหภูมิต่ํา และความสามารถในการละลายสูงที่อุณหภูมิสูง

• นั่นคือ โดยปกติ ที่อุณหภูมิใชงาน จะมีสองเฟส• แตที่อุณหภูมิสูง จะมีเฟสเดียว (สารละลายของแข็ง)

Page 18: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

18

การชุบแข็งตกตะกอน(Precipitation Hardening, Age Hardening)

Page 19: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

19

การชุบแข็งเหล็กกลา(Hardening of Steels)

• จากโครงสรางออสเตนไนต

• ตามเฟสไดอะแกรมทํานายวาจะเกิด เฟอรไรต + ซีเมนไตต

• ในความเปนจริง อัตราการเย็นตัวมีคาตาง ๆ กัน

• อธิบายดวยแผนภูมิการแปลงเฟสระหวางการเย็นตัวตอเนื่อง (Continuous Cooling Transformation Diagram- CCT Diagram)

Page 20: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

20

Page 21: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

21

Page 22: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

22

อุณหภูมิการทําใหเปนออสเตนไนตสําหรับชุบแข็ง(Hardening)

• เหล็กไฮโปยูเทกตอยดเผาสูงกวา A3

• เหล็กไฮเปอรยูเทกตอยดเผาสูงกวา A1(ไมจําเปนตองสลายเหล็กคารไบด ใหหมด)A1 (Eutectiod)

A3 Acmγ

α + Fe3C

α + γ γ + Fe3C

Page 23: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

23

การปรับปรุงคุณสมบัติดานความเหนียว/ความแกรง

• การอบออนหลังขึ้นรูปเย็น

• การอบคืนตัวหลังการชุบแข็งของเหล็กกลา

• การอบปกติ (สําหรับเหล็กกลา)

• การอบนิ่มเต็มที่ (สําหรับเหล็กกลา)

Page 24: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

24

การอบออนหลังขึ้นรูปเย็น(Cold Working Annealing,

Process Annealing)• ทําหลังขึ้นรูปเย็น

• จะลดความแข็งแรงลง แตไดความเหนียวกลับคืนมา

• เชน ในเหล็กแผนรีดเย็น, อะลูมิเนียมแผนรีดเย็นที่จะนําไปทํา Deep Drawing ตอ

• อุณหภูมิที่ใช T>0.3Tm; ใชหนวย K!

• Al ประมาณ 350°C

• Fe ประมาณ 600°C

Page 25: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

25

การอบคืนตัวหลังการชุบแข็งของเหล็กกลา(Tempering)

• โครงสรางมารเตนไซต จะสลายตัวเปน เฟอรไรต+ เหล็กคารไบด

• ถาอบคืนตัวที่อุณหภูมิต่ํา ความแข็งแรงลดลงเล็กนอย, ไดความแกรงเพิ่มขึ้น

• ถาอบคืนตัวที่อุณหภูมิสูง ความแข็งแรงลดลงมาก, ไดความเหนียวและความแกรง

• อุณหภูมิไมเกิน A1

Page 26: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

26

Normalizing & Full Annealing

เย็นในเตาเย็นในอากาศ

Page 27: 2109101 วัสดุวิศวกรรมpioneer.netserv.chula.ac.th/~psuvanch/101/heattreat(492)c... · 2008-07-07 · 9 การเพิ่มความแข ็งแรงให

27

Normalizing & Full Annealing

• การอบปกติ (Normalizing) ได เพิรลไลตละเอียด• ไดทั้งความแข็งแรงและความเหนียว• การเผา...ทําใหเปนออสเตนไนตเฟสเดียวทุกกรณี

• แลวทิ้งใหเย็นตัวในอากาศ

• การอบนิ่มเต็มที่ ได เพิรลไลตหยาบ หรือ เฟอรไรต+ซีเมนไตต

• ไดความเหนียวสูงสุด สําหรับนําไปขึ้นรูปตอไป• การเผา...เหมือนกรณีชุบแข็ง

• แลวทิ้งใหเย็นตัวในเตา (เย็นชามาก ๆ)