โครงสร้างสาระวิทย์ม.3

9

Click here to load reader

Upload: supphawan

Post on 19-Jun-2015

8.661 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

ศุภวรรณ ทักษิณ โรงเรียนเขาดินวิทยาคาร สพท.กจ.1

TRANSCRIPT

Page 1: โครงสร้างสาระวิทย์ม.3

โครงสรางรายวิชา ว23101 วิทยาศาสตร ระดับชั้นมธัยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 : 3 ชั่วโมง/สัปดาห จํานวน 1.5 หนวยกิต

ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด

สาระสําคัญ เวลา

(ชั่วโมง) คะแนน

ว 4.1 ม.3/1-3

1.อธิบายความเรงและผลของแรงลัพธที่

ทําตอวัตถุ

- วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วที่เปลี่ยนแปลง เปนการเคลื่อนที่

ดวยความเรง เมื่อแรงลัพธมีคาไมเทากับศูนยกระทําตอ

วัตถุวัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรงซึ่งมีทิศทางเดียวกับแรง

ลัพธ

2.ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรง

ปฏิกิริยาระหวางวัตถุ และนําความรูไปใช

ประโยชน

- ทุกแรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาโตตอบดวยขนาดของแรง

เทากัน แตมีทิศทางตรงขาม

- การนําความรูเรื่องแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาไปใชอธิบาย

เชน การชักเยอ การจุดบั้งไฟ

3 .ทดลองและอธิบายแรงพยุ งของ

ของเหลวที่กระทําตอวัตถุ

- แรงพยุง คือ แรงที่ของเหลวกระทําตอวัตถุมีคาเทากับ

น้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเทากับสวนที่จมของ

วัตถุ

- ของเหลวที่มีความหนาแนนมากจะมีแรงพยุงมาก

- วัตถุที่ลอยไดในของเหลวจะมีความหนาแนนนอยกวา

ความหนาแนนของของเหลว

1 แรงกับการเคลื่อนที่

ว 4.2 ม3/1-3

1.ทดลองและอธิบายความแตกตาง

ระหวางแรงเสียดทานสถิตกับแรงเสียด

ทานจลน และนําความรูไปใชประโยชน

- แรงเสียดทานสถิตเปนแรงเสียดทานที่กระทําตอวัตถุขณะ

หยุดนิ่ง สวนแรงเสียดทานจลนเปนแรงเสียดทานที่กระทํา

ตอวัตถุขณะเคลื่อนที่

- การเพิ่มแรงเสียดทาน เชน การออกแบบพื้นรองเทาเพื่อ

กันลื่น

- การลดแรงเสียดทาน เชน การใชน้ํามันหลอลื่นที่ จุดหมุน

-

Page 2: โครงสร้างสาระวิทย์ม.3

ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด

สาระสําคัญ เวลา

(ชั่วโมง) คะแนน

2.ทดลองและวิเคราะหโมเมนตของแรง

และนําความรูไปใชประโยชน

3.สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของ

วัตถุที่เปนแนวตรง และแนวโคง

ว 8.1 ม.3/1-9

- เมื่อมีแรงที่กระทําตอวัตถุ แลวทําใหเกิดโมเมนตของแรง

รอบจุดหมุน วัตถุจะเปลี่ยนสภาพการหมุน

- การวิเคราะหโมเมนตของแรงในสถานการณตาง ๆ

- การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้งการเคลื่อนที่ในแนวตรง เชน การตกแบบ

เสรี และการเคลื่อนที่ในแนวโคง เชน การเคลื่อนที่แบบ

โพรเจกไทลของลูกบาสเกตบอลในอากาศ การเคลื่อนที่

แบบวงกลมของวัตถุที่ผูกเชือกแลวแกวง เปนตน

ว 5.1 ม.3/1

1.อธิบายงาน พลังงานจลน พลังงานศักย

โนมถวง กฎการอนุรักษพลังงาน และ

ความสัมพันธระหวางปริมาณเหลานี้

รวมทั้งนําความรูไปใชประโยชน

2 งานและพลังงาน

ว 8.1 ม.3/1-9

- การใหงานแกวัตถุเปนการถายโอนพลังงานใหวัตถุ พลังงานนี้เปน

พลังงานกลซึ่งประกอบดวยพลังงานศักยและพลังงานจลน

พลังงานจลนเปนพลังงานของวัตถุขณะวัตถุเคลื่อนที่ สวน

พลังงานศักยโนมถวงของวัตถุเปนพลังงานของวัตถุที่อยูสูงจากพื้น

โลก

- กฎการอนุรักษพลังงานกลาววา พลังงานรวม

ของวัตถุไมสูญหาย แตสามารถเปลี่ยนจากรูปหนึ่งไปเปนอีกรูป

หนึ่งได

- การนํากฎการอนุรักษพลังงานไปใชประโยชนในการอธิบายปรากฏการณ

เชน พลังงานน้ําเหนือเขื่อนเปลี่ยนรูปจากพลังงานศักยโนมถวงเปน

พลังงานจลน, ปนจั่นตอกเสาเข็ม

Page 3: โครงสร้างสาระวิทย์ม.3

ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด

สาระสําคัญ เวลา

(ชั่วโมง) คะแนน

ว 5.1 ม.3/2-5

2.ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวาง

ความตางศักย กระแสไฟฟา ความตานทาน

และนําความรูไปใชประโยชน

- ความตางศักย กระแสไฟฟาและความตานทานมี

ความสัมพนัธกนัตามกฎของโอหม

- การนํากฎของโอหมไปใชวิเคราะหวงจรไฟฟาอยางงาย

3 . คํ า น ว ณ พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ า ข อ ง

เครื่องใชไฟฟา และนําความรูไปใช

ประโยชน

- การคํานวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาเปนสวนหนึ่ง

ของการคิดคาไฟฟาและเปนแนวทางในการประหยัดพลังงาน

ไฟฟาในบาน

4.สังเกตและอภิปรายการตอวงจรไฟฟา

ในบานอย าง ถูกตองปลอดภัย และ

ประหยัด

- การตอวงจรไฟฟาในบานตองออกแบบวงจร ติดตั้งเครื่องใชไฟฟา

อุปกรณไฟฟาอยางถูกตอง โดยการตอสวิตชแบบอนุกรม ตอ

เตารับแบบขนาน และเพื่อความปลอดภัยตองตอสายดินและฟวส

รวมทั้งตองคํานึงถึงการใชไฟฟาอยางประหยัด

5 . อ ธิ บ า ย ตั ว ต า น ท า น ไ ด โ อ ด

ทรานซิสเตอร และทดลองตอวงจร

อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส เ บื้ อ ง ต น ที่ มี

ทรานซิสเตอร

- ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส เชน ตัวตานทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร มีสมบัติทางไฟฟาแตกตางกัน

ตัวตานทานทําหนาที่จํากัดกระแสไฟฟาในวงจร ไดโอดมีสมบัติใหกระแสไฟฟาผานได

ทิศทางเดียวและทรานซิสเตอรทําหนาที่เปนสวิตซปด-เปดวงจร

- การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตนที่มีทรานซิสเตอร ๑ ตัวทําหนาที่เปนสวิตซ

3

พลังงานไฟฟา

ว 8.1 ม.3/1-9

Page 4: โครงสร้างสาระวิทย์ม.3

๔ โครงสรางรายวิชา ว23102 วิทยาศาสตร ระดับชั้นมธัยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 : 3 ชั่วโมง/สัปดาห จํานวน 1.5 หนวยกิต

ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด

สาระสําคัญ เวลา

(ชั่วโมง)คะแนน

ว 7.1 ม.3/1-3

1 . สืบคนและอ ธิบายความ สัมพันธ

ระหวางดวงอาทิตย โลก ดวงจันทรและ

ดาวเคราะหอื่น ๆ และผลที่ เกิดขึ้นตอ

สิ่งแวดลอมและสิ่งมีชีวิตบนโลก

- ดวงอาทิตย โลก และดวงจันทรอยูเปนระบบไดภายใตแรงโนม

ถวง

- แรงโนมถวงระหวางโลกกับดวงจันทร ทําใหดวงจันทรโคจรรอบ

โลก แรงโนมถวงระหวางดวงอาทิตยกับบริวาร ทําใหบริวาร

เคลื่อนรอบดวงอาทิตยกลายเปนระบบสุริยะ

- แรงโนมถวงที่ดวงจันทร ดวงอาทิตยกระทําตอโลกทําใหเกิด

ปรากฏการณน้ําขึ้น น้ําลง ซึ่งสงผลตอสิ่งแวดลอมและสิ่งมีชีวิตบน

โลก

2.สืบคนและอธิบายองคประกอบของเอก

ภพ กาแล็กซี และระบบสุริยะ

- เอกภพประกอบดวยกาแล็กซีมากมายนับแสนลานแหง แตละ

กาแล็กซีประกอบดวยดาวฤกษจํานวนมาก ที่อยูเปนระบบดวย

แรงโนมถวง กาแล็กซีทางชางเผือกมีระบบสุริยะอยูที่แขนของ

กาแล็กซี่ดานกลุมดาวนายพราน

3.ระบุตําแหนงของกลุมดาว และนํา

ความรูไปใชประโยชน

- กลุมดาวฤกษประกอบดวยดาวฤกษหลายดวงที่ปรากฏอยูใน

ขอบเขตแคบๆ และเรียงเปนรูปตางๆกันบนทรงกลมฟา โดยดาว

ฤกษที่อยูในกลุมเดียวกัน ไมจําเปนตองอยูใกลกันอยางที่ตาเห็น แต

มีตําแหนงที่แนนอนบนทรงกลมฟา จึงใชบอกทิศและเวลาได

1 เอกภพและระบบสุริยะ

ว 8.1 ม.3/1-9

Page 5: โครงสร้างสาระวิทย์ม.3

ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด

สาระสําคัญ เวลา

(ชั่วโมง)คะแนน

ว7.2 ม.3/1

1.สืบคนและอภิปรายความกาวหนาของ

เทคโนโลยีอวกาศที่ใชสํารวจอวกาศ วัตถุ

ทองฟา สภาวะอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ

การเกษตร และการสื่อสาร

2 เทคโนโลยีอวกาศ

ว 8.1 ม.3/1-9

- มนุษยใชกลองโทรทรรศน จรวด ดาวเทียม ยานอวกาศ

สํ า ร ว จ อ ว ก า ศ วั ต ถุ ท อ ง ฟ า สภ า ว ะ อ า ก า ศ

ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตรและใชในการสื่อสาร

ว1.2 ม.3/1-6

1 . สั ง เ กตและอ ธิบ าย ลักษณะของ

โครโมโซมที่มีหนวยพันธุกรรมหรือยีน

ในนิวเคลียส

- เมื่อมองเซลลผานกลองจุลทรรศนจะเห็นเสนใยเล็กๆ พัน

กันอยูในนิวเคลียส เมื่อเกิดการแบง เซลล เสนใยเหลานี้จะ

ขดสั้นเขาจนมีลักษณะเปนทอนสั้น เรียกวา โครโมโซม

- โครโมโซมประกอบดวยดีเอ็นเอและโปรตีน

- ยีนหรือหนวยพันธุกรรมเปนสวนหนึ่งที่อยูบนดีเอ็นเอ

3

การถายทอดทาง

พันธุกรรม

2.อธิบายความสําคัญของสารพันธุกรรม

หรือดีเอ็นเอ และกระบวนการถายทอด

ลักษณะทางพันธุกรรม

- เซลลหรือสิ่งมีชีวิต มีสารพันธุกรรมหรือ ดีเอ็นเอที่

ควบคุมลักษณะของการแสดงออก

- ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมดวยยีนจากพอและแม

สามารถถายทอดสูลูกผานทางเซลลสืบพันธุและการ

ปฏิสนธิ

Page 6: โครงสร้างสาระวิทย์ม.3

ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด

สาระสําคัญ เวลา

(ชั่วโมง)คะแนน

3.อภิปรายโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจาก

ความผิดปกติของยีนและโครโมโซม

และนําความรูไปใชประโยชน

- โรคธาลัสซีเมีย ตาบอดสี เปนโรคทางพันธุกรรม ที่เกิดจากความ

ผิดปกติของยีน

- กลุมอาการดาวนเปนความผิดปกติของรางกาย ซึ่งเกิดจากการที่มี

จํานวนโครโมโซมเกินมา

- ความรูเกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรมสามารถนําไปใชในการปองกัน

โรค ดูแลผูปวยและวางแผนครอบครัว

4.สํารวจและอธิบายความหลากหลาย

ทางชีวภาพในทองถิ่นที่ทําใหสิ่งมีชีวิต

ดํารงชีวิตอยูไดอยางสมดุล

- ความหลากหลายทางชีวภาพที่ทําใหสิ่งมีชีวิตอยูอยางสมดุล ขึ้นอยู

กับความหลากหลายของระบบนิเวศ ความหลากหลายของชนิด

สิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางพันธุกรรม

5.อธิบายผลของความหลากหลายทาง

ชีวภาพที่มีตอมนุษย สัตว พืช และ

สิ่งแวดลอม

- การตัดไมทําลายปาเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดการสูญเสียความ

หลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของมนุษย

สัตว พืชและสิ่งแวดลอม

- การใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืชและสัตว สงผลกระทบตอ

สิ่งมีชีวิตทั้ งมนุษย สัตวและพืช ทําให เกิดการเปลี่ยนแปลงความ

หลากหลายทางชีวภาพและสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

6.อภิปรายผลของเทคโนโลยีชีวภาพตอการ

ดํารงชีวิตของมนุษยและสิ่งแวดลอม

- ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มีประโยชนตอมนุษย ทั้งดานการแพทย

การเกษตรและอุตสาหกรรม

ว 8.1 ม.3/1-9

Page 7: โครงสร้างสาระวิทย์ม.3

ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด

สาระสําคัญ เวลา

(ชั่วโมง)คะแนน

ว2.1 ม.3/1-4

1.สํารวจระบบนิเวศตางๆในทองถิ่นและ

อธิบาย ความสัมพันธขององคประกอบ

ภายในระบบนิเวศ

- ระบบนิเวศในแตละทองถิ่นประกอบดวย องคประกอบ

ทางกายภาพและองคประกอบทางชีวภาพเฉพาะถิ่น ซึ่งมี

ความเกี่ยวของสัมพันธกัน

2.วิเคราะหและอธิบายความสัมพันธของ

การถายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูป

ของโซอาหารและสายใยอาหาร

- สิ่งมีชีวิตมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน โดยมีการถายทอด

พลังงานในรูปของโซอาหารและสายใยอาหาร

3.อธิบายวัฏจักรน้ํา วัฏจักรคารบอน และ

ความสําคัญที่มีตอระบบนิเวศ

- น้ํ าและคารบอนเปนองคประกอบในสิ่งมี ชีวิตและ

สิ่งไมมีชีวิต

- น้ําและคารบอนจะมีการหมุนเวียนเปน วัฏจักรในระบบ

นิเวศ ทําใหสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนําไปใชประโยชนได

4.อธิบายปจจัยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง

ขนาดของประชากรในระบบนิเวศ

- อัตราการเกิด อัตราการตาย อัตราการอพยพเขา และอัตรา

การอพยพออกของสิ่งมีชีวิต มีผลตอ การเปลี่ยนแปลงขนาด

ของประชากรในระบบ นิเวศ

4 ระบบนิเวศน

ว 8.1 ม.3/1-9

Page 8: โครงสร้างสาระวิทย์ม.3

ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด

สาระสําคัญ เวลา

(ชั่วโมง)คะแนน

ว 2.2 ม.3/1-6

1 . วิ เ ค ร า ะห ส ภ าพป ญห าสิ่ ง แ ว ดล อ ม

ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น และเสนอ

แนวทางในการแกไขปญหา

- สภาพปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น เกิดจากการ

กระทําของธรรมชาติและ มนุษย

- ปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้น ควรมี

แนวทางในการดูแลรักษาและปองกัน

2.อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของ

ระบบนิเวศ

- ระบบนิเวศจะสมดุลไดจะตองมีการควบคุมจํานวนผูผลิต ผูบริโภค

ผูสลายสารอินทรีย ใหมีปริมาณ สัดสวน และการกระจายที่

เหมาะสม

- การใชทรัพยากรธรรมชาติอย างยั่ งยืนและการ ดูแลรักษา

สภาพแวดลอม เปนการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ

3.อภิปรายการใชทรัพยากรธรรมชาติอยาง

ยั่งยืน

- การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชอยางคุมคาดวยการใชซ้ํา นํา

กลับมาใชใหม ลดการใชผลิตภัณฑ ใชผลิตภัณฑชนิดเดิม

ซอมแซมสิ่งของเครื่องใช เปนวิธีการใชทรัพยากร ธรรมชาติอยาง

ยั่งยืน

4 . วิ เ ค ร า ะ ห แ ล ะ อ ธิ บ า ย ก า ร ใ ช

ท รั พ ย าก รธร รมช า ติ ต ามป รัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

- การใชทรัพยากรธรรมชาติควรคํานึงถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบน

พื้นฐานของทางสายกลาง และความไมประมาท โดยคํานึงถึงความ

พอประมาณ ความมีเหตุผลและ การเตรียมตัวใหพรอมที่จะรับ

ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

5

มนุษยกับสิ่งแวดลอม

5 .อภิปร ายปญหา สิ่ งแวดล อมและ

เสนอแนะแนวทางการแกปญหา

- ปญหาสิ่งแวดลอม อาจเกิดจากมลพิษทางน้ํา มลพิษทางเสียง มลพิษ

ทางอากาศ มลพิษทางดิน

- แนวทางการแกปญหามีหลายวิธี เริ่มจากศึกษาแหลงที่มาของปญหา

เสาะหากระบวนการในการแกปญหา และทุกคนมีสวนรวมในการ

ปฏิบัติเพื่อแกปญหานั้น

Page 9: โครงสร้างสาระวิทย์ม.3

ที่ ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู / ตัวชี้วัด

สาระสําคัญ เวลา

(ชั่วโมง)คะแนน

6.อภิปรายและมีสวนรวมในการดูแลและ

อนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

- การดูแลและอนุรักษสิ่งแวดลอมในทองถิ่นใหยั่งยืน ควร

ได รับความร วมมือจากทุกฝ า ยและตอง เปนความ

รับผิดชอบของทุกคน

ว 8.1 ม.3/1-9

ว 8.1 ม.2/1-9

1. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาคนควาเรื่องที่สนใจไดอยางครอบคลุมและเชื่อถือได

2. สรางสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบไดและวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี

3. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ไดผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใชวัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม

4. รวบรวมขอมูล จัดกระทําขอมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ

5. วิเคราะหและประเมินความสอดคลองของประจักษพยานกับขอสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแยงกับสมมติฐาน และความผิดปกติของขอมูลจากการสํารวจ

ตรวจสอบ

6. สรางแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ

7. สรางคําถามที่นําไปสูการสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และนําความรูที่ไดไปใชในสถานการณใหมหรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ

โครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

8. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ คนควาเพิ่มเติมจากแหลงความรูตาง ๆ ใหไดขอมูลที่เชื่อถือได และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรูที่

คนพบเมื่อมีขอมูลและประจักษพยานใหมเพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเดิม

9. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ