การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

34
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 โรงแรมราชมังคลา พาวีเลียน บีช รีสอร์ท สงขลา โดย ดร.กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์

Upload: tsu

Post on 12-May-2015

3.140 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

วันเสาร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ณ โรงแรมราชมังคลา พาวีเลียน บีช รีสอร์ท สงขลา

โดย ดร.กฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์

Page 2: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

การตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบอัตนยั

ระยะก่อนน าเครื่องมือวัดไปใช้วัด • ความตรงของข้อสอบอัตนัยทั้งฉบับ • ความเป็นปรนัยของข้อค าถาม และ • ความถูกต้องสอดคล้องกับเทคนิคการสร้าง

ระยะหลังจากที่น าเครื่องมือไปใช้วัด • ค่าความยากของข้อค าถาม • ค่าอ านาจจ าแนกของข้อค าถาม • ค่าความเที่ยงหรือความเชือ่มั่นทั้งฉบับ

Page 3: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

วิธีเชิงเหตุผล

ระยะที่ 1 การตรวจสอบก่อนการน าเครื่องมือไปใช้วัด

ความตรง คือคุณลักษณะที่เครื่องมือสามารถวัดพฤติกรรมได้ตรงตามเนื้อหาสาระ และจุดประสงค์ของการวัด

ความเป็นปรนัย คือความชัดเจนรัดกุมของค าถาม สื่อความหมายได้ตรงกัน มีค าตอบที่แน่นอนและมีเกณฑ์การพิจารณาคะแนนเป็นมาตรฐานเดียวกัน

ความถูกต้องตามเทคนิค คือโครงสร้างโดยรวมของเครื่องมือ มีลักษณะถูกต้องตามรูปแบบที่ดีของเครื่องมือชนิดนั้น

Page 4: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

การ การความตรงของข้อสอบ

ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยให้ผู้เชี่ยวชาญวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามกับวัตถุประสงค์ (IOC = Index of Item-Objective Congruence) ผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนพิจารณาความสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องของข้อค าถามรายข้อ (สอดคล้อง ไม่แน่ใจ ไม่สอดคล้อง)แล้วน าผลรวมรายข้อมาหาค่าเฉลี่ยที่เรียกว่า ดัชนี IOC

Page 5: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

IOC = ΣR

เมื่อ IOC คือ ดัชนีความสอดคล้องของข้อค าถามกับตัวชี้วดั ΣR คือ ผลรวมของความเห็นผู้เชี่ยวชาญ N คือ จ านวนผู้เชี่ยวชาญ โดยการให้คะแนนของความเห็นผู้เชี่ยวชาญมีความหมายดงันี ้+1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อค าถามสอดคล้องกับตัวชี้วดั 0 หมายถึง ไม่แน่ใจว่าข้อค าถามสอดคล้องกับตัวชี้วัด -1 หมายถึง แน่ใจว่าข้อค าถามไม่สอดคล้องกับตัวชีว้ัด

เกณฑ์การพิจารณาคือ ค่า IOC ตั้งแต่ .50 ขึ้นไป ถือว่าข้อค าถา สอดคล้องกับตัวชี้วัดค่า IOC ต่ ากว่า .50 ควรปรับปรุง หรือตัดทิ้ง

Page 6: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

ตัวชี้วัด มฐ ค4.2 ม.2/2

ข้อค าถาม ผลการพิจารณา ข้อเสนอแนะ

(+1) (0) (-1)

แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่าย

(0) จากสมการ 2x + 3 = 5 แล้ว 5x มีค่าเท่าไร จงแสดงวิธีท า

ตัวอย่างการตรวจสอบความตรงของขอ้สอบ

Page 7: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

ข้อ ผู้เชี่ยวชาญคนที่ รวม IOC ผลการประเมิน 1 2 3 4 5

1 1 0 1 1 1 4 .80

2 -1 1 1 -1 1 1 .20

3 1 1 1 1 1 5 1.00

4 0 0 0 0 0 0 0

5 -1 -1 -1 -1 -1 -5 -1

ตัวอย่างการตรวจสอบความตรงของผู้เชี่ยวชาญ 5 คน

Page 8: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

วิธีเชิงปริมาณ

การวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ

การวิเคราะห์ข้อสอบทั้งฉบับ

Page 9: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

ระยะที่ 2 การตรวจสอบหลังจากการน าเครื่องมือไปใช้วัด

ค่าดัชนีความยาก คือ ค่าที่แสดงถึงความยาก-ง่าย ของค าถามแต่ละข้อ ว่ามีมากน้อยอยู่ในระดับใด ยอมรับได้ตามเกณฑ์หรือไม่ ใช้พิจารณากับข้อค าถามในแบบทดสอบเท่านั้น

ค่าดัชนีอ านาจจ าแนกคือ เป็นค่าแสดงคุณลักษณะที่ข้อค าถามแต่ละข้อ สามารถจ าแนกผู้เรียนออกตามพฤติกรรมที่แตกต่างกันได้ นิยมใช้พิจารณากับข้อค าถามในแบบทดสอบ

ความเชื่อมั่นหรือความเที่ยง คือ คุณลักษณะของเครื่องมือที่ท าให้ได้ผลของการวัดอย่างคงที่แน่นอนหรือคงเส้นคงวา

วิธีเชิงปริมาณ

Page 10: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

วิธีเชิงปริมาณ

การวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ

การวิเคราะห์ข้อสอบทั้งฉบับ

Page 11: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

ค่าดัชนีความยากและอ านาจจ าแนก

ดัชนีความยาก เป็นค่าที่บอกให้รู้ว่าข้อสอบข้อนั้นง่ายหรือยากขนาดไหน โดยใช้สัดส่วนของคนที่ตอบขอ้สอบข้อนั้นถูก

ดัชนีอ านาจจ าแนกเป็นค่าบอกให้รู้วา่ข้อสอบข้อนัน้สามารถจ าแนกผู้เรียนที่เป็นผู้รู้ กับผู้ไม่รู้ได้แม่นย าเพียงใด

Page 12: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

ค่าดัชนีความยากและอ านาจจ าแนก

การค านวณค่าดัชนีความยากและอ านาจจ าแนกของข้อสอบอัตนัยโดยใช้สูตรของ D.R.Sabers (1970) การวิเคราะห์ข้อสอบอัตนัยจะต้องท าการแบ่งกลุ่มนักเรียนที่เข้าสอบออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเก่ง (กลุ่มสูง) และกลุ่มอ่อน (กลุ่มต่ า) โดยใช้เทคนิค 25 % ของจ านวนนักเรียนที่เข้าสอบ

Page 13: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

ดัชนีค่าความยาก (PE) มีสูตร ดังนี้

ดัชนีค่าอ านาจจ าแนก (D) มีสูตร ดังนี้

)minXmax2N(X)min(2NXLSuS

EP

)minXmaxN(XLSuSD

Page 14: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

ความหมายของสัญลักษณ์ เมื่อ PE แทนดัชนีค่าความยาก SU แทนผลรวมของคะแนนกลุ่มเก่ง SL แทนผลรวมของคะแนนกลุ่มอ่อน N แทนจ านวนผู้เข้าสอบของกลุ่มเก่งหรือกลุ่มอ่อน (เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง) Xmax แทนคะแนนที่นักเรียนท าได้สูงสุด Xmin แทนคะแนนที่นักเรียนท าได้ต่ าสุด D แทนดัชนีค่าอ านาจจ าแนก

Page 15: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

ตัวอย่าง แบบทดสอบอัตนัยฉบับหนึ่งหลังจากที่น าไปทดสอบกับนักเรียนและตรวจให้คะแนนแล้วจึงท าการแบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อนด้วยเทคนิค 25 % จากข้อมูลในตารางข้างล่างเป็นคะแนนของข้อสอบข้อที่ 1 (ซึ่งมีคะแนนเต็มเท่ากับ 5 คะแนน) จงหาค่าความยากและอ านาจจ าแนก

Page 16: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

คะแนน กลุ่มเก่งหรือกลุ่มสูง

คะแนน กลุ่มอ่อนหรือกลุ่มต่ า

f fx f fx

5 6 30 5 0 0

4 10 40 4 2 8

3 4 12 3 6 18

2 0 0 2 10 20

1 0 0 1 0 0

0 0 0 0 2 0

รวม 20 82 รวม 20 46

Page 17: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

)minXmax2N(X)min(2NXLSuS

0)20(520)20(24682

20088

PE =

=

= .44

=

ข้อสอบอัตนัยข้อที่ 1 มีค่าความยากเท่ากับ 0.44

ตัวอย่างการค านวณค่าความยาก

Page 18: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

D =

=

= .36

=

ข้อสอบอัตนัยข้อที่ 1 มีค่าอ านาจจ าแนกเท่ากับ 0.36

ตัวอย่างการค านวณค่าอ านาจจ าแนก

)minXmaxN(XLSUS

0)20(54682

10036

Page 19: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

การแปลความหมายค่าความยากง่าย

ค่า PE ต่ ากว่า 0.20 แสดงว่า ข้อสอบยากเกินไป ค่า PE = 0.20-0.39 แสดงว่า ข้อสอบค่อนข้างยาก ค่า PE = 0.40-0.59 แสดงว่า ข้อสอบยากปานกลาง ค่า PE = 0.60-0.80 แสดงว่า ข้อสอบค่อนข้างง่าย ค่า PE มากกว่า 0.80 แสดงว่า ข้อสอบง่ายเกินไป

Page 20: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

การแปลความหมายค่าอ านาจจ าแนก

ค่า D ติดลบ แสดงว่า ข้อสอบมีอ านาจจ าแนกผิดใช้ไม่ได้ ค่า D = 0.00-0.19 แสดงว่า ข้อสอบมีอ านาจจ าแนกต่ า ค่า D = 0.20-0.39 แสดงว่า ข้อสอบมีอ านาจจ าแนกปานกลาง ค่า D = 0.40-0.59 แสดงว่า ข้อสอบมีอ านาจจ าแนกค่อนข้างสูง ค่า D ตั้งแต ่ 0.60 ขึ้นไป แสดงว่า ข้อสอบมีอ านาจจ าแนกสูง

Page 21: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

วิธีเชิงปริมาณ

การวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ

การวิเคราะห์ข้อสอบทั้งฉบับ

Page 22: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

การวิเคราะห์ความเที่ยงของแบบทดสอบ

ความเที่ยง เป็นคุณสมบัติที่แบบทดสอบให้ผลการวัดคงที่แน่นอน ถ้าน าแบบทดสอบไปวัดกับกลุ่มเดิมจะได้ผลการวัดเหมือนเดิม มีค่าอยู่ระหว่าง -1 ถึง 1 เกณฑ์ที่ใช้ได้คือ ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงตั้งแต่ 0.70 ขึ้นไป

วิธีการหาความเที่ยงที่ใช้ในทางปฏิบัติ คือ การหาความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency) โดยน าแบบทดสอบฉบับเดียวไปทดสอบกับผู้เรียนเพียงครั้งเดียว แล้วน าผลการสอบมาค านวณ

Page 23: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัค สามารถใช้ประมาณค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของแบบทดสอบหรือแบบวัดใด ๆ ที่ไม่ได้ก าหนดคะแนน 0 , 1 สูตรที่ใช้ค านวณของคะแนนรายข้อและคะแนนรวมทั้งฉบับเป็นหลัก

เมื่อ α แทน สัมประสิทธิ์ความเที่ยง k แทน จ านวนข้อสอบทั้งฉบับ Si

2 แทน แทนความแปรปรวนของคะแนนรายข้อ Sx

2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ

วิธีของครอนบัค (Lee J. Cornbach)

2

2

11 x

i

S

S

k

k

Page 24: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

คนที่ 1 2 3 4 5 x x2

1

2

3

4

5

6

7

8

4

3

2

2

4

4

4

2

3

4

2

3

4

4

4

3

1

2

3

2

3

3

3

1

1

2

3

3

4

3

4

2

2

3

2

3

2

2

3

1

11

14

12

13

17

16

18

9

121

156

144

169

289

256

324

81

25

85

0.98

27

95

0.55

18

46

0.97

22

68

1.07

18

44

0.50 2

ix

ix

2

iS

1540,110 2xx

Page 25: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

1540,110 2xx

02.0)02.0(4

5)98.01(

4

5

93.3

89.31

45

51

1

93.3)18(8

)110()1540(8

89.350.007.179.055.098.0

50.0,07.1,79.0,55.0,,,

98.060

55

56

625680

)18(8

)25()85(8

)1(

)(

2

2

22

2

2

5

2

4

2

3

2

2

22

1

22

2

x

i

x

i

ii

i

S

S

k

k

S

S

SSSS

S

NN

xxNS

แบบทดสอบฉบับนี้มีสัมประสิทธิ์ความเที่ยงเท่ากับ 0.02

แทนค่าในสูตร

Page 26: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

การวิเคราะห์ข้อสอบด้วยโปรแกรม SPSS

Page 27: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

กรอกข้อมูล โดยให้แถวแทนการตอบของนักเรียน 1 คน คอลัมภเ์ป็นข้อ

Page 28: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

Analyze-->Scale-->Reliability Analysis

Page 29: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

ดับเบิ้ลคลิกเพื่อส่งตัวแปรไปวิเคราะห ์

Page 30: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

Model ……Alpha Statistics…….

Page 31: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

Out put…

Page 32: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

สารสนเทศที่ส าคัญ Cronbach’s Alpha

ความยากง่าย

Page 33: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

สารสนเทศที่ส าคัญ ค่าเฉลี่ยรวมเมื่อตัดข้อนั้น

ค่าอ านาจจ าแนกรายข้อ

ค่าความแปรปรวนเมื่อตัดข้อนั้น

ค่าความเที่ยงเมื่อตัดขอ้นั้น

Page 34: การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย

สวัสดี