กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

25
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Upload: abele-snvip

Post on 28-May-2015

8.316 views

Category:

Documents


7 download

DESCRIPTION

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.5/3

TRANSCRIPT

Page 1: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 2: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายและขัน้ตอนการแก้ปัญหา

กระบวนการหรือขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อตอบสนองความต้องการของมนษุย์ ซึ่งปัญหาดังกล่าวจะเกี่ยวเนื่องกบัการจัดข้อมูล

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมีขั้นตอนการปฏิบัติ 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์และก าหนดรายละเอียดของปัญหา การเลือกเครื่องมอืและการออกแบบขึ้นตอน การด าเนินการแก้ปญัหา และการตรวจสอบและปรับปรุง

Page 3: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. การวิเคราะห์และก าหนดรายละเอียดของปัญหา (State

The Problem)

- การระบุข้อมูลเข้า

- การระบุข้อมูลออก

- การก าหนดวิธีประมวลผล

2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And

Algorithm Development)

Page 4: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. การด าเนินการแก้ปัญหา (Implementation)

เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เคร่ืองมือที่เลือกไว้การแก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงานขั้นตอนนี้ก็เป็นการใช้โปรแกรมส าเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ ปัญหา

Page 5: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

4. การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement)

หลังจากท่ีลงมือแกป้ัญหาแล้วต้องตรวจสอบใหแ้น่ใจว่าวิธีการนี้ให้ผลลพัธ์ที่ถูกต้องโดยผู้แกป้ัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีท่ีสร้างขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการเพื่อใหก้ารแก้ปัญหานี้ได้ผลลพัธ์ทีด่ีที่สุด

Page 6: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

อัลกอริทึม(Algorithm)

ขั้นตอนหรือล าดับการประมวลผลในการแก้ปัญหาใด

ปัญหาหนึ่ง ซึ่ง จะช่วยให้โปรแกรมเมอร์เห็นขั้นตอนของ

การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น

Page 7: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักการเขียนอัลกอริทึม

1. เรียงล าดับความส าคญัของงานที่จะท า

2. เขียนออกมาในลักษณะภาษาเขียนสามารถเข้าใจง่าย

3. มีความละเอียดของโครงสร้างพอสมควร

Page 8: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเขียนผังงาน หรือ โฟลว์ชาร์ต

ผังแสดงขั้นตอนและล าดับการท างานต่าง ๆ ในโปรแกรมโดยแสดงในรูปแบบของสัญลักษณ์แทนการท างาน

Page 9: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประเภทของโฟลว์ชาร์ต

โดยท่ัวไปแล้วผังงานทางคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท ได้แก่

1. โฟลว์ชาร์ตระบบ ( System Flow Chart )

2. โฟลว์ชาร์ตโปรแกรมโมดูล ( Modular Program Flow chart )

3. โฟลว์ชาร์ตการเขียนโปรแกรม ( Programming Flow chart )

Page 10: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนโฟลว์ชาร์ต

จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม

ลูกศรแสดงทศิทางการท างานของโปรแกรมและการไหลของข้อมลู

ใช้แสดงค าสั่งในการประมวลผล หรือการก าหนดค่าข้อมูลให้กับตัวแปร

แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลส ารองเข้าสู่หน่วยความจ าหลักภายใน เครื่องหรือการแสดงผลลัพธ์จากการประมวลผลออกมา

Page 11: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูปเพื่อแสดงทิศทางการท างานต่อไป เงื่อนไขเป็นจริงหรือเป็นเท็จ

แสดงผลหรือรายงานที่ถูกสร้างออกมา

แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของเส้นหลายเส้นที่มาจากหลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การท างานอย่างใดอย่างหนึ่งท่ีเหมือนกัน

การขึ้นหน้าใหม่ ในกรณีทีผ่ังงานมีความยาวเกินกว่าท่ีจะแสดงพอในหนึง่หนา้

Page 12: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

รหัสจ าลอง (Pseudo Code)

รหัสจ าลองที่ใช้เป็นตัวแทนของอัลกอริทมึ โดยมีถ้อยค าหรือประโยคค าสั่งที่เขียนอยู่ในรูปแบบของภาษาอังกฤษที่ไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอรใ์ดภาษาหนึ่ง การแสดงขั้นตอนวธิีการที่ใช้ภาษาเขียนที่เข้าใจได้ง่าย อาจใช้ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ขึ้นอยู่กบัความสะดวกของผู้เขียนและกิจกรรมที่จะน าเสนอ มักใช้รูปแบบคล้ายประโยคภาษาอังกฤษเพือ่อธิบายรายละเอียดของอัลกอริทึม

Page 13: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักการเขียนรหัสจ าลอง

1. ถ้อยค าที่ใช้เขียน ใช้ภาษาอังกฤษที่เข้าใจง่าย

2. ในหนึ่งบรรทัด ให้มีเพียงหนึ่งประโยคค าสั่ง

3. ใช้ย่อหน้าให้เป็นประโยชน์ ในการแสดงการควบคมุอย่างเป็นสัดส่วน

4. แต่ละประโยคค าสั่งให้เขียนจากบนลงล่าง และมทีางออกทางเดียว

5. กลุ่มของประโยคค าสั่งอาจรวมเป็นหมวดหมู่แล้วเรียกใช้เป็นโมดูล

Page 14: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงสร้างการเขียนผังงาน

มีการท าหน้าที่หลักๆ 3 รูปแบบ แต่ละรูปแบบจะมีการเรียงล าดับของการท างานในรูปแบบต่างๆ กัน ได้แก่ โครงสร้างแบบล าดับ โครงสร้างแบบทางเลือก และโครงสร้างแบบท าซ้ า

Page 15: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงสร้างการท างานแบบมีทางเลือก ( Selection )

เป็นโครงสร้างที่ใช้การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อการท างานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยโครงสร้างแบบนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2

รูปแบบ คือ IF - THEN - ELSE และ IF - THEN

Page 16: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงสร้างผังงานแบบมีทางเลือกโครงสร้างแบบ IF - THEN - ELSE

Page 17: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงสร้างแบบ IF - THEN

Page 18: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงสร้างการท างานแบบมีการท างานซ้ า

เป็นโครงสร้างที่มีการประมวลผลกลุม่ค าสัง่ซ้ าหลายครั้ง ตามลักษณะเง่ือนไขที่ก าหนด อาจเรียก การท างานซ้ าแบบนี้ได้อีกแบบว่า การวนลูป ( Looping ) โครงสร้างแบบการท างานซ้ านี้จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ• DO WHILE

• DO UNTIL

Page 19: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

แสดงโครงสร้างการท างานซ้ าแบบ DO WHILE

Page 20: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

แสดงโครงสร้างการท างานซ้ าแบบ DO UNTIL

Page 21: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

สรุปข้อแตกต่างระหว่าง DO WHILE และ DO UNTIL มีดังนี้

1. DO WHILE ในการท างานครั้งแรกจะต้องมีการตรวจสอบเงือ่นไขก่อนทุกครั้ง ก่อนที่จะมีการเข้ลปูการท างาน

2. DO UNTIL การท างานครั้งแรกจะยังไม่มีการตรวจสอบเงือ่นไข แต่จะเข้าไปท างานในลูปก่อนอย่างน้อย 1 ครั้งแล้วจึงจะไปตรวจสอบเงื่อนไข

Page 22: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. DO WHILE จะมีการเข้าไปท างานในลูปก็ตอ่เมื่อตรวจสอบเงือ่นไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นจริง แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะออกจากลูปทันที

4. DO UNTIL จะมีการเข้าไปท างานในลูปก็ต่อเมื่อตรวจสอบเงือ่นไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นเท็จ แต่เมื่อพบว่าเงื่อนไขเป็นจริง ก็จะออกจากลูปทันที

Page 23: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงสร้างแบบล าดับ (Sequence)

การเขียนให้ท างานจากบนลงล่าง เขียนค าสั่งเป็นบรรทัด และท าทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติใหม้ีการท างาน 3 กระบวนการคือ อ่านขอ้มูล ค านวณ และพิมพ์ จะเขียนเป็นผังงาน (Flowchart) ในแบบตามล าดับได้ตามภาพ

Page 24: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Page 25: กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

สมาชิก

นายสนธยา หงษ์โต

น.ส. ศุภกานต์ มาประเสริฐกุล

น.ส. สิรกิาญจน์ เสมค า

น.ส. สุพิชญา อยู่ฉิม

น.ส. อรทัย วงษ์เอี่ยม

นายบุรพล ชนประเสริฐ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3