652a5 msgs-policy to practice

36
กลยุทธการนํานโยบาย Thailand Medication Safety Goals ลงสูการปฏิบัติ

Upload: elixer

Post on 12-Nov-2014

480 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 652A5 MSGs-policy to practice

กลยุทธการนํานโยบาย Thailand Medication Safety Goalsลงสูการปฏิบัติ

���ก� �������� �

�������������� ����������������

Page 2: 652A5 MSGs-policy to practice

ดัดแปลงจาก: McGivney MS, etc. Medication Therapy Management: Its relationship to patient counseling, disease management, and pharmaceutical care. J Am Pharm Assoc. 2007;47(5):620-628

Identity (who?) Pharmacists

Philosophy (why?) Pharmaceutical care, Inter-professional collaboration, Systematic management

Goals: Patient Safety from Medication Therapy Management

Strategy (how?) Medication Therapy management, Medication management, Pharmacy Practice

Behaviors (what?) Communication, Information focus, Orientation/training, Patient counseling, Medication therapy review, Motivational interviewing, Disease management, Patient education, Documentation, Follow-up, PDSA,

Contexts (where, when?)

Policy/goals, Type/size of organization, Community practice, Institutional practice, Consulting practice, “Anywhere the patient is”

Page 3: 652A5 MSGs-policy to practice

Medication Therapy Management “A distinct service or group of services that optimize therapeutic outcomes for individual patients (that) are independent of, but can occur in conjunction with, the provision of a drug product”

ประเด็นสําคัญ• qualified pharmacist

• increase individual’s adherence with prescription medication regimens• reduce the risk of potential AEsassociated with medications• reduced need for other costly medical services

จาก: McGivney MS, etc. Medication Therapy Management: Its relationship to patient counseling, disease management, and pharmaceutical care. J Am Pharm Assoc. 2007;47(5):620-628

• appropriate drug use• enhance patient understanding

Page 4: 652A5 MSGs-policy to practice

Medication Management Medication management is often an importantcomponent in the palliative, symptomatic, andcurative treatment of many diseases and conditions.A safe medication management system addresses a hospital's medication processes, including thefollowing (as applicable):•Selection and procurement•Storage•Ordering and transcribing•Preparing and dispensing•Administration•Monitoring

จาก: www.jointcommission.com

Page 5: 652A5 MSGs-policy to practice

Medication Management

Page 6: 652A5 MSGs-policy to practice

Pharmacy Practice Pharmacy practice is the discipline of pharmacy whichinvolves developing the professional roles of pharmacists.

•Disease-state management•Clinical interventions (refusal to dispense a drug, recommendation to change and/or add a drug to a patient's pharmacotherapy, dosage adjustments, etc.) •Professional development•Pharmaceutical care •Extemporaneous pharmaceutical compounding•Communication skills •Health psychology•Patient care •Drug abuse prevention•Prevention of drug interactions, including drug-drug interactions or drug-food interactions

Areas of pharmacy practice include:

Page 7: 652A5 MSGs-policy to practice

Pharmacy Practice (ตอ)Pharmacy practice is the discipline of pharmacy whichinvolves developing the professional roles of pharmacists.

•Prevention (or minimization) of adverse events•Incompatibility •Drug discovery and evaluation•Detect pharmacotherapy-related problems, such as:

The patient is taking a drug which he/she does not need. The patient is taking a drug for a specific disease,

other than one afflicting the patient.The patient needs a drug for a specific disease,

but is not receiving it. The patient is taking a drug underdose.The patient is taking a drug overdose.The patient is having an adverse effect to a

specific drug.The patient is suffering from a drug interaction.

Areas of pharmacy practice include:

(http://en.wikipedia.org/wiki/Pharmacy_practice)

Page 8: 652A5 MSGs-policy to practice

Disease management “A system of coordinated health care interventions and communications for populations with conditions in which patient self-care efforts are significant”

These programs are interprofessionalin nature and may be provided by a wide variety of health care professionals. Disease management focuses on a specific disease (eg. HT, DM, anticoagulation, asthma, dyslipidemia), providing patients with the tools and knowledge they need to assume some responsibility for their own care.

Disease management programs have been developed to ensure that population with conditions in which patient self-care efforts are significant.

จาก: McGivney MS, etc. Medication Therapy Management: Its relationship to patient counseling, disease management, and pharmaceutical care. J Am Pharm Assoc. 2007;47(5):620-628

Page 9: 652A5 MSGs-policy to practice

Systematic managementระบบประกอบดวยปจจัยนําเขา กระบวนการ และผลลัพธ หรือ 3P ไดแก purpose, process, performance

Page 10: 652A5 MSGs-policy to practice

ในระยะแรกมุงเนนการสรางกระแสและแนวทางปฏิบัติที่สอดคลองกันใน 4 ดานคือ•การลดความเสี่ยงเรื่อง ยาที่มองใกลเคียง เสียงใกลกัน (look alike-sound alike drugs)•การลดความเสี่ยงเรื่อง ยาที่ตองระมัดระวังสูง•การจัดการเหตุการณไมพึงประสงคดานยา (adverse drug events)•ระบบการจัดการขอมูล

Page 11: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยา LASA drugs

Between 2001 and 2006, more than 16,000 heparin errors were blamed on incorrect dosing, according to data the group prepared for The Times.

Page 12: 652A5 MSGs-policy to practice
Page 13: 652A5 MSGs-policy to practice

1. องคการมีการระบุและจัดการความเสี่ยงจากรายการยาดังกลาวอยางเปนทางการ

ทบทวนรายการดังกลาวอยางนอยปละครั้งวางแนวทางปฏิบัติทางคลินิก•ลดการสั่งใชยาโดยวาจาหรือทางโทรศัพท•ทุกครั้งที่มีการใชยา อานฉลากอยางนอย 3 ครั้ง เมื่อหยิบ กอนจัด/บริหาร และกอนเก็บ อยายึดคุนเคย จําได หรอืตําแหนง•พิจารณาความสอดคลองระหวางยาที่บริหารกับการวินิจฉัยโรคหรือความมุงหมายของการสั่งใชยานั้น•ชื่อสามัญตัวใหญ อาจตามดวยชื่อการคาขนาดที่เล็กกวา

การจัดการยา LASA drugs

Page 14: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยา LASA drugsพัฒนาวิธีการที่ลดความคลาดเคลื่อนจาก

การถายทอดคําสั่ง หรือลายมือที่อานยาก•ใชการพิมพ หรือการสั่งใชยาทางคอมพ•ใชหลักอักษรเล็กใหญ “tall man” เนนความตางที่สําคัญ

เก็บยาที่พบปญหาบอยแยกจากกัน ไมจําเปนตองเครงครัดอักษร ตําแหนง ชั้น หรอืแมแตในตูเก็บยาอัตโนมัติใชตัวหนา ปายสี หรอืสญัลักษณ ใหเห็น

ความตางหรือสะดุดตา ในการดําเนินการทุกเรื่องเพิ่มการมีสวนรวมของผูปวยและญาติในการ

จัดการความเสี่ยง

Page 15: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยา LASA drugs•ใหขอมูลผูปวยที่เปนลายลักษณอักษรอยางนอย ชื่อยา ความแรง ขอบงใช และอาการไมพึงประสงค ตามความเหมาะสม•แนวทางที่ชัดเจนสําหรับผูปวยที่อานไมออก มองไมเห็น หรือความตางภาษา ระดับความรู ความเขาใจ•เภสัชกรสงมอบยา และวางแผนรวมกับผูรับบริการ เพื่อยืนยนัยา ขอบงใช สําหรับรายการยาที่พบปญหาบอย

สรางหลักประกันวากระบวนการดังกลาว รับรูและปฏิบัติโดยบุคลากรที่มีคุณภาพและความสามารถ

Page 16: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยา LASA drugs2. การปฐมนิเทศ การใหความรู การฝกอบรมและการพัฒนา ควรมีการนําอุบัติการณที่สําคัญเกี่ยวกับยาที่ชื่อพอง มองคลาย เขาเปนสวนหนึ่งของเนื้อหา3. การคัดเลือกยา และการจัดหา ตองคํานึงเรื่องความเสี่ยงของยากลุมดังกลาว และอาจตองคํานึงถึงชื่อการคาของยาที่ตางกัน

Page 17: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยา LASA drugs4. สงตอขอมูลใหองคกรที่เกี่ยวของเพื่อผลักดันการตั้งชื่อ หรือรูปแบบยาในระดับนโยบายทั้งภายในและระหวางประเทศ ผานองคกรความรวมมือระดับประเทศ นานาชาติ รวมทั้งการกําหนดการเรยีกรูปแบบที่เปนการปลดปลอยยาที่หลากหลายมากในปจจุบัน

Page 18: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยา LASA drugs

Coumadin lanoxin daonil diamet losec lasixnorflex norflox metronidazole metforminzantac zyrtec zyprexa cpm cppm pcmbactrim bacitracin vincristine vinblastinviatril viagra lamivudine lamotrigeneoctreotide oxytocin amoxycillinaminophylline prilosec prozac retrovirritronavir cravit plavix MTX MTV

Page 19: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยา LASA drugs•รูปแบบยาดานขาง สงผลใหพยาบาลหยบิ KCl inj จากลิ้นชักขางเตยีงผูปวย ดวยเขาใจวาเปน 0.9%NaCl flush เขา IV line ใหผูปวย (69 ป) เสียชีวิต อีกรายสับสนกับ heparin (เกิด รพ. เดยีวกัน)

Page 20: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยา LASA drugs

Page 21: 652A5 MSGs-policy to practice
Page 22: 652A5 MSGs-policy to practice
Page 23: 652A5 MSGs-policy to practice

ความสอดคลองตอเนื่องของการรักษา (medication reconciliation)

โดยภาพรวมขอมูลที่มุงเนนเพื่อความสอดคลองตอเนื่อง และลดอุบัติการณ ประกอบดวย•Patient’s current condition•Recent changes in condition•Ongoing treatment•Possible changes or complications that might occur

หนวยงานในโรงพยาบาลที่มักพบปญหาการสื่อสารเชน หองผาตัดกับหองสังเกตอาการหรือหอผูปวย โดยเฉพาะยาที่ตองใหกอน หนวยฉุกเฉินกับสถานบริการอื่นๆ หอผูปวยวิกฤติกับหอผูปวยทั่วไป และระหวางการเปลี่ยนเวร

Page 24: 652A5 MSGs-policy to practice

ความสอดคลองตอเนื่องของการรักษา (medication reconciliation)

Page 25: 652A5 MSGs-policy to practice

ความสอดคลองตอเนื่องของการรักษา (medication reconciliation)

Page 26: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการเหตุการณไมพึงประสงคจากยาเงื่อนไขความสําเร็จ 1. มุงเนนความเชื่อมโยง นิยามชัดเจนโดยคณะกรรมการ/ทีมที่รับผิดชอบชัดเจน ซึ่งควรเกี่ยวของหรือเปนทีมเดียวกับอุบัติการณดานยาอื่นๆ เนื่องจากเหตุการณไมพึงประสงคนี้เปนผลลัพธที่เกิดขึ้นตามมา มีทั้งๆที่รายแรงและไมรายแรง

68% of fatal ADEs were judged to have been preventable.25% of fatal ADES occurred within the first 24 hours of therapy.Disability due to ADEs were classified as ME (55%), ADRs (43%) and drug interaction 2%.

(Medicine digest 11th January 2002, N0 239.)

Page 27: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการเหตุการณไมพึงประสงคจากยาเงื่อนไขความสําเร็จ 2. หลักประกันเชิงระบบดานการรายงาน และการมองความเชื่อมโยงกับอุบัติการณทางยาทุกประเภท เชน ความคลาดเคลื่อนทางยา ADRs หรือการทบทวนอุบัติการณที่เกี่ยวของผูปวย

ทั้งนี้ระบบการรายงานใหความสําคัญกับระดับความรุนแรง การจัดการผลที่เกิดขึ้นตามมา จึงคอยจําแนกประเภทหรอืการวิเคราะหหาปจจัยสาเหตุภายหลัง

Page 28: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการเหตุการณไมพึงประสงคจากยาเงื่อนไขความสําเร็จ

3. ใหความสําคัญกับเหตุเกือบสูญเสียที่เกี่ยวของกับ ADEs, ADRs, ME การสรุปและประมวลผล และการวิเคราะหปจจัยสาเหตุ

จุดเนน เรื่องอุบัติการณที่สามารถปองกันได และเหตุการณตองทบทวน

Page 29: 652A5 MSGs-policy to practice

Near miss algorithm

เงื่อนไขสําคัญ องคกรตองกําหนดประเภทของ sentinel events

Page 30: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยาที่ตองระมัดระวังสูงการจัดการยาที่ตองระมัดระวังสูง สวนหนึ่งเปนหลักการเดียวกันกับการจัดการเรื่องความคลาดเคลื่อนทางยา แตมีความวิกฤติมากกวา

•การกําหนดเปน priority focus area •เภสัชกรตองมีการดําเนินการที่ชัดเจน•ระบบการตรวจสอบซ้ําอิสระ•งายในการนําลงสูการปฏิบัติ•แนวทางการติดตามผลที่เกิดขึ้นจากกลุมยามีความสําคัญ •ความรู ความเขาใจเฉพาะกลุมมีความสําคัญ•การปฐมนิเทศ และการฝกอบรม•การติดตาม การกํากับ

Page 31: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยาที่ตองระมัดระวังสูง

Priority focus drugs among HADs

Heparin is one of five drugs most commonly associated with errors in hospitals, along with insulin, morphine, potassium chloride and warfarin, another blood thinner. The five drugs account for 28% of all errors that resulted in extended hospitalizations, according to a 2002 study by United States Pharmacopeia. All carry a high risk of injury if administered incorrectly.

Page 32: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยาที่ตองระมัดระวังสูง

จุดเนน•การวางระบบครอบคลุม 6 กิจกรรมของระบบการจัดการดานยา •การกําหนดแนวทางปฏิบัติรวมกันที่สอดคลองกับหลักฐานอางอิงทางวิชาการ•ความชัดเจน สม่ําเสมอของการปฐมนิเทศและการอบรมระหวางการปฏิบัติ•เนน Safeguarding principles•เชื่อมโยงหนวยปฏิบัติการ•PDSA

Page 33: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยาที่ตองระมัดระวังสูง

Page 34: 652A5 MSGs-policy to practice

การจัดการยาที่ตองระมัดระวังสูง

Page 35: 652A5 MSGs-policy to practice
Page 36: 652A5 MSGs-policy to practice