ส...

34
การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) สาหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) 7-8 พฤษภาคม 2562

Upload: others

Post on 21-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

การประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9ส านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) 7-8 พฤษภาคม 2562

Page 2: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

2© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

คณะวิทยากรดร.สุวัจชัย เมฆะอ านวยชัยเบอรโ์ทร: 02 034 0139อีเมล์: [email protected]

คุณคณพล จรูญโรจน์ ณ อยุธยาเบอรโ์ทร: 02 034 0000 ต่อ 11731

063 5191555อีเมล์: [email protected]

คุณวีรวัฒน์ ปฏิธนาวรรณเบอร์โทร: 02 034 0000 ต่อ 12500

081 1737396อีเมล์: [email protected]

คุณเพียงพิศ จันทร์ธนานุกุลเบอร์โทร: 02 034 0000 ต่อ 13642อีเมล์: [email protected]

คุณพิจิตรา ผลจิตจรูญเบอร์โทร: 02 034 0000 ต่อ 13672อีเมล์: [email protected]

Page 3: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

3© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

ภาพรวมของโครงการ 4

• ท่ีมาและวัตถุประสงค์โครงการ 5

• ภาพรวมโครงการ 6

ภาพรวม IFRS 9 7

• แผนการบังคับใช้ IFRS 9 ของสภาวิชาชีพบัญชี 8

• มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับท่ี 9 เร่ือง เครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9) 9

ผลกระทบต่อรัฐวิสาหกิจในภาพรวม 15

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏบิัตติามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ 18

สารบัญ

Page 4: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

ภาพรวมของโครงการ

Page 5: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

5© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

ที่มาและวัตถุประสงค์โครงการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการบัญชีและการเงินของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2548 ก าหนดให้รัฐวิสาหกิจจัดให้มีระบบบัญชีที่เหมาะสมตาม

หลักการบัญชีที่รอบรับโดยทั่วไปและในปี 2554 กระทรวงการคลังก าหนดให้รัฐวิสาหกิจปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทยที่จัดท าขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างระเทศ และก าหนดให้รัฐวิสาหกิจทุกแห่งเป็นกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ ประกอบกับพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 ได้ก าหนดให้หน่วยงานของรัฐที่เป็นรัฐวิสาหกิจจัดท าบัญชีแลรายงานทางการเงินตามมาตรฐานบัญชีที่รับรองทั่วไป และให้จัดท ารายงานการเงินประจ าปีงบประมาณให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังก าหนด

สภาวิชาชีพบัญชี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการก ากับดูแลการประกอบวิชาชีพบัญชีในคราวประชุมครั้งที่ 52 (2/2561) เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2561 ได้ออกประกาศเรื่อง มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน โดยให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินส าหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป ทั้งนี้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2561

ส านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (“สคร.”) ในฐานะหน่วยงานก ากับดูแลรัฐวิสาหกิจ ซึ่งปัจจุบันรัฐวิสาหกิจในก ากับดูแลทั้งหมด 56 แห่ง ได้ตระหนักถึงผลกระทบในเรื่องดังกล่าว ทั้งในส่วนของผลกระทบด้านก ากับดูแลของ สคร. และการเตรียมความพร้อมในการด าเนินการของรัฐวิสาหกิจ จึงได้มีแนวคิดในการจ้างที่ปรึกษาเพ่ือสนับสนุนในเรื่องดังกล่าว

โดยการจ้างที่ปรึกษาส าหรับโครงการนี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้

เพ่ือพิจารณาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการน ามาตรฐานการรรายงานทางการเงินระหว่างประเทศฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9) มาใช้กับรัฐวิสาหกิจ

เพ่ือแนะแนวทางหรือมาตรการเพ่ือลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงระบบบัญชีของรัฐวิสาหกิจได้อย่างเหมาะสม

เพ่ือให้ สคร. และรัฐวิสาหกิจมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการด าเนินการตามมาตรฐานการบัญชีส า กล ใ นส่ ว นม าต ร ฐ านกา รรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9

เพ่ือให้ สคร. สามารถให้ความรู้และค า ป รึ ก ษ า ข้ อ เ ส น อ แ น ะ กั บรัฐวิสาหกิจได้อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ

Page 6: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

6© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

ด าเนินการอื่นๆ ใด ที่เกี่ยวข้องตามที่ สคร. มอบหมาย

จัดสัมมนาถ่ายทอดความรูแ้ละรบัฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับมาตรการ ลดผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ให้แก่ สคร. และรัฐวิสาหกิจที่ไดร้ับผลกระทบ

ภาพรวมโครงการจัดท าแผนการด าเนินโครงการ

ศึกษารายละเอียดและจัดท าสรปุเกี่ยวกับ IFRS 9 วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ในปัจจุบันกับ IFRS 9 และพิจารณาผลกระทบท่ีมีกับรฐัวิสาหกจิ รวมถึงการจ าแนกรัฐวิสาหกจิตามระดับความรุนแรงของผลกระทบที่คาดว่าจะได้รบั

จัดสัมมนาและถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากร สคร. เพื่อให้บุคลากรของ สคร. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ IFRS 9

จัดประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) ส าหรับรัฐวิสาหกิจท่ีได้รบัผลกระทบจากการปฏิบัตติาม IFRS 9 เพื่อวิเคราะห์และประเมินผลกระทบที่เกดิขึ้น ส าหรับใช้ประกอบการเสนอแนะมาตรการเพื่อช่วยลดผลกระทบของ สคร.

วิเคราะห์และเสนอแนะมาตรการที่เหมาะสมต่อ สคร. เพื่อช่วยลดผลกระทบ กรณีการปฏิบัติตาม IFRS 9 รวมถึงมีการวิเคราะห์ข้อดีข้อเสยีของแต่ละมาตรการ

วิเคราะห์รัฐวิสาหกิจที่ไดร้ับผลกระทบระดบัสูงจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 เป็นรายแห่งและจัดให้มีการสัมมนาถ่ายทอดความรู้เชิงลึก ให้แก่เจ้าหน้าท่ี สคร. เพื่อประโยชน์ในการก ากับดูแลรฐัวิสาหกิจ

ปรับปรุงร่างรายงานผลการวิเคราะห์ผลกระทบและข้อเสนอมาตรการลดผลกระทบ กรณีการปฏิบัติตาม IFRS 9

ประชุมร่วมกับ สคร. ทุกเดือนเพื่อรายงานสถานะการท างาน

โครงการจ้างที่ ปรึกษาเพื่ อพิจารณาผลกระทบจากการน ามาตรฐานการบัญชีสากลในส่วนมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 มาใช้กับรัฐวิสาหกิจส านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (“สคร.”)ในฐานะหน่วยงานก ากับดูแลรัฐวิสาหกิจ ซึ่งปัจจุบันมีรัฐวิสาหกิจในก ากับดูแลทั้งหมด 56 แห่ง ได้ตระหนักถึงผลกระทบในการน ามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน มาถือปฏิบัติกับงบการเงินส าหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มต้นในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป ทั้งนี้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2561 ทั้งในส่วนของผลกระทบด้านก ากับดูแลของ สคร. และการเตรียมความพร้อมในการด าเนินการของรัฐวิสาหกิจจึงได้มีแนวคิดในการจ้างที่ปรึกษาเพื่อสนับสนุนในเรื่องดังกล่าว

Page 7: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

ภาพรวม IFRS 9

Page 8: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

8© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แผนการบังคับใช้ IFRS 9 ของสภาวิชาชีพบัญชี

2559 2560 2561 2562 2563

IAS 39, IFRS 7, IAS 32

IFRS 9, IFRS 7, IAS 32

TAS101, TAS103, TAS104, TAS105, TAS106, TAS107

TFRS 9, TFRS 7, TAS 32

Page 9: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

9© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9)สรุปความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีใช้ในปัจจุบันกับ IFRS 9

มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 9 เร่ือง เครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9) ประกอบไปด้วย 3 หัวข้อหลัก ดังนี้

การจัดประเภทและวัดมูลค่า (Classification and Measurement)

การด้อยค่า(Impairment)

การบัญชีป้องกันความเสี่ยง(Hedge Accounting)

สินทรัพย์ทางการเงิน

หนี้สินทางการเงิน

ลักษณะของกระแสเงินสดตามสัญญา

โมเดลทางธุรกิจ Amortised Cost

FVTPL

FVOCI

Amortised Cost

FVTPLวัตถุประสงค์ในการถือครอง

Amortised Cost

FVOCI

ลูกหนี้ตามสัญญาเช่าสินทรัพย์ที่เกิด

จากสัญญา

ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ, สัญญาค้ าประกันทางการเงิน

เครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง

รายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง

เพื่อให้การหักกลบกันของก าไร/ขาดทุนของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงและเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงส่งผล

กระทบต่อก าไรหรือขาดทุน (หรือ OCI ในกรณีที่การลงทุนในตราสารทุนที่กิจการเลือก FVOCI) ในช่วงเวลาเดียวกัน

Page 10: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

10© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9)สรุปความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีใช้ในปัจจุบันกับ IFRS 9

การจัดประเภทและวัดมูลค่า - สินทรัพย์ทางการเงิน

• จัดประเภทเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน ตาม TAS 105 ดังต่อไปนี้• หลักทรัพย์เพื่อค้า• หลักทรัพย์เผื่อขาย• ตราสารหนี้ท่ีจะถือจนครบก าหนด• เงินลงทุนท่ัวไป

• ส าหรับสินทรัพย์ทางการเงินประเภทอื่น เช่น ลูกหนี้การค้า เงินให้สินเช่ือหรือเงินให้กู้ยืม ตราสารอนุพันธ์ ไม่มีมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่กล่าวถึงแนวทางในด้านการจัดประเภทรายการ

• จัดประเภท “สินทรัพย์ทางการเงิน” ทั้งหมด ตามลักษณะของกระแสเงินสดตามสัญญา (Cash flow characteristics) และโมเดลทางธุรกิจ (business model) โดยจัดประเภทเป็นสินทรัพย์ทางการเงินท่ี• วัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจ าหน่าย (AMC)• วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (FVOCI)• วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุน (FVTPL)

• มีทางเลือกในการวัดมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุน (FVTPL option) เพื่อช่วยขจัดหรือลดความไม่สอดคล้องของการวัดมูลค่าหรือการรับรู้รายการอย่างมีนัยส าคัญ (Accounting Mismatch)

• มีทางเลือกในการวัดมูลค่า “เงินลงทุนในตราสารทุน” ที่ไม่ใช่เงินลงทุนเพื่อค้า ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (FVOCI option) ก าไรหรือขาดทุนสะสมจะไม่ถูกรับรู้ในงบก าไรขาดทุน (Recycling) แต่จะย้ายเข้าสู่ก าไรสะสม เมื่อเงินลงทุนนั้นถูกตัดรายการออกจากบัญชี

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ในปัจจุบัน IFRS 9

การจัดประเภทและวัดมูลค่า (Classification and Measurement)

เงินลงทุนเพ่ือค้า

เงินลงทุนเผ่ือขาย

ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบก าหนด

เงินลงทุนทั่วไป

Fair Value (PL)

Fair Value (OCI)

Amortized Cost

Cost

OBJE

CTIV

E

ลักษณ

ะของ

กระแ

สเงิน

สดตา

มสัญ

ญา มูลค่าด้วยมูลค่ายุตธิรรมผ่าน

ก าไรขาดทุน (FVTPL)มูลค่ายุติธรรมผ่านก าไร

ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (FVOCI)

ราคาทุนตัดจ าหน่าย (AMC)โมเด

ลทาง

ธุรกิจ

FVTPL option

FVTPL option

FVOCI option

optionClassification Measurement

อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง (EIR)

มูลค่ายุติธรรม

Page 11: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

11© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9)สรุปความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีใช้ในปัจจุบันกับ IFRS 9

การจัดประเภทและวัดมูลค่า - หนี้สินทางการเงิน• จัดประเภท“หนี้สินทางการเงิน”ทั้งหมดเป็นหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่า

ภายหลังด้วยราคาทุนตัดจ าหน่าย (Amortised cost) ยกเว้น• หนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน

(FVTPL) (รวมถึงหน้ีสินตราสารอนุพันธ์)• หนี้สินทางการเงินที่เกิดขึ้นจากการโอนสินทรัพย์ทางการเงินที่ไม่เข้า

เงื่อนไขการตัดรายการ• สัญญาค้ าประกันทางการเงิน• ภาระผูกพันท่ีจะให้สินเช่ือท่ีอัตราดอกเบี้ยต่ ากว่าอัตราดอกเบี้ยตลาด• สิ่งตอบแทนท่ีคาดว่าจะต้องจ่ายที่รับรู้โดยผู้ซื้อในการรวมธุรกิจ

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ในปัจจุบัน IFRS 9

การจัดประเภทและวัดมูลค่า (Classification and Measurement)

• ส าหรับหนี้สินทางการเงินประเภทอื่น เช่นตราสารหนี้ที่ออกและเงินกู้ยืมไม่มีมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่กล่าวถึงแนวทางในด้านการจัดประเภทรายการ

Page 12: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

12© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9)สรุปความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีใช้ในปัจจุบันกับ IFRS 9

การด้อยค่า (Impairment)

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ในปัจจุบัน IFRS 9

การด้อยค่า (Impairment)

การด้อยค่าตาม IFRS 9 เป็นการคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคต (forward-looking)และการใช้แบบจ าลองผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (expected creditloss) โดยพิจารณาข้อมูลท่ีสนับสนุนซึ่ งรวมถึงการพิจารณาเหตุการณ์ในอดีต สภาพการณ์ปัจจุบันและการคาดการณ์สภาวะทางเศรษฐกิจในอนาคต

ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน 12 เดือนข้างหน้า

ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุ

Stage 1 Stage 2 Stage 3

มีการเพิ่มขึ้นอยา่งมีนัยส าคัญของความเส่ียงด้านเครดิต

มีหลักฐานการด้อยค่าที่ชัดเจน

ไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนยัส าคัญของความเส่ียงด้านเครดิต

ค่าเผ่ือขาดทุนการด้อยค่า

เงินลงทุนเผ่ือขาย

ตราสารหนี้ที่จะ

ถือจนครบก าหนด

เงินลงทุนทั่วไป

TAS

105

TAS

36

มีหลักฐานสนับสนุนว่าหลักทรัพย์นั้นด้อยค่า

มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กิจการจะไมส่ามารถเรียกเกบ็เงิน

ต้นหรือดอกเบี้ยทั้งหมดหรือบางส่วนตามที่ระบุไวใ้นสัญญาได้

มีข้อบ่งชี้ทีบ่่งชี้วา่สินทรัพยอ์าจเกิดการด้อยค่า

ผลต่างระหว่างมูลค่าตามบัญชีกับมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับ

จากตราสารหนี้นั้น ซ่ึงคิดลดด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตามสัญญาเดิม

กลับบัญชีส่วนต่ ากว่าทนุจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่แสดงอยู่ใน

องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของเป็นรายการขาดทุนจากการด้อยค่าทนัทีทีเ่กิด

เว้นแต่เคยบันทึกส่วนเกนิทุน ให้กลับส่วนเกินทุนก่อนบนัทึกรายการ

บันทึกลดมูลค่าตามบัญชีของเงินลงทุนให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน

เงินลงทุน – ใช้หลักเกณฑ์การด้อยค่าของ TAS 105 และ TAS 36

ลูกหนี้การค้า – ใช้หลักเกณฑ์การด้อยค่าของ TAS 101• ประมาณจ านวนหนี้ท่ีคาดว่าจะเก็บไม่ได้ แล้วบันทึกจ านวนท่ีประมาณขึ้นนั้น

เป็นบัญชีปรับมูลค่าลูกหนี้ คือ บัญชี ค่าเผื่อหน้ีสงสัยจะสูญ

สินทรัพย์หรือหน้ีสินท่ีอยู่ในขอบเขตการด้อยค่าตาม IFRS 9 ได้แก่• สินทรัพย์ทางการเงินท่ีวัดมูลค่าด้วยราคาทุนตัดจ าหน่าย (AMC)• สินทรัพย์ทางการเงินท่ีวัดมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (FVOCI)• ภาระผูกพันวงเงินสินเช่ือ และสัญญาค้ าประกันทางการเงิน• ลูกหนีต้ามสัญญาเช่า• สินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญา (IFRS 15)

ดอกเบี้ยรับค านวณจากมลูค่าตามบัญชีขัน้ต้น (gross carrying amount)

ดอกเบี้ยรับค านวณจากมูลค่าตามบัญชีสุทธิ

(net carrying amount)

ค านวณดอกเบี้ยรับตาม EIR

ค านวณเป็นร้อยละของยอดขาย

ค านวณเป็นร้อยละของยอดลูกหนี้

ค านวณโดยพิจารณาลูกหนี้แต่

ละรายTAS

101

Page 13: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

13© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9)สรุปความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีใช้ในปัจจุบันกับ IFRS 9

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ในปัจจุบัน IFRS 9

การด้อยค่า (Impairment)

เงินให้สินเช่ือ (สถาบันการเงิน)ใช้หลักเกณฑ์การจัดช้ันและกันเงินส ารองตาม ธปท.

ปกติ (Pass)

กล่าวถึงเป็นพิเศษ (Special Mention)

ต่ ากว่ามาตรฐาน (Substandard)

สงสัย (Doubtful)

สงสัยจะสูญ (Doubtful of Loss)

1%

2%

100%BOT

PROV

ISION รัฐวิสาหกิจ ใช้วิ ธีการอย่าง ง่าย

ส าหรับ• ลูกหนี้การค้าที่ไม่มีส่วนประกอบ

ขอ งต้ น ทุ น ท า ง ก า ร เ งิ น ที่ มีนัยส าคัญ

• สิ นท รั พย์ ต า มสัญ ญาที่ ไ ม่ มีส่วนประกอบของต้นทุนทางการเงินท่ีมีนัยส าคัญ

สินทรัพย์ทางการเงินท่ีด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อหรือเมื่อก าเนิด POCI• รัฐวิสาหกิจต้องรับรู้ ค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินท่ีมี

การด้อยค่าด้านเครดิตเมื่อซื้อหรือเมื่อก าเนิด ด้วยผลสะสมของการเปลี่ยนแปลงในผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุนับตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรกนั้น

• รัฐวิสาหกิจต้องใช้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงปรับด้วยความเสี่ยงด้านเครดิตกับราคาทุนตัดจ าหน่ายของสินทรัพย์ทางการเงินนั้นตั้งแต่การรับรู้รายการเมื่อเริ่มแรก

เงินให้กู้ยืม (ไม่ใช่กลุ่มสถาบันการเงิน) และสินทรัพย์ทางการเงินอื่นๆ– ใช้หลักเกณฑ์การด้อยค่าของ TAS 36

วิธีการทั่วไป (General Approach) และ วิธีการอย่างง่าย (Simplify Approach)

รัฐวิสาหกิจมีทางเลือกนโยบายการบัญชีว่าจะใช้วิธีการทั่วไป หรือวิธีการอย่างง่าย ส าหรับ• ลูกหนี้สัญญาเช่า• สินทรัพย์ตามสัญญาที่มีส่วนประกอบของต้นทุน

ทางการเงินท่ีมีนัยส าคัญ• ลูกหนี้การค้าที่มีส่วนประกอบของต้นทุนทาง

การเงินท่ีมีนัยส าคัญ

รายการภาระผูกพัน (รายการนอกงบดุล)ใช้หลักเกณฑ์การจัดช้ันและกันเงินส ารองตาม ธปท. โดยรับรู้เป็นประมาณการหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน ตามที่ก าหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 37 เรื่อง ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น

เงินให้กู้ยืม และสินทรัพย์ทางการเงินอื่นTA

S 36 มีข้อบ่งชี้ทีบ่่งชี้วา่สินทรัพย์

อาจเกิดการด้อยค่าบันทึกลดมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ให้เท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน

Page 14: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

14© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 9 เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน (IFRS 9)สรุปความแตกต่างระหว่างมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีใช้ในปัจจุบันกับ IFRS 9

• การบัญชีป้องกันความเสี่ยงเป็นทางเลือกในการถือปฏิบัติ• การบัญชีป้องกันความเสี่ยงมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงผลกระทบในงบการเงิน ซึ่ง

เกิดจากกิจกรรมการบริหารความเสี่ยงของรัฐวิสาหกิจที่ ใ ช้ เครื่ องมือทางการเงินในการจัดการฐานะเปิดที่เกิดขึ้นจากความเสี่ยงนั้นๆ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อก าไรหรือขาดทุน

มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ในปัจจุบัน IFRS 9

การบัญชีป้องกันความเสี่ยง (Hedge Accounting)

ไม่ใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยง ใช้การบัญชีป้องกันความเสี่ยงเครื่องมือที่ใช้ป้องกัน

ความเสี่ยงรายการที่มี

การป้องกันความเส่ียงเครื่องมือที่ใช้ป้องกัน

ความเส่ียงรายการที่มี

การป้องกันความเส่ียง

• ไม่มีมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ใช้ในปัจจุบันที่กล่าวถึงแนวทางในการปฏิบัติส าหรับตราสารอนุพันธ์และการบัญชีป้องกันความเสี่ยง

• ส าหรับกลุ่มสถาบันการเงิน จาก ธปท. ได้ให้แนวทางการบันทึกมูลค่าตราสารอนุพันธ์ไว้ ดังนี้

• รัฐวิสาหกิจต้องจัดประเภทและวัดมูลค่าตราสารอนุพันธ์เป็นสินทรัพย์หรือหนี้สินทางการเงินท่ีวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุน (FVTPL)

• หากรั ฐวิ สาหกิจมี การถือตราสารอนุ พันธ์ดั งกล่ าว เ พ่ือปิดความเสี่ ย ง ของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง (Hedged items) ที่ไม่ได้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุน (FVTPL) จะท าให้เกิดความไม่สม่ าเสมอทางบัญชี และไม่สะท้อนวัตถุประสงค์ในการป้องกันความเสี่ยง

ตราสารอนุพันธ์ (Derivative)

การบัญชีป้องกันความเสี่ยง (Hedge Accounting)

ตราสารอนุพันธ์ที่ไม่ไดใ้ชเ้พื่อ

การป้องกันความเส่ียง

ตราสารอนุพันธ์เพื่อการป้องกันความเส่ียง

ถือเป็นตราสารอนุพันธเ์พื่อค้า แสดงด้วยมูลค่ายุติธรรม

กรณีใช้การบัญชีป้องกันความเส่ียงแสดงด้วยมูลค่ายุติธรรม

กรณีใช้วิธีเกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis) ไม่รับรูร้ายการตราสารอนุพันธ ์

(Off-Balance Sheet)

BOT

Page 15: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

ผลกระทบต่อรัฐวิสาหกิจในภาพรวม

Page 16: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

16© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

ผลกระทบต่อรัฐวิสาหกิจในภาพรวม

กลยุทธ์และนโยบายของรัฐวิสาหกิจ

บุคลากร

กระบวนการปฏิบัติงาน

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล

งบประมาณ

กลยุทธ์และนโยบายของรัฐวิสาหกิจ• การก าหนดรูปแบบการท าธุรกิจของ

รัฐวิสาหกิจ ส าหรับการลงทุนหรือการออกผลิตภัณฑ์ใหม่

• อัตราส่วนทางการเงินเปลี่ยนแปลงไป เช่น อัตราก าไรขั้นต้น อัตราก าไรสุทธิ อัตราดอกเบี้ยรับ อัตราดอกเบี้ยจ่าย

กระบวนการปฏิบัติงาน• การเพ่ิมกระบวนการท างานใหม่ เช่น การค านวณ

Expected credit loss• การปรับปรุงและทบทวนหน้าที่และความรับผิดชอบ

ของพนักงานให้รองรับการปฏิบัติงานตาม IFRS 9• การทบทวนระบบควบคุมภายในเพื่อรองรับหน้าที่งานที่

เปลี่ยนแปลงไป

บุคลากร• การเปลี่ยนแปลงการประเมินผลงานของพนักงานตาม

ตัวเลขทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงไป• การจัดหาบุคลากรเพื่อรองรับงานหน้าที่งานใหม่ หรือ

พัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ให้มีความรู้ความเข้าใจตามวิธีการของ IFRS 9

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและข้อมูล• การจัดเตรียมข้อมูลเพื่อแสดงรายการและ

เปิดเผยข้อมูลในงบการเงินให้สอดคล้องกับ IFRS 9

• การปรับปรุงหรือจัดเก็บข้อมูลในระบบงานเพ่ือน าเสนอรายงานที่เปลี่ยนแปลงไป

งบประมาณ• การจัดเตรียมงบประมาณในการจัดหา

ระบบงานใหม่ หรือพัฒนาและปรับปรุงระบบงานเดิมให้สามารถรองรับการปฏิบัติงานตาม IFRS 9

• การจัดเตรียมงบประมาณในการจัดจ้างผู้เชี่ยวชาญภายนอก เช่น บริษัทที่ปรึกษาในการวางระบบงานใหม่ตาม IFRS 9

Page 17: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

17© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

ผลกระทบต่อรัฐวิสาหกิจในภาพรวม

ลูกหนี้การค้า

• รัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะสถาบันการเงิน จะต้องจัดท าแบบจ าลองเพื่อใช้ในการค านวณผลขาดทุนท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น (Expected Credit Loss) ตามหลัก Forward-looking โดยต้องมีข้อมูล ระบบงาน และกระบวนการท างานท่ีรองรับ

• มีผลกระทบเรื่องกระบวนการทางบัญชีท่ีเปลี่ยนไป หากรัฐวิสาหกิจมีการให้อัตราดอกเบี้ยพิเศษ เช่น เงินให้สินเชื่อต่ ากว่าตลาด เงินให้กู้ยืมแก่พนักงาน

เงินให้สินเชื่อและเงินให้กู้ยืม

ตราสารอนุพันธ์และการบัญชีป้องกันความเสี่ยง

• รัฐวิสาหกิจต้องมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ หรือผลขาดทุนท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น (Expected Credit Loss) ตามหลักการอย่างง่าย (Simplify Approach)

• มีผลกระทบเร่ืองการวัดมูลค่ายุติธรรมตราสารอนุพันธ์

• หากรัฐวิสาหกิจตัดสินใจใช้การบัญชีป้องกันความเส่ียง จะต้องมีกระบวนการท างานเพิ่มเติม เช่น การจัดท า Hedge Documentation

ภาระผูกพันวงเงินสินเชื่อ, สัญญาค้ าประกันทางการเงิน

• รัฐวิสาหกิจโดยเฉพาะสถาบันการเงิน จะต้องจัดท าแบบจ าลองเพื่อใช้ในการค านวณผลขาดทุนท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น (Expected Credit Loss) ตามหลัก Forward-looking โดยต้องมีข้อมูล ระบบงาน และกระบวนการท างานท่ีรองรับ

รายการทางบัญชีหลักท่ีได้รับผลกระทบ มีดังนี้

เงินลงทุน• รัฐวิสาหกิจต้องประเมินรูปแบบของกระแสเงินสดและรูปแบบการด าเนินธุรกิจเพื่อ

จัดประเภทรายการเงินลงทุน ซึ่งมีกระทบต่อกระบวนการท างานและการวัดมูลค่ารายการ

Page 18: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 19: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

19© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 20: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

20© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 21: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

21© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 22: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

22© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 23: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

23© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 24: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

24© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 25: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

25© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 26: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

26© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 27: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

27© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 28: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

28© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 29: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

29© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 30: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

30© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 31: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

31© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 32: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

32© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

Page 33: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

33© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.

แบบสอบถามการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีกลุ่มเครื่องมือทางการเงินของรัฐวิสาหกิจ

• บริษัทท่ีปรึกษามกีารจัดท าค าถามเฉพาะส าหรับบางรัฐวิสาหกิจ ท่ีมีลักษณะธุรกิจเฉพาะด้าน และอาจมีผลกระทบท่ีแตกต่างจากรัฐวิสาหกิจอ่ืนๆ

• หากรัฐวิสาหกิจใด มีข้อสงสัยเกี่ยวกับค าถามเฉพาะของรัฐวิสาหกิจ สามารถสอบถามบริษัทท่ีปรึกษาได้หลังจบการประชุมกลุ่มย่อย

Page 34: ส าหรับรัฐวิสาหกิจที่ได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติตาม IFRS 9 ... Group Meeting Pack... ·

Deloitte refers to one or more of Deloitte Touche Tohmatsu Limited (“DTTL”), its global network of member firms, and their related entities. DTTL (also referred to as “Deloitte Global”) and each of its member firms and their affiliated entities are legally separate and independent entities. DTTL does not provide services to clients. Please see www.deloitte.com/about to learn more.

Deloitte is a leading global provider of audit and assurance, consulting, financial advisory, risk advisory, tax and related services. Our network of member firms in more than 150 countries and territories serves four out of five Fortune Global 500® companies. Learn how Deloitte’s approximately 286,000 people make an impact that matters at www.deloitte.com.

Deloitte Asia Pacific Limited is a company limited by guarantee and a member firm of DTTL. Members of Deloitte Asia Pacific Limited and their related entities provide services in Australia, Brunei Darussalam, Cambodia, East Timor, Federated States of Micronesia, Guam, Indonesia, Japan, Laos, Malaysia, Mongolia, Myanmar, New Zealand, Palau, Papua New Guinea, Singapore, Thailand, The Marshall Islands, The Northern Mariana Islands, The People’s Republic of China (incl. Hong Kong SAR and Macau SAR), The Philippines and Vietnam. In each of these, operations are conducted by separate and independent legal entities.

About Deloitte ThailandIn Thailand, services are provided by Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Co., Ltd. and its subsidiaries and affiliates.

This communication contains general information only, and none of Deloitte Touche Tohmatsu Limited, its member firms, or their related entities (collectively, the “Deloitte Network”) is, by means of this communication, rendering professional advice or services. Before making any decision or taking any action that may affect your finances or your business, you should consult a qualified professional adviser. No entity in the Deloitte Network shall be responsible for any loss whatsoever sustained by any person who relies on this communication.

© 2019 Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Advisory Co., Ltd.