แสง (light) - atom.rmutphysics.com ·...

100
แสง (Light)

Upload: others

Post on 30-Oct-2019

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสง (Light)

Page 2: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสง คืออะไร ?

แสงสามารถแสดงคุณสมบตัิไดท้ั้งคุณสมบตัิของคลื่นและคุณสมบตัิ

ของอนุภาค นัน่กค็ือแสงเป็นสิ่งที่มีคุณสมบตัิคู่ของคลื่น-อนุภาคนัน่เอง

โดยที่คุณสมบตัิคลื่นของแสงจะเกี่ยวขอ้งกบัประกฏการณ์แทรกสอด

และปรากฏการณ์เลี้ยวเบน ส่วนคุณสมบตัิอนุภาคของแสงจะเกี่ยวขอ้ง

กบัปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก

Page 3: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสงแสดงคุณสมบตัิของคลื่น

Page 4: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสงเป็นคลื่นแม่เหลก็ไฟฟ้า

การคน้พบที่สาํคญัที่สุดในศตวรรษที่18 คือการที่แมกซ์เวลคน้พบวา่แสงเป็นคลื่น

แม่เหลก็ไฟฟ้าเช่นเดียวกบัคลื่นไมโครเวฟ คลื่นวทิยรุังสียวู ีรังสีเอกซ์เรยแ์ละรังสี

แกมมา คลื่นแม่เหลก็ไฟฟ้าแต่ละชนิดแตกต่างกนัที่ความยาวคลื่น และเรียกแถบ

ความยาวคลื่นทั้งหมดของคลื่นแม่เหลก็ไฟฟ้าวา่ แถบสเปคตรัม โดยที่แสงเป็นคลื่น

แม่เหลก็ไฟฟ้าที่อยูใ่นช่วงของสเปคตรัมที่สามารถมองเห็นไดซ้ึ่งมีความยาวคลื่น

ระหวา่งประมาณ 400 - 750 นาโนเมตร

Page 5: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

สเปคตรัมของคลื่นแม่เหลก็ไฟฟ้า

Page 6: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

สเปคตรัมของแสง

สีแดง: λ = 700 nm, f = 4.3x1014 Hz

สีนํ้ าเงิน: λ = 475 nm, f = 6.3x1014 Hz

ค่าของ λ และ f ของแสงสีต่างๆ ในตวักลางใดๆ สามารถหาไดจ้ากความสมัพนัธ์

v = fλเมื่อ v คือความเร็วของแสงในตวักลางนั้นๆ

สาํหรับในอากาศ แสงทุกชนิดจะมีความเร็วเท่ากบั c = 3 x108 m/s ซึ่งเป็นความเร็วสูงสุดของแสง

โดยในตวักลางอื่น แสงแต่ละสีจะมีความเร็วไม่เท่ากนั และมีค่านอ้ยกวา่ c

Page 7: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

คุณสมบตัิ คลื่น ของแสง

คุณสมบตัิที่สาํคญัของคลื่นคือ ความยาวคลื่น(λ) แอมปลิจูด และเฟส

ซึ่งทาํใหค้ลื่นสามารถแสดงคุณสมบตัิที่สาํคญัคือการหกัเห การ

สะทอ้น การแทรกสอดและการเลี้ยวเบน

Page 8: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสงแสดงคุณสมบตัิของอนุภาค

Page 9: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริก

เมื่อฉายแสงไปตกกระทบที่ผวิของโลหะแลว้ทาํใหอ้ิเลคตรอนหลุด

ออกมา โดยที่พลงังานจลน์ของอิเลคตรอนที่หลุดออกมาจะไม่ขึ้นอยู่

กบัความเขม้(แอมปลิจูด)ของแสง แต่จะขึ้นอยูก่บัความถี่ เรียก

ปรากฏการณ์ดงักล่าววา่ “ปรากฏการณ์โฟโต้อิเลคตริค”

Page 10: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

คุณสมบตัิ อนุภาค ของแสง

ไอน์สไตน์เป็นบุคคลแรกที่สามารถอธิบาย

ปรากฏการณ์โฟโตอ้ิเลคตริกได ้โดยจะตอ้ง

พิจารณาวา่แสงมีลกัษณะเป็นกอ้นๆเรียกวา่

โฟตรอนวิง่มาชนผวิของโลหะ แลว้ถ่ายทอด

โมเมนตมัใหก้บัอิเลคตรอน ซึ่งพลงังานของ

แสงที่วิง่มาชนจะขึ้นอยูก่บัความถี่ของแสง

นัน่คือแสงสีม่วงมีพลงังานมากกวา่แสงสีแดง

Page 11: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ออฟติกส์ (Optics)ออฟติกส์เป็นวชิาที่ศึกษาเกี่ยวกบัพฤติกรรมของแสงและการประยกุต์

ใชง้าน สามารถแบ่งออกเป็น

1. แสงเชิงคลื่น

1.1 เมือ่ λ << ขนาดของสิ่งกดีขวาง หรือแสงเชิงเส้น

- การสะทอ้น (Reflection)

- การหกัเห (Reflaction)

- ใยแกว้นาํแสง(fiber optics)

- เลนส์, การเกิดภาพ

1.2 เมือ่ λ ~ ขนาดของสิ่งกดีขวาง

- การแทรกสอด, การเลี้ยวเบน

1.3 คุณสมบัตแิม่เหลก็ไฟฟ้าของแสง

- ปรากฏการณ์โพลาไรเซชนั

2. แสงเชิงอนุภาคหรือควนัตมั (Quantum Optics)

Page 12: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสงเชิงคลืน่

เมือ่ λ << ขนาดของสิ่งกดีขวาง หรือแสงเชิงเส้น - การสะทอ้น (Reflection)

- การหกัเห (Reflaction)

- ใยแกว้นาํแสง(fiber optics)

- เลนส์, การเกิดภาพ

Page 13: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสงเชิงเสน้

ในการศึกษาแสงเชิงเรขาคณิตนั้น ความยาวคลื่นของแสงจะตอ้งมี

ขนาดเลก็กวา่วตัถุหรือสิ่งกีดขวางมาก (ความยาวคลื่นของแสงประมาณ

0.4 - 0.7 ไมโครเมตร) ดงันั้นจึงสามารถประมาณไดว้า่แสงจะเคลื่อนที่

เป็นเสน้ตรงมีลกัษณะเป็นรังสีแสง(light ray)ดงัรูป

Note: เส้นผมมีขนาดประมาณ 120 μm

Page 14: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การสะทอ้นของแสง (Reflection)

การสะทอ้นของแสงจะเกิดขึ้นเมื่อแสงผา่นจากตวักลางหนึ่งไปตกกระทบ

ที่ผวิระนาบของอีกตวักลางหนึ่ง เช่น อากาศ-แกว้, อากาศ-กระจกเงา

หรือ อากาศ-โลหะ

อากาศ

โลหะ

เสน้ปกติ

รังสีตกกระทบ รังสีสะทอ้น

θ1 : มุมตกกระทบ

θ2 : มุมตกสะท้อน

กฎของการสะท้อน

มุมตกกระทบจะอยู่ในระนาบ

เดยีวกบัมุมสะท้อน และ เท่ากนั

เสมอ หรือ

θ1 = θ2

Page 15: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การหกัเห (Refraction)

การหกัเสของแสงจะเกิดขึ้นเมื่อแสงผา่นจากตวักลางหนึ่งไปยงัอีก

ตวักลางหนึ่ง ซึ่งทาํใหแ้สงเปลี่ยนความเร็ว และเป็นผลใหร้ังสีของแสง

เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ เช่น เมื่อแสงเคลื่อนที่จากอากาศไปยงัแกว้

หรือจากอากาศไปยงันํ้า เป็นตน้

Page 16: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

กฎของสเนล (Snell’s law)

1 1 2 2sin sinn nθ θ=เมื่อ cn

v= คือดชันีหกัเหของแสง

c คือความเร็วของแสงในอากาศ

v คือความเร็วของแสงในตวักลาง

อากาศ

ตวักลาง

Willebrod Snell นกัฟิสิกส์ชาวดชัซ์คน้พบกฏการหกัเหจากการทดลอง

เมื่อปี 1621 โดยกล่าววา่

Page 17: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

มุมวกิฤติ (Critical Angle)

θc

n2

n1

1 1 2 2sin sinn nθ θ=

ในกรณีที่แสงเดินทางจากตวักลางที่หนาแน่นมากกวา่ไปยงั

ตวักลางที่หนาแน่นนอ้ยกวา่(n1 > n2) มุม θ2 จะมากกวา่มุม θ1

เสมอ จากกฏของสเนลลจ์ะไดว้า่

เมื่อ θ2 = 90 องศา จะเรียก θ1 วา่มุมวกิฤติ θc

โดยที่ 2

1

sin cnn

θ =

ดงันั้นจะเห็นวา่ ถา้หาก θ1 > θc จะเกิดการ

สะทอ้นกลบัหมดของแสง

Page 18: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ใยแกว้นาํแสง(Fiber optics)

คือสายเคเบิลที่ประกอบดว้ยใยแกว้เลก็ๆ

ที่สามารถนาํแสงไดแ้ทนที่จะเป็นกระแส

ไฟฟ้า ใยแกว้นาํแสงมีขนาดเลก็และเบากวา่,

ไม่มีปัญหาเกี่ยวกบัสญัญาณไฟฟ้ารบกวน

และสามารถนาํขอ้มูลไดเ้ร็วกวา่สายเคเบิล

ชนิดอื่นๆ ปัจจุบนัมีการใชใ้ยแกว้นาํแสงใน

คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง ระบบอินเตอร์เน็ต

แบบหลายช่องสญัญาณ เป็นตน้

Page 19: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ใยแกว้นาํแสง(Fiber optics)

Page 20: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

มุมวกิฤตเส้นตั้งฉากใยแก้ว

เปลอืกหุ้ม

การสะทอ้นกลบัหมดภายในใยแกว้นาํแสง

Page 21: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเดินทางของแสงภายในใยแกว้นาํแสง

Page 22: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ใชใ้ยแกว้นาํแสงทาํอะไร?

Page 23: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ใยแกว้นาํแสงถูกพฒันาขึ้นมาเพื่อใชใ้นในการส่ง

สญัญานไดร้วดเร็วขึ้น และส่งไดร้ะยะไกลขึ้น

????? ใยแก้วนําแสง

Page 24: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ทาํไมตอ้งใชใ้ยแกว้นาํแสง??

สายโทรศพัท์

หรือสายไฟ

ใยแกว้นาํแสง

ลวดทองแดง ใยแกว้

Page 25: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ขอ้ดีของใยแกว้นาํแสง

+ ไมถ่กูรบกวนด้วยคลื่นแมเ่หลก็ไฟฟ้า

+ ปลอยภยั

+ มีขนาดเลก็

+ ไมไ่วตอ่สารเคมี

+ ใช้ตรวจวดัที่ระยะไกลได้ ไมม่ีปัญหาไฟฟ้า

ลดัวงจรเหมือนสายไฟฟ้าโลหะ

Page 26: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การใชใ้ยแกว้นาํแสงในการส่งสญัญาณเป็นจาํนวนมาก

ดว้ยความเร็วสูง

Page 27: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การบา้น

1. จงใชห้ลกัการหกัเหของแสงอธิบายวา่ ทาํไมเราจึงมองเห็นปลาที่วา่ยอยูใ่นแม่นํ้าอยู่

ที่ตาํแหน่งที่ตื้นกวา่ตาํแหน่งจริงของมนั ใหเ้ขียนรูปเสน้แสงประกอบดว้ย

2. จงใชห้ลกัการหกัเหและหลกัการสะทอ้นของแสงอธิบายการเกิดรุ้งกินนํ้า วา่ทาํไม

จึงเห็นแสงรุ้งเป็นเจด็สี

Page 28: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสง การมองเห็น และทศันอุปกรณ์

Page 29: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ภาพในธรรมชาติ

Page 30: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ภาพที่เกิดจากการสะทอ้นของแสง

วตัถุ

ภาพ

Page 31: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ภาพที่เกิดจากการหกัเห

Page 32: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การมองเห็นภาพ

องคป์ระกอบของการมองเห็นภาพ

1. วตัถุ

2. แสง

3. ตาซึ่งทาํหนา้ที่เป็นฉากรับภาพ

Page 33: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ลกัษณะของการมองเห็นภาพ

1. การมองเห็นภาพจากวตัถุโดยตรง

2. การมองเห็นภาพผา่นการสะทอ้น

เนื่องจาก

- กระจกเงาราบ

- กระจกเงาเวา้

- กระจกเงาโคง้

Page 34: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ลกัษณะของการมองเห็นภาพ

1. การมองเห็นภาพผา่นการหกัเห เนื่องจาก

- เลนส์

Page 35: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การมองเห็นภาพผา่นการสะทอ้น

กระจกเงาราบ

Page 36: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การมองเห็นภาพผา่นการสะทอ้น

กระจกเงาเวา้

กระจกเงาโคง้

Page 37: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การมองเห็นภาพผา่นการสะทอ้น

กระจกเงาเวา้

Page 38: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การมองเห็นภาพผา่นการสะทอ้น

กระจกเงาเวา้ เมื่อระยะวตัถุ p มากกวา่ความยาวโฟกสั f

Page 39: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การมองเห็นภาพผา่นการสะทอ้น

กระจกเงาเวา้ เมื่อระยะวตัถุ p นอ้ยกวา่ความยาวโฟกสั f

Page 40: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การมองเห็นภาพผา่นการสะทอ้น

กระจกเงานูน

Page 41: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การมองเห็นภาพผา่นการหกัเหของเลนส์บาง

เลนส์นูน

เลนส์เวา้

Page 42: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การขยายภาพโดยใชเ้ลนส์ประกอบในกลอ้งจุลทรรศน์

Page 43: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การขยายภาพโดยใชเ้ลนส์ประกอบในกลอ้งจุลทรรศน์

Page 44: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสงเชิงคลื่นเมือ่ λ ~ ขนาดของสิ่งกดีขวาง

- การแทรกสอด, การเลี้ยวเบน

Page 45: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การแทรกสอด(Interference)และการเลี้ยวเบน(diffraction)ของแสง

การแทรกสอดและการเลี้ยวเบนเป็นปรากฏการณ์อนัเนื่อง

มาจากคุณสมบตัิความเป็นคลื่นของแสง ซึ่งจะเกี่ยวขอ้งกบั

ความถี่ ความยาวคลื่น และเฟส

Page 46: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

หนา้คลื่นและรังสีของแสงหนา้คลื่น

รังสีของแสง

ทศิทางการเคลือ่นที่

λหน้าคลืน่ คือเสน้ที่เชื่อมตาํแหน่ง

บนคลื่นที่มีเฟสเดียวกนั

รังสีของแสง คือเสน้ลูกศรที่บอกทิศทาง

การเคลื่อนที่ของคลื่นλ

Page 47: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

หนา้คลื่นทรงกลมและหนา้คลื่นระนาบ

หนา้คลื่นทรงกลม

หนา้คลื่นระนาบ

แหล่งกาํเนิดแสง

แหล่งกาํเนิดแสง

อยู่ไกลมาก

Page 48: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

หลกัของฮอยเกนส์ (Huygen’s principle)

หลกัของฮอยเกนส์ เป็นวธิีทางเรขา

คณิตที่จะหารูปร่างของหนา้คลื่นใหม่

หลกัของฮอยเกนส์กล่าววา่ ทุกๆจดุบน

หน้าคลืน่จะทาํหน้าทีเ่สมือนกบัเป็นแหล่ง

กาํเนิดคลืน่ซึ่งแผ่ออกไปทุกทศิทางด้วย

ความเร็วเท่าเดมิ(เมื่ออยูใ่นตวักลางเดิม)

ตาํแหน่งของหนา้คลื่นใหม่ภายหลงัเวลา

t จะเป็นผวิสมัผสักบัลูกคลื่นใหม่นี้

ทศิทาง

การเคลือ่นที่

หน้าคลืน่เก่า

t = 0

หน้าคลืน่ใหม่

t = t

Page 49: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

หลกัการรวมของคลื่น

คลื่นที่มีเฟสต่างกนัศูนย์

Page 50: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

หลกัการรวมของคลื่น

คลื่นที่มีเฟสต่างกนัศูนย์

Page 51: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การแทกสอด(Interference)

รูปแบบของการแทรกสอด

s1

s2

Page 52: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

เงื่อนไขของการเกิดแทรกสอด

1. ต้องเป็นแสงที่มาจากแหลง่กําเนิดแสงอาพนัธ์( coherent)

คือ คลืน่แสงต้องมีเฟส(phase)สมัพนัธ์กนัด้วยคา่คงที่

2. ต้องเป็นแสงที่มีความยาวคลืน่เดียว

หรือเป็นแสงเอกรงค์ (monochromatic)

โดยในการแทรกสอดนั้น คลื่นจะรวมกนัโดย

หลกัการรวมกันของคลืน(Superposition)

แสงที่จะเกิดการแทรกสอดแลว้เห็นเป็นแถบมืดและแถบสวา่ง

จะตอ้งมีคุณสมบตัิต่อไปนี้ คือ

Page 53: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การบ้าน

1. จงเขียนลกัษณะของคลื่นแสงที่เป็นแสงอาพนัธ์(Coherent)

และมีความยาวคลื่นเดียว

Page 54: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การแทรกสอดเนี่องจากสลทิคู่ (Double Slits Interference)

Page 55: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แถบมืดและแถบสวา่งของการแทรกสอดเนื่องจากสลิตคู่

สาํหรับแถบสวา่ง

สาํหรับแถบมืด,

sin md θ λ=1sin (m+ )2

d θ λ= 0, 1, 2,...m = ± ±

Page 56: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเกิดแถบสวา่ง

P

ที่ตาํแหน่ง P เป็นแถบสวา่ง เพราะคลื่นที่มาจาก S1 และ S2

มีผลต่างของระยะทาง(r2 - r1)เท่ากบัจํานวนเท่า

ของความยาวคลืน่(λ)หรือมีเฟสต่างกนัศูนย์

r2

r1

Page 57: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเกิดแถบมืด

D

ที่ตาํแหน่ง D เป็นแถบมืด เพราะคลื่น

ที่มาจาก S1 และ S2 มีผลต่างของระยะทาง (r2 - r1)

เท่ากบัจํานวนเท่าของครึ่งหนึ่งของความยาวคลืน่หรือมีเฟสต่างกนัπ

r2

r1

Page 58: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การหาตาํแหน่งของแถบมืดและแถบสวา่ง

ตาํแหน่งของแถบมืดและแถบสวา่ง สามารถหาไดจ้ากผลต่างของระยะ

ทาง(Path difference)ที่แสงจากแหล่งกาํเนิด s1 และ s2 เคลื่อนที่

ไปถึงฉากที่จุด P โดยที่

Path difference = r2 - r1

Page 59: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การหาตาํแหน่งของแถบมืดและแถบสวา่ง

และจะเกิดเป็นแถบสวา่งเมื่อ

2 1r r mλ− = จะเกิดเป็นแถบมืดเมื่อ

2 11( )2

r r m λ− = +

โดยที่ 0, 1, 2,...m = ± ±

Page 60: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

เมื่อ d << L เราสามารถประมาณไดว้า่ลาํแสงที่มาจาก S1 และ S2

เป็นลาํแสงขนาน และ

การหาค่า r2 - r1

2 1 sinr r d θ− =

θ2 1

2 1

-sin

sin

r rd

r r d

θ

θ

=

− =

Page 61: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

นัน่คือเงื่อนไขสาํหรับการเกิดแถบมืดและแถบสวา่งคือ

2 1 sinr r d mθ λ− = =แถบสวา่ง:

2 11sin ( )2

r r d mθ λ− = = +แถบมืด:

เมื่อ 0, 1, 2,...m = ± ±

Page 62: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ตาํแหน่งของแถบสวา่งจากเสน้แกนกลาง

แถบสวา่งsind mθ λ=

เมื่อมุม θ มีค่าน้อยๆ เราสามารถ

ประมาณได้ว่า

sin tanθ θ≈ดงันั้น

sin tan yd d d mL

θ θ λ≈ = =

Lmyd

λ=สวา่ง

Page 63: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ตาํแหน่งของแถบมืดจากเสน้แกนกลาง

แถบมืด1sin ( )2

d mθ λ= +เมื่อ θ มีค่าน้อยๆ เราสามารถ

ประมาณได้ว่า

sin tanθ θ≈ดงันั้น

1( )2

L my

d

λ +=

มืด

1sin tan ( )2

yd d d mL

θ θ λ≈ = = +

Page 64: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเลี้ยวเบน (Difraction)

Page 65: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเลี้ยวเบน

Page 66: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเลี้ยวเบน

การเลีย้วเบน คอืปรากฏการณ์ทีค่ลืน่แสงเปลีย่น

เส้นทางการเคลือ่นที ่เมื่อเคลือ่นทีม่ากระทบสิ่งกดี

ขวาง สิ่งกดีขวางอาจะป็นฉากซึ่งมีช่องทีม่ีขนาดเลก็ที่

มีขนาดน้อยกว่าหรือประมาณเท่ากบัความยาวคลืน่

หรือเป็นวัตถุขนาดเลก็เช่น ลวด เส้นผมซึ่งกัน้คลืน่

แสงบางส่วนไม่ให้ผ่านไป

Page 67: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเลี้ยวเบน

λ >> d λ << d

Page 68: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเลี้ยวเบนของแสงผา่นช่องแคบเดี่ยว

การเลีย้งเบนของแสงผ่านช่องแคบเดีย่ว

แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคอื

1. การเลี้ยวเบนแบบฟรอนโฮเฟอร์

2. การเลี้ยวเบนแบบเฟรสเนล

Page 69: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเลี้ยวเบนแบบฟรอนโฮเฟอร์ (Fraunhofer Diffraction)

การเลี้ยวเบนแบบฟรอนโฮเฟอร์คือการเลี้ยวเบนที่เกิดขึ้นเมื่อรังสีของ

แสงที่มาตกกระทบที่ช่องเป็นรังสีขนาน และรังสีที่เลี้ยวเบนไปตก

กระทบที่ฉากกเ็ป็นรังสีขนานเช่นกนั

รังสีขนาน ฉากอยู่ไกลมาก

Page 70: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเลี้ยวเบนแบบฟรอนโฮเฟอร์ (Fraunhofer Diffraction)

ในหอ้งทดลองจะสามารถสงัเกตุการเลี้ยวเบนแบบฟรอนโฮเฟอร์ได้

โดยใชเ้ลนส์นูนดงัรูป เลนส์ A ทาํใหแ้สงที่ไดจ้ากแหล่งกาํเนิดแสงซึ่ง

วางอยูท่ี่ตาํแหน่งโฟกสัของเลนส์ Aเป็นแสงขนาน เมื่อแสงเลี้ยวเบน

ผา่นช่องแคบ แสงที่ไดเ้ป็นแสงขนาน เลนส์นูน B จะรวมแสงที่ฉาก

เลนส์ A

เลนส์ B

Page 71: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การเลี้ยวเบนแบบฟรอนโฮเฟอร์ (Fraunhofer Diffraction)

Page 72: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ลวดลายของการเลี้ยวเบนแบบฟรอนโฮเฟอร์เมื่อมีการแทรกสอด

สาํหรับที่จุดกึ่งกลางของฉาก รังสีทุกเสน้จากช่องแคบจะมี

เสน้ทางเดินของแสงเท่ากนั ดงันั้นที่จุดกึ่งกลางจึงสวา่งมากที่สุด

Page 73: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แถบมืดเนื่องจากการเลี้ยวเบนแบบฟรอนโฮเฟอร์

ขั้นตอนการหาตาํแหน่งของแถบมืด

1. แบ่งความกวา้ง a ออกเป็นสองส่วน

แต่ละส่วนยาว a/2

2. แต่ละจุดบนช่องจะทาํหนา้ที่เป็นแหล่ง

กาํเนิดคลื่นใหม่sin

2a θ

ดงันั้นแสงจากจดุสองจดุใดๆทีอ่ยู่ห่างกนั a/2

จะหักล้างกนัเมื่อ

sin2 2a λθ =

sinaλθ =

หรือ

Page 74: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แถบมืดเนื่องจากการเลี้ยวเบนแบบฟรอนโฮเฟอร์

ถา้แบ่งช่องเลก็ออกเป็น 4 ส่วนกจ็ะได ้2sinaλθ =

ถา้แบ่งช่องเลก็ออกเป็น 6 ส่วนกจ็ะได้ 3sinaλθ =

ซึ่งจะไดเ้งื่อนไขของการเกิดแถบมืดคือ

sin , when m= 1, 2, 3...maλθ = ± ± ±

Page 75: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ในการเลี้ยวเบนแบบฟรอนโฮเฟอร์ผา่นช่องเดี่ยวที่มีขนาดเท่ากบั a

ของแสงที่มีความยาวคลื่น λ ดงัรูป

ถา้หาก a = 0.2 mm, λ = 700 nm และ L = 5 m จงคาํนวณหาความกวา้งของ

แถบสวา่งที่อยูต่รงกลางซึ่งปรากฏบนฉากเนื่องจากการเลี้ยวเบน

Page 76: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แบบฝึกหดั

1. ถ้าหากวา่แสงเคลื่อนที่จากอากาศไปยงันํา และรังสีของแสงตกกระทบทํามมุ

45 องศา โดยที่อากาศมีดชันีหกัเหเทา่กบั 1 และนํามีดชันีหกัเหเทา่กบั 1.33

ก. จงเขียนรังสีของแสงในนํา

Page 77: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ข. ถ้าเปลี่ยนเป็นให้แสงเคลื่อนที่จากนําไปยงัอากาศ ดงัรูป

จงหามมุวิกฤติ θc ที่ทําให้แสงเกิดการสะท้อนกลบัหมด

θc

n2 = 1

n1 = 1.33

air

water

Page 78: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

2. ดชันีหกัเหของแก้วชนิดหนึง่มีคา่ 1.51 สําหรับแสงสีแดง และ 1.53

สําหรับแสงสีมว่ง เมื่อแสงสีขาวตกกระทบแก้วทํามมุตกกระทบ 60 องศา

ดงัรูปมมุหกัเหของแสงสีแดงและแสงสีมว่งตา่งกนักี่องศา

Page 79: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

2. มีแหลง่กําเนิดแสง B และสิ่งกีดขวางซึ่งมีสลิต S1 และสลิต S2 ดงัรูป สิง่กีดขวาง ฉาก

ถ้าหากแสงมีความยาวคลื่น λ = 600 nm, L = 1.5 m และ d = 1 mm

ก. ขณะที่แสงจาก S1 และ S2 ตกกระทบบนฉากที่ตําแหน่งเดียวกนัดงัรูป r2- r1จะต้องมีคา่อยา่ง

น้อยที่สดุเทา่ไหร่ จงึจะทําให้แสงจากสลิตทงัสองมีเฟสตา่งกนั 180 องศา เมื่อ r1และr2คือ

ระยะทางที่แสงเดนิทางจากs1และs2ไปตกกระทบบนฉาก ตามลําดบั

ข. จงหาวา่ที่บนฉาก แถบสวา่งที่ 5 และแถบสวา่งที่ 6 อยูห่า่งกนัเทา่ไหร่

Page 80: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

3. มีแหลง่กําเนิดแสง A และสิง่กีดขวางซึง่มีช่องสลติ S1 และ S2 วางอยูด่งั

รูป

ถ้า L = 1.5 m, d = 0.05 mm และตําแหน่งของแถบสวา่งแถบแรกอยูห่า่งจากเส้น

แกนกลาง 1.8 cm จงหาความยาวคลื่นของแสง

Page 81: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การบา้น

1. ในการทดลองการแทรกสอดของยงั ช่องแคบคูอ่ยูห่า่งกนั 2 mm และใช้

คลื่นแสงที่มีความยาวคลื่น 750 nm และ 900 nm ถ้าฉากอยูห่า่งจาก

ช่องแคบคู ่2 m จงหาระยะหา่งที่สนัที่สดุที่วดัจากแถบกลางที่คลื่นทงั

สองซ้อนทบักนัพอดี

2. แสงเลเซอร์ความยาวคลื่น 630 nmผา่นช่องแคบคู ่พบวา่เกิดแถบสวา่ง

สองแถบซึง่อยูต่ิดกนั หา่งกนั 8 mm เมื่อนําแสงความยาวคลื่น λ มาฉายแทนแสงเลเซอร์ พบวา่แถบสวา่งสองแถบซึง่อยูต่ิดกนัหา่งกนั 7.5

mm จงหาคา่ λ3. ช่องแคบเดี่ยวและฉากอยูห่า่งกนั 50 cm แสงความยาวคลื่น 680 nm

ผา่นช่องแคบนีแล้วทําให้เกิดการเลียวเบนบนฉาก โดยที่ระยะหา่ง

ระหวา่งคา่ตํ่าสดุที่ 1 และที่ 3 อยูห่า่งกนั 3 mm จงหาขนาดของช่อง

แคบ

Page 82: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

เกรทติ้งเลี้ยวเบน(Diffraction grating)

และการศึกษาสเปคตรัมของแสง

Page 83: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

เกรตติงเลี้ยวเบน (Diffraction grating)

เกรตติ้งเลี้ยวเบนเป็นวสัดุที่ทาํดว้ยแกว้หรือพลาสติกที่มีช่องแคบขนาด

เท่ากนัขนานกนัจาํนวนมาก และ มกัจะระบุขนาดของเกรตติ้งดว้ย

จาํนวนเสน้ต่อซม. สามารถทาํเกรตติ้งเลี้ยวเบนไดโ้ดยขีดเสน้ขนาน

จาํนวนมากลงบนแผน่วสัดุใส เสน้ที่ขีดจะเป็นส่วนทึบอยูร่ะหวา่งช่อง

แคบทั้งสองขา้ง เกรตติ้งเลี้ยวเบนอาจจะเป็นแบบสะทอ้นแสงกไ็ด ้ซึ่งทาํ

โดยขีดเสน้ขนานจาํนวนมากลงบนผวิโลหะสะทอ้นแสง ส่วนที่ไม่ถูก

ขีดจะทาํหนา้ที่สะทอ้นแสง

Page 84: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ตวัอยา่งของเกรตติ้งเลี้ยวเบนในชีวติประจาํวนั

1. แผน่ CD

2. ปีกแมงทบั

3. ผวินํ้า

การประยกุตใ์ชง้านที่สาํคญัของเกรตติ้งเลี้ยวเบนคือการใชเ้กรตติ้ง

เลี้ยวเบนเพื่อการศึกษาสเปคตรัมและการวดัความยาวคลืน่ของแสง

Page 85: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

เกรตติงเลี้ยวเบน (Diffraction grating)

แสง

เกรทติ้งเลี้ยวเบน

เนื่องจากเกรทติ้งเลี้ยวเบน

มีจาํนวนช่องเป็นจาํนวนมาก

ดังนั้น

Page 86: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

เกรตติงเลี้ยวเบน (Diffraction grating)

แสง

เกรทติ้งเลี้ยวเบน

เนื่องจากเกรทติ้งเลี้ยวเบน

มีจาํนวนช่องเป็นจาํนวนมาก

ดังนั้นแถบสว่างทีเ่กดิจากการ

เลีย้วเบนจะมีความคมชัด ซึ่ง

ทาํให้สามารถเห็นแถบสว่าง

ได้อย่างชัดเจน

Page 87: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

สามารถคาํนวณตาํแหน่ง

ของแถบสวา่งไดเ้ช่นเดียว

กบักรณีของการแทรกสอด

ผา่นสลิตคู่

ดงันั้นsind mθ λ=

Lmyd

λ=

สวา่ง

จะเห็นวา่ตาํแหน่งของแถบสวา่งจะขึ้นอยูก่บัความยาวคลื่น

หลกัการทาํงานของเกรตติ้งเลี้ยวเบน

Page 88: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การใชเ้กรตติ้งเลี้ยวศึกษาแยกสเปคตรัมของแสง

จะเห็นวา่แสงสีแดงซึ่งมีความยาวคลื่นมากกวา่แสงสีนํ้าเงิน

จะมีมุมของการเลี้ยวเบนมากกวา่สาํหรับค่า m ที่เท่ากนั

เนื่องจากเกรทติ้งเลี้ยวเบนสามารถแยกความยาวคลื่นของแสง

สีต่างๆไดอ้ยา่งชดัเจน จึงมีการนาํเกรทติ้งเลี้ยวเบนไปใชใ้นการ

ศึกษาสเปคตรัมของแสง

Page 89: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

เครื่องสเปคโตรมิเตอร์สาํหรับวเิคราะห์สเปคตรัมของแสง

Page 90: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ตวัอยา่ง

1. แสงเลเซอร์ความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร ตกกระทบบนแผน่เกรทติ้งขนาด

500 เสน้ต่อเซนติเมตร จงคาํนวณหาวา่แถบสวา่งที่1 และแถบสวา่งที่2เบนไปเป็นมุมเท่าไหร่

Page 91: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสงเชิงคลื่นคุณสมบัตแิม่เหลก็ไฟฟ้าของแสง

- ปรากฏการณ์โพลาไรเซชนั

Page 92: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

คลื่นแม่เหลก็ไฟฟ้า

องค์ประกอบของคลื่นแสง

มีทงัแนวของคลื่นแม่เหล็ก

และคลื่นไฟฟ้าที่ตังฉากซึ่ง

กันและกันอยู่c

เนื่องจากแสงเป็นคลืน่แม่เหลก็ไฟฟ้า ดงันั้นแสงจงึประกอบด้วย

สนามแม่เหลก็และสนามไฟฟ้าด้วย

Page 93: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

สนามไฟฟ้าของแสงปกติที่ไม่โพลาไรส์

กบัสนามไฟฟ้าแสงที่โพลาไรส์แลว้

Page 94: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสงไม่โพลาไรซ์ แสงโพลาไรซ์เชิงเสน้

สนามไฟฟ้าของแสงปกติที่ไม่โพลาไรส์

กบัสนามไฟฟ้าแสงที่โพลาไรส์แลว้

Page 95: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

สนามไฟฟ้าของแสงปกติที่ไม่โพลาไรส์

กบัสนามไฟฟ้าแสงที่โพลาไรส์แลว้

EE

E

E

Page 96: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การสร้างคลื่นแสงที่โพลาไรส์

คลื่นแสงที่ไม่โพลาไรส์สามารถทาํให้โพลาไรส์ได้ โดย

1.การเลือกดูดกลืนคลื่น ( selective absorption)

2.การสะท้อน ( reflection)

3.การหกัเหซ้อน ( double refraction)

4.การกระเจงิ ( scattering)

Page 97: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

การทําให้แสงโพลาไรส์โดยการเลอืกดดูกลนืคลืน่

โดยใช้แผน่โพลาไรเซอร์

แผน่โพลาไรเซอร์

แสงโพลาไรซ์

แสงไม่โพลาไรซ์

Page 98: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสงโพลาไรส์และกฏของมาลสั

2 2 20 0

2max

( cos ) cos

cos

I E E

I

θ θ

θ

= =

=

Imax

I

E0

E0cosθθE0sinθ

จะเห็นวา่องคป์ระกอบของสนามไฟฟ้าของ E0ซึ่งเป็นแสงโพลาไรส์ที่สามารถผา่นแผน่

Analyzerไปไดค้ือ E0cosθ ส่วน E0sinθ จะถกูดูดกลืนที่แผน่ Analyser ดงันั้นความเขม้ I

ที่ตามองเห็นคือ

เมื่อ Imax = คือความเขม้ของแสงที่ตกกระทบแผน่ analyzer20E

1 Polarizer2

Page 99: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

แสงจากแหลง่กําเนิดแสงทัว่ไป เช่นแสงจากหลอดไฟ หรือแสงจาก

ดวงอาทิตย์ เป็นแสงที่ไมโ่พลาไรส์

ก. จงอธิบายความแตกตา่งระหวา่งแสงที่โพลาไรส์กบัแสงที่ไมโ่พลาไรส์

ข. ถ้านกัศกึษาใช้แผน่โพลาไรเซอร์หนึง่แผน่มองแสงที่ไมโ่พลาไรส์

แล้วหมนุแผน่โพลาไรเซอร์ไปเรื่อยๆ ความเข้มของแสงที่มองเห็น

เปลี่ยนแปลงหรือไม(่ดรููปประกอบ)แผน่โพลาไรเซอร์

Page 100: แสง (Light) - atom.rmutphysics.com · แสงเป็นคลื่นแม่เหลกไฟฟ็้า การคนพบท้ ี่สาคํญทัี่สุดในศตวรรษที่18

ค. ถ้านกัศกึษาเพิ่มแผน่โพลาไรเซอร์เป็นสองแผ่น แล้วมองแสงจาก

แหลง่กําเนิดเดิม โดยกําหนดให้แผน่ที่หนึง่อยูน่ิ่งกบัที่แล้วหมนุแผน่ที่สอง

ไปเรื่อยๆ ความเข้มของแสงที่มองเห็น ตา่งจากข้อ ข. อยา่งไร อธิบาย

เหตผุลประกอบ(ดรููป)