บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ · 1 บทที่ 1 ......

128
1 บทที1 ที่มาและความสําคัญ ที่มาและความสําคัญของปญหา บรรจุภัณฑพลาสติกเปนวัสดุที่ออกแบบสําหรับการหอหุมสินคาหรือผลิตภัณฑเพื่อไมใหเกิด ความเสียหาย รักษาคุณภาพของสินคา อีกทั้งชวยอํานวยความสะดวกในการขนยายผลผลิตจากกระ บวนการผลิตไปจัดเก็บในคลังสินคาเพื่อรอการขนสง และจัดจําหนายตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่งใน ปจจุบันบรรจุภัณฑมีสวนสําคัญในการสรางเอกลักษณและมูลคาเพิ่มใหกับสินคาที่สามารถตั้งราคาให เพิ่มสูงขึ้น และดึงดูดใจผูบริโภคใหเลือกซื้อสินคานั้นๆ ซึ่งเปนกลยุทธหนึ่งในการสงเสริมใหผูประกอบ การเพิ่มปริมาณการผลิต การจําหนายเพิ่มขึ้น ซึ่งนอกจากเปนสินคาจําเปนที่ภายในประเทศมีความ ตองการใชสูงเฉลี่ยปละ 1.9 แสนลานบาทแลว ในปที่ผานมายังสามารถสงออกไดมากกวา 4 หมื่นลาน บาท และมีแนวโนมที่จะขยายตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง (ผกา ผดุงมาตรวรกุล ,2544 : 1) ในประเทศไทยมีผูผลิตที่ทําการผลิตบรรจุภัณฑพลาสติกที่ใชในอุตสาหกรรมแตละประเภทเปน จํานวนมาก โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารที่มีแนวโนมที่สูงขึ้นทุกป และมีการแขงขันที่สูงมาก โดย ผูผลิตแตละรายพยายามนําเทคนิคใหมๆ มาใช เพื่อเปลี่ยนแปลงรูปแบบใหมีลักษณะเหมาะสมและ สะดวกตอการใชงาน ดานราคาจําหนายในประเทศจะขึ้นอยูกับวัตถุดิบและกรรมวิธีที่ใชในการผลิต แต เนื่องจากพลาสติกเปนวัสดุที่ตองใชเวลาในการยอยสลายนาน ในแตละปมีการบริโภคพลาสติกเพื่อใชใน ภาคอุตสาหกรรมเปนจํานวนมาก ที่สําคัญพลาสติกยังเปนวัตถุดิบที่ไดจากผลิตภัณฑปโตรเลียม ฉะนั้น เมื่อสถานการณราคาน้ํามันสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ยิ่งทําใหเม็ดพลาสติกซึ่งเปนวัตถุดิบหลักในการผลิต บรรจุภัณฑมีราคาแพงขึ้นและสงผลใหตนทุนการผลิตสูงขึ้นตามไปดวย นับวาเปนปญหาหลักของกลุผูผลิตบรรจุภัณฑพลาสติก นอกจากนี้ยังตองตอสูกับผูผลิตในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑชนิดอื่นที่สามารถ นํามาใชทดแทนบรรจุภัณฑพลาสติก เชน กระดาษ แกว ซึ่งถือวาเปนผลิตภัณฑที่สามารถนํามาแปร สภาพเพื่อนํากลับมาใชใหม ยอยสลายไดงาย และมีความปลอดภัยมากกวาบรรจุภัณฑพลาสติกอีกดวย ดังนั้นผูผลิตบรรจุภัณฑพลาสติกจึงควรมีวิธีการที่ดีเพื่อที่จะจัดการกับปญหาดังกลาวไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยไมใหกระทบตอตนทุนการผลิต คาใชจาย ความไดเปรียบคูแขงขันและผลิตภัณฑที่ได ตรงกับความตองการของลูกคา รวมทั้งไมทําลายสิ่งแวดลอมอีกดวย

Upload: others

Post on 29-Jun-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • 1

    บทที่ 1

    ที่มาและความสําคัญ ที่มาและความสําคัญของปญหา

    บรรจุภัณฑพลาสติกเปนวัสดุที่ออกแบบสําหรับการหอหุมสินคาหรือผลิตภัณฑเพื่อไมใหเกิดความเสียหาย รักษาคุณภาพของสินคา อีกทั้งชวยอํานวยความสะดวกในการขนยายผลผลิตจากกระ บวนการผลิตไปจัดเก็บในคลังสินคาเพื่อรอการขนสง และจัดจําหนายตอไป โดยเฉพาะอยางยิ่งในปจจุบันบรรจุภัณฑมีสวนสําคัญในการสรางเอกลักษณและมูลคาเพิ่มใหกับสินคาที่สามารถตั้งราคาใหเพิ่มสูงขึ้น และดึงดูดใจผูบริโภคใหเลือกซื้อสินคานั้นๆ ซึ่งเปนกลยุทธหนึ่งในการสงเสริมใหผูประกอบ การเพิ่มปริมาณการผลิต การจําหนายเพิ่มข้ึน ซึ่งนอกจากเปนสินคาจําเปนที่ภายในประเทศมีความตองการใชสูงเฉลี่ยปละ 1.9 แสนลานบาทแลว ในปที่ผานมายังสามารถสงออกไดมากกวา 4 หมื่นลานบาท และมีแนวโนมที่จะขยายตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง (ผกา ผดุงมาตรวรกุล ,2544 : 1)

    ในประเทศไทยมีผูผลิตที่ทําการผลิตบรรจุภัณฑพลาสติกที่ใชในอุตสาหกรรมแตละประเภทเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารที่มีแนวโนมที่สูงขึ้นทุกป และมีการแขงขันที่สูงมาก โดยผูผลิตแตละรายพยายามนําเทคนิคใหมๆ มาใช เพื่อเปลี่ยนแปลงรูปแบบใหมีลักษณะเหมาะสมและสะดวกตอการใชงาน ดานราคาจําหนายในประเทศจะขึ้นอยูกับวัตถุดิบและกรรมวิธีที่ใชในการผลิต แตเนื่องจากพลาสติกเปนวัสดุที่ตองใชเวลาในการยอยสลายนาน ในแตละปมีการบริโภคพลาสตกิเพือ่ใชในภาคอุตสาหกรรมเปนจํานวนมาก ที่สําคัญพลาสติกยังเปนวัตถุดิบที่ไดจากผลิตภัณฑปโตรเลียม ฉะนั้นเมื่อสถานการณราคาน้ํามันสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ยิ่งทําใหเม็ดพลาสติกซึ่งเปนวัตถุดิบหลักในการผลิตบรรจุภัณฑมีราคาแพงขึ้นและสงผลใหตนทุนการผลิตสูงขึ้นตามไปดวย นับวาเปนปญหาหลักของกลุมผูผลิตบรรจุภัณฑพลาสติก นอกจากนี้ยังตองตอสูกับผูผลิตในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑชนิดอื่นที่สามารถนํามาใชทดแทนบรรจุภัณฑพลาสติก เชน กระดาษ แกว ซึ่งถือวาเปนผลิตภัณฑที่สามารถนํามาแปรสภาพเพื่อนํากลับมาใชใหม ยอยสลายไดงาย และมีความปลอดภัยมากกวาบรรจุภัณฑพลาสติกอีกดวย

    ดังนั้นผูผลิตบรรจุภัณฑพลาสติกจึงควรมีวิธีการที่ดีเพื่อที่จะจัดการกับปญหาดังกลาวไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมใหกระทบตอตนทุนการผลิต คาใชจาย ความไดเปรียบคูแขงขันและผลิตภัณฑที่ไดตรงกับความตองการของลูกคา รวมทั้งไมทําลายสิ่งแวดลอมอีกดวย

  • 2

    ประวัติความเปนมาของบริษัท บริษัท สารคามรวมแพค จํากัด เปนบริษัทจํากัด ไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคล เมื่อวันที่3 มกราคม พ.ศ. 2544 ซึ่งจัดตั้งและอาศัยอยูตามที่อยูไดจดทะเบียนไวดั้งนี้คือ เลขที่ 58 หมูที่ 1 บานโคกกอ ตําบลโคกกอ อําเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม บริษัทจํากัดประกอบกิจการ ผลิตผลิตภัณฑพลาสติก เชน ขวดน้ําดื่ม หลอด ถุงพลาสติก ปจจุบันมีจํานวนพนักงานจํานวน 47 คน มีผูถือหุนจํานวน 7 คน เปนคนไทยทั้งหมด มีจํานวนหุนของบริษัทจํานวน 50,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท รายละเอียดของผูถือหุนมีดังนี้ 1. นายวินัย ประทีปะวณิช 539/19 ถนนศรีสวัสด์ิดําเนิน ตําบลตลาด อําเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม สัญชาติไทย อาชีพคาขาย จํานวนหุนที่ถือ 12,000 หุน 2. นายวิสูตร ประทีปะวณิช 12/3 หมูที่ 7 ตําบลสรางคอ อําเภอภูพาน จังหวัดสกลนครสัญชาติไทย อาชีพคาขาย จํานวนหุนที่ถือ 10,000 หุน 3. นายณัฐวุฒิ ประทีปะวณิช 73 ถนนสามัคคีอุทิศ ตําบลในเมือง อําเภอเมืองขอนแกน จังหวัดขอนแกน สัญชาติไทย อาชีพคาขาย จํานวนหุนที่ถือ 10,000 หุน 4. นางวีนัส ประทีปะวณิช 539/19 ถนนศรีสวัสด์ิดําเนิน ตําบลตลาด อําเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม สัญชาติไทย อาชีพคาขาย จํานวนหุนที่ถือ 4,500 หุน 5. นางสุรีย ประทีปะวณิช 539/19 ถนนศรีสวัสด์ิดําเนิน ตําบลตลาด อําเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม สัญชาติไทย อาชีพคาขาย จํานวนหุนที่ถือ 4,500 หุน 6. นางสาวนุจรี ประทีปะวณิช 539/19 ถนนศรีสวัสด์ิดําเนิน ตําบลตลาด อําเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม สัญชาติไทย อาชีพคาขาย จํานวนหุนที่ถือ 4,500 หุน 7. นางสาวแสงระวี ประทีปะวณิช 539/19 ถนนศรีสวัสด์ิดําเนิน ตําบลตลาด อําเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม สัญชาติไทย อาชีพคาขาย จํานวนหุนที่ถือ 4,500 หุน

  • 3

    โครงสรางการบริหารงานขององคกร ภาพประกอบที่1 : แผนโครงสรางการบริหานรงานองคกร

    ายการเ

    ประธานบริษัท

    กรรมการผูจัดการ

    ผูจัดการฝายการตลาด ผูจัดการโรงงาน ผูจัดการฝ งินและบัญชี

    ฝายผลิต ฝายจัดซื้อ

    แผนกการเงิน

    แผนกบัญชี

    จุดมุงหมายของการศึกษา

    1. ศึกษาถึงสภาพทั่วไปและปญหาที่เกิดในกระบวนการผลิตที่สงผลใหตนทุนการผลิตบรรจุภัณฑน้ําดื่มของบริษัท สารคามรวมแพค จํากัด เพิ่มข้ึน

    2.ศึกษาวิธีการในการลดตนทุนการผลิตที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑน้ําดื่ม 3. เสนอแนะวิธีการที่ใชในการลดตนทุนการผลิตและวิเคราะหมูลคาที่สามารถลดตนทุนไดจาก

    วิธีการที่นําเสนอ วีธีการศึกษา 1. ศึกษาหลักการและแนวคิดที่เกี่ยวกับการลดตนทุนการผลิตจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2. ศึกษาสภาพปญหาที่เกิดขึ้นจริงที่บริษัท สารคามรวมแพค จํากัด 3. นําหลักการและแนวคิดมาวิเคราะหและประยุกตใหสอดคลองกับปญหาการลดตนทุนการผลิตของบริษัท สารคามรวมแพค จํากัด

  • 4

    บทที่ 2

    ทฤษฎีและแนวคิดที่เกีย่วของกับปญหาที่ศกึษา ระบบการบริหารตนทุนกิจกรรม ( Activity Based Costing :ABC )

    ระบบการบริหารตนทุนกิจกรรม ( Activity Based Costing :ABC ) คือ การที่ผูบริหารหันมาใหความสําคัญกับการบริหารกิจกรรมเพื่อลดความสูญเปลาหรือกิจกรรมที่ไมเพิ่มคา ( Non – Value Added Activity ) ใหเหลือนอยที่สุดหรือหมดไป ตลอดจนเนนความสําคัญของการคํานวณตนทุนของ ผลิตภัณฑ ( Product Cost ) ตนทุนกิจกรรม ( Activity Cost ) และตนทุนของกระบวนการทางธุรกิจ ( Business Process Cost ) รวมทั้งใหความสําคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานใน ระยะยาว ผูบริหารจําเปนจะตองมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการบริหารงานเสียใหม โดยการลดกิจกรรมบางสวนลง ( มากกวาที่จะลดแรงงานเพียงอยางเดียว ) ตลอดจนดําเนินกิจกรรมตางๆที่เหลืออยูอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนความเรียบงายในการประกอบกิจกรรมและเนนการพัฒนากิจกรรมตางๆอยางตอเนื่อง ผูบริหารจะตองมีการมุงมั่นตอการดํารงไวซึ่งสภาพไดเปรียบทางดานแขงขันทั้งในประเทศ และในระดับโลก ตลอดจนดํารงไวซึ่งความเปนผูนําอุตสาหกรรม โดยการแนะนําผลิตภัณฑใหมออกสูตลาดอยางตอเนื่อง รวมทั้งเพิ่มความหลากหลายของประเภทผลิตภัณฑใหสอดคลองกับความตองการของผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสภาพแวดลอมการผลิตสมัยใหม

    การเปลี่ยนแปลงตางๆที่เห็นไดชัดสําหรับกิจการที่ดําเนินธุรกิจในสภาพแวดลอมการผลิตสมัยใหมไดแก

    1. การนําเอาคอมพิวเตอรเขามาใชในรูปแบบตางๆ เชน computer – aided design ( CAD) , local network (LAN )

    2. การใชเครื่องจักรอัตโนมัติแทนแรงงาน 3. การใชระบบการผลิตยืดหยุน ( Flexible Manufacturing System ) 4. การลดลงของสัดสวนแรงงานทางตรงและของเหลือ ( Inventory ) 5. การวางแผนเกี่ยวกับผลิตภัณฑและการวางแผนการผลิต 6. วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ ( Product – Life Cycle )

  • 5

    ผลิตภัณฑและปริมาณการผลิตเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดตนทุน ระบบการบัญชีแบบด้ังเดิมถือวาการผลิตภัณฑและปริมาณการผลิตเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดตนทุนจึงเนนไปที่ตัวผลิตภัณฑโดยจัดจําแนกตนทุนออกเปนตนทุนทางตรงและตนทุนทางออม ตลอด จนใชส่ิงที่มีความสัมพันธกับปริมาณการผลิตเปนเกณฑในการปนสวนคาใชจายการผลิต เชน การใชชั่วโมงแรงงานทางตรงเปนเกณฑในการปนสวนเงินเดือนผูควบคุมงานการใชชั่วโมงเครื่องจักรเปนเกณฑในการปนสวนกระแสไฟฟา การใชมูลคาวัตถุดิบเปนเกณฑในการปนสวนคาใชจายในการจัดซื้อวัตถุดิบ การใชส่ิงที่มีความสัมพันธกับปริมาณการผลิตเปนเกณฑในการปนสวนคาใชจายในการเตรียมการผลิต ( Setup Costs) คาใชจายในการขนยายวัตถุดิบ คาใชจายทางดานวิศวกรรม ( ทั้งๆ ที่คาใชจายเหลานี้ไมไดมีความสัมพันธใดๆ กับปริมาณการผลิต หากแตมีความสัมพันธกับจํานวนคําสั่งผลิตและชั่วโมงวิศวกรรมมากกวา ) การปนสวนในลักษณะนี้นอกจากจะทําใหผลิตภัณฑที่ผลิตที่ผลิตในปริมาณมากหรือใชวัตถุดิบที่มีมูลคามากตองรับภาระคาใชจายในการผลิตไปมากเกินความเกินจริงแลว ยังไมไดใหขอมูลที่ชัดเจนเพียงพอแกผูบริหารถึงความยากงายในการผลิตผลิตภัณฑแตละชนิดตลอดจนความสัม พันธระหวางผลิตภัณฑกับกิจกรรมตางๆ ที่เปนตัวผลักดันใหเกิดตนทุน รวมทั้งโอกาสหรือชองทางตางๆในการเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพในการดําเนินงาน

    ระบบการคิดตนทุนกิจกรรม ระบบการคิดตนทุนกิจกรรมหรือ ABC จะเนนการบริหารตนทุนโดยแบงการดําเนินงานขององค กรออกเปนกิจกรรมตางๆ การระบุกิจกรรมจะชวยใหทราบวาการดําเนินงานของกิจการประกอบขึ้นดวยกิจกรรมอะไรบาง ตลอดจนเวลาที่ใชไปในแตละกิจกรรม รวมทั้งผลไดจากการประกอบกิจกรรมตางๆเหลานั้น กิจกรรม (Activity) หมายถึงการกระทําใดก็ตามที่เปลี่ยนทรัพยากรขององคกร ( เชน วัตถุดิบ แรงงานและเทคโนโลยี ) ออกมาเปนผลผลิต ข้ันตอนงายๆของระบบ ABC จึงประกอบดวยกิจกรรมการกําหนดกิจกรรม การคิดตนทุนกิจกรรมและการวัดผลการปฏิบัติงาน ( ทั้งในรูปของเวลาและคุณภาพ ) สรุปไดดังนี้

    1. วิเคราะหกิจกรรม 2. การระบุตนทุนกิจกรรมและตัววัดผลการปฏิบัติงาน ( ตนทุนกิจกรรมหมายถึง ตนทุน

    ทรัพยากรทั้งหมดที่ใชไปในการประกอบกิจกรรมนั้น ) ตัววัดผลการปฏิบัติงานจะประกอบดวยตนทุนตอหนวยผลได ( Cost Per Output ) สัดสวนเวลาที่ใชในแตละกิจกรรมและคุณภาพของผลได

    3. การระบุผลไดของแตละกิจกรรมและตัวผลักดันตนทุนกิจกรรม ( Cost Driver ) ที่เกี่ยวของ 4. การระบุตนทุนกิจกรรมเขาสูส่ิงที่จะนํามาคิดตนทุน ( Cost Object ) ( ตนทุนกิจกรรมจะระบุ

    เขาสูตัวผลิตภัณฑกระบวนการผลิตหรือคําสั่งซื้อหรือโครงการตามปริมาณการใชกิจกรรม Cost Object ตาง ๆเหลานั้น )

  • 6

    5. การกําหนดวัตถุประสงคขององคกรในระยะสั้นและระยะยาว ( ปจจัยสําคัญที่จะนําไป สูความสําเร็จของกิจการ ) ผูบริหารจะตองเขาใจโครงสรางตนทุนขององคกรในปจจุบัน ตลอดจนสามารถระบุไดวาแตละกิจกรรมมีคุณคาในสายตาของลูกคาหรือผูที่ไดรับประโยชนจากกิจกรรมนั้นมากนอยเพียงใด

    6.การประเมินความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการประกอบกิจกรรมตางๆ ตลอด จนการกําหนดปจจัยสําคัญที่ทําใหกิจการประสบความสําเร็จ จะเปนประโยชนในการตรวจสอบกิจกรรมตางๆ วาไดทําไปอยางเหมาะสมหรือไมเพียงใด ซึ่งจะชวยใหผูบริหารสามารถมองเห็นถึงความสัมพันธระหวางกิจกรรมตางๆ กับผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการประกอบกิจกรรมนั้นๆ ไดอยางถูกตองยิ่งขึ้นทุกๆ กิจกรรมทั้งที่ไดทําไปหรือไมไดทําจะตองมีการเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเพื่อใชประกอบการพิจารณาวาควร จะประกอบกิจกรรมนั้นๆตอไปหรือไม หรือสมควรที่จะมีการปรับ เปลี่ยนรูปแบบของกิจกรรมบางประเภทเสียใหม การควบคุมตนทุนจะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นหากไดมีการนําเอาวิธีใหมๆ ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งมาใช ตลอดจนมีการระบุกิจกรรมที่ไมเพิ่มคาและคนหาสาเหตุที่ทําใหเกิดตนทุนกิจกรรมไมเพิ่มคา

  • 7

    กิจกรรม ZD (Zero Defect) การลดของเสียในกระบวนการผลิตใหเปนศูนย ภาพประกอบที่ 2 : สาเหตุทีท่ําใหเกิดของเสียนาํไปสูการ เมื่อมีของเสีย ผลที่ตามมาคอื ส้ินเปลืองในดานตาง ๆ

    ใชเวลาในการแกไขปญหาดังกลาวมาก สิ้นเปลืองเวลา

    ข้ันแรก หาสาเหตุการเกิดของเสีย โดยขอความชวยเหลือจากหลายๆ ฝาย และปรึกษาหารือเพื่อหาทางปองกนัปญหาการสงของลาชาและแกไขวิธีการใหม

    สิ้นเปลอืงแรงงาน

    ของที่ผลิตออกมาเสยี ใชไมได ตองทิ้งไป สิ้นเปลืองวัตถุดิบ

    ในการแกไขใหมตองใชเครือ่งจักร อุปกรณในการผลิตใหม สิ้นเปลืองเครื่องจักร อุปกรณ

    การใชเครื่องจกัร ตองใช ไฟฟา น้าํมัน น้ําปะปา สิ้นเปลืองพลังงาน

    จากจุดตางๆ ที่กลาวมานี้ จะเห็นไดวาของที่ผลิตออกมาแลวใชไมไดนั้น เปนสาเหตุที่ทําให

    ตนทุนของผลิตภัณฑสูงขึ้นซึ่งกําไรก็จะลดลงไปดวย รวมทั้งการสงของใหลูกคาจะลาชากวากําหนดเพราะตองเสียเวลาผลิตใหม เปนการทําลายความเชื่อมั่นที่ไดสรางไวกับลูกคา

    ผลิตภัณฑที่ผลิตออกมาแลวนั้น เกิดจากหลายๆ กรณีแยกเปนหัวขอใหญๆไดดังนี้ 1.คุณภาพที่ตองการเปนคุณภาพที่กําหนดไวสูงเกินไป ( กําหนดลักษณะพิเศษของ

    คุณภาพไวสูงเกินไป ) กรณีที่ฝายเทคนิคหรือฝายออกแบบนําเอาคุณภาพที่ลูกคาตองการมาถายทอดไวในแบบ

    ( Drawing ) ถาความตองการนั้นกําหนดไวสูงเกินความจําเปนโดยไมคํานึงถึงกําลังความสามารถในการผลิตของฝายผลิต กําลังความสามารถของเครื่องจักร อุปกรณการผลิตจึงเปนเรื่องที่เปนไปไมได หรือยากที่จะผลิตใหไดตามความตองการ ถาจะผลิตโดยไมคํานึงถึงเรื่องนี้ ก็จะมีของเสียเกิดขึ้นบอยครั้ง

  • 8

    จะเห็นไดวา คุณภาพที่ตองการถูกกําหนดไวสูงเกินไปนั้นทําใหมีของเสียเกิดขึ้นมาก จึงควรคํานึงถึงกอนออกแบบผลิตภัณฑ

    2.กรรมวิธีการผลิตไมสมบูรณ ของเสียที่เกิดขึ้นในโรงงาน อาจเนื่องมาจากความไมสมบูรณ หรือความไมถูกตองของกรรมวิธี

    การผลิต ซึ่งไดแก 1.หยิบวัตถุดิบลําบาก 2.กรรมวิธีการผลิตยุงยากซับซอน 3.ข้ันตอนการผลิตไมดี 4.กระบวนการผลิตไมดี 5.วิธีใชไมถูกตอง 6.วิธีตรวจสอบไมถูกตอง 3.ไมทราบขอเท็จจริงวา มีของเสียเกิดขึ้นกอนถึงขั้นตอนการตรวจสอบ ผลิตภัณฑในโรงงาน เมื่อการผลิตเสร็จส้ินลง พนักงานผูผลิตควรจะทราบวา ผลิตภัณฑที่ตน

    ผลิตออกมานั้นเปนของดีหรือของเสีย แตโดยมากจะไมทราบ เมื่อพบวามีของเสียก็มักจะถกเถียงกันวาเปนความบกพรองและความไมสมบูรณแบบของวิธีการตรวจสอบ ถาหากในขั้นตอนการผลิต พนักงานในสายการผลิตสามารถตัดสินแยกแยะไดกอนวาผลิตภัณฑนั้นเปนของดีหรือของเสีย ก็สามารถจัดการและหาวิธีการแกไขในขั้นตอนนั้นได

    วิธีการกําจัดของเสียที่บริษัททั่วไปนิยมใช 1.รวบรวมสถิติของเสีย เปนวิธีที่นิยมใชกันมากที่สุดในบริษัททั่วไปในปจจุบันนี้

    - ตรวจสอบแยกของดีของเสีย - ตรวจสอบออกใบรายงานของเสีย - ตรวจสอบเพื่อคนหาของเสีย - บันทึกผลที่เกิดจากของเสีย สถิติแบบนี้เปน “บันทึกผลที่เกิดจากของเสีย” 2.วิธีตรวจสอบอยางเขมงวดเพื่อลดของเสีย

    ในบริษัททั่วไปมีแนวคิดที่วา การที่จะไมใหมีของเสียในการผลิตหรือการลดของเสียนั้น สามารถทําไดโดยการตรวจสอบอยางเขมงวดรัดกุม

  • 9

    ตัวอยาง โรงงานแหงหนึ่ง ผลิตชิ้นสวน 1 ล็อต จํานวน 1,000 ชิ้น 1. วันแรกมีของเสีย 100 ชิ้น ผูจัดการโรงงานออกคําสั่ง”ใหทุกคนตรวจสอบเขมงวดยิ่งขึ้น” ฝายตรวจสอบคุณภาพจึงไดเพิ่มพนักงานควบคุมคุณภาพอีก 1 คน 2. วันที่ 2 ของเสียลดเหลือ 80 ชิ้น 3. วันที่ 3 ของเสียลดลงเหลือ 60 ชิ้น

    จากสภาพดังกลาว ทั้งผูจัดการและฝายตรวจสอบคุณภาพตางก็รูสึกสบายใจ และวางใจที่เห็นวาของเสียมีแนวโนมลดลง 4. วันที่ 4 ของเสียกลับเพิ่มข้ึนเปน 120 ชิ้น ดังนั้นในกรณีนี้ เปนกรณีที่พบเห็นกันอยูบอยๆ แมจะทําการตรวจสอบอยางเขมงวดเพียงใด ก็ไมเกิดผลในการลดลงของของเสียไดอยางถาวร 3.นําวิธีการตรวจสอบแบบสุมตัวอยาง ( Sampling Inspection ) มาใชเพียงวิธีเดียว ( เชื่อมั่นมากเกินไปวาการตรวจสอบโดยวิธีสุมตัวอยางเปนวิธีที่ดีที่สุด ) แนวคิดพื้นฐานของการตรวจสอบแบบสุมตัวอยางนี้เร่ิมจากแนวคิดที่วา ในจํานวนผลิตภัณฑ 1 แสนชิ้น หากมีของเสีย 1 ชิ้นหรือในจํานวนผลิต 1 ลานชิ้น หากมีของเสีย 1 ชิ้น ถือวาเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงไมได จะเห็นไดวา การตรวจสอบแบบสุมตัวอยาง เห็นหลักเหตุผลของวิธีการตรวจสอบ แตไมใชหลักเหตุผลของการประกันคุณภาพอยางแนนอน ภาพประกอบที่ 3: แผนผังวธิีการตรวจสอบแบบสุมตัวอยาง

    ไมเปนทีพ่อใจ

    การตรวจสอบสุมตัวอยาง

    ในการประกันคุณภาพ

    เปนเพียงหลักการเหตุผลของวิธีตรวจสอบเทานัน้

    เพื่อลดคาใชจายใหเหลือนอยที่สุด

    พิจารณาวิธีตรวจสอบเต็มจาํนวนและนํามาใช

    จําเปนตองมีการตรวจสอบเต็มจํานวน

  • 10

    การตรวจสอบตามวิธีการของZero Defect 1. การตรวจสอบเพื่อไมใหผลิตของเสีย ( การตรวจสอบโดยใชขอมูล ) การตรวจสอบเพื่อไมใหผลิตของเสีย มีอยู 3 วิธีคือ (1) วิธีตรวจสอบตามลําดับ ( Sequential Inspection Method ) (2) วิธีตรวจสอบดวยตนเอง ( Self Inspection Method ) (3) วิธีตรวจสอบดวยการควบคุมตนเหตุ ( Source Control Method ) (1) วิธีตรวจสอบตามลําดับ ( Sequential Inspection Method ) การตรวจสอบตามลําดับ หมายถึง พนักงานในหนวยถัดไปทําการตรวจสอบของที่หนวยหนาสงมาให เปนวิธีที่เปนไปตามลําดับ การตรวจสอบวิธีนี้เปนการตรวจสอบจากทรรศนะของคนภายนอก ไมแตเพียงจะมองขามเทานั้นยังทําใหคนที่ไมรูตัวเองวาไดผลิตของเสียออกมาไดรูตัวโดยมีขอมูลชัดเจนใหรับทราบดวยทําใหมีการตรวจสอบใหแนใจดวยตนเอง และทําการแกไขของเสียทันที เปนการย้ําเตือนวา ตอไปจะไมผลิตของเสียอีก หลักการพื้นฐานของวิธีตรวจสอบลําดับ “มุงใหเปนการตรวจสอบที่ลดของเสียใหเหลือนอยที่สุด” 1.การตัดสินวาเปนของเสีย ใหถือตามทรรศนะของคนภายนอก 2.ปอนขอมูลกลับไปใหพนักงานผูผลิตทันที 3.ตรวจรายละเอียดของเสียใหละเอียดยิ่งขึ้น 4.พนักงานผูทําการผลิตตองแกไขดวยตนเอง 5.ปองกันการเกิดของเสียในการผลิตครั้งตอไป โดยการตรวจสอบเต็มจํานวน (2) วิธีตรวจสอบดวยตนเอง ( Self Inspection Method ) การตรวจสอบดวยตนเอง หมายถึง วิธีที่พนักงานผูผลิตเปนผูทําการตรวจสอบดวยตนเอง การตรวจสอบโดยใชขอมูล เปนสิ่งจําเปนในการที่ไมใหมีของเสีย สําหรับการปอนขอมูลกลับ ( Feed back ) ของการตรวจสอบและการผลิต ยิ่งทําไดเร็วเทาไรก็ยิ่งไดผลมากเทานั้น แตการตรวจสอบดวยตนเองที่กลาวมานี้ เปนแนวความคิดที่จะชวยเสริมเงื่อนไขใหมีความสมบูรณมากขึ้น ตารางที่ 1 : การตรวจสอบดวยตนเอง

    วัตถุประสงคของการตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ 1.เพื่อคนหาของเสีย ( ตรวจสอบเพื่อแยกของดีของเสีย )

    1.ตรวจสอบแบบสุมตัวอยาง

    2.ไมใหมีการผลิตของเสีย ( ตรวจสอบโดยใชขอมูล )

    2.ตรวจสอบเต็มจํานวน

  • 11

    (3) การตรวจสอบโดยใชการควบคุมตนเหต ุ( ที่มาของของเสีย ) ( Source Control Method ) วิธีนี้เปนการตรวจสอบที่ไดผลมากกวาวิธีตรวจสอบดวยตัวเอง การควบคุมตนเหตุ ( ที่มาของของเสีย ) หมายถึง การควบคุม“ตัวปจจัยสําคัญ” ที่เปนตัวกํา หนดคุณภาพ ซึ่งในการควบคุมตนเหตุจะมี 2 ลักษณะคือ การควบคุมตนเหตุแนวตั้ง ( ยอนกลับไปที่กระบวนการผลิตแรก เพื่อคนหาสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดของเสีย เมื่อพบแลวทําการควบคุมสาเหตุดังกลาว ) อีกลักษณะหนึ่งคือ การควบคุมตนเหตุแนวนอน ( ใหคนหา “สาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดของเสียซึ่งแฝงตัวอยูสวนใน” เมื่อพบแลวใหดําเนินการควบคุมสาเหตุดังกลาว ) 2.การตรวจสอบเต็มจํานวนแบบ Fool Proof System Fool proof system ที่ยกมากลาวนี้ เปนการดําเนินการระบบตรวจสอบเต็มจํานวนที่ใชคาใชจายถูกมาก คําวา Fool proof ก็คือวิธีการปองกันความผิดพลาดอันเนื่องมาจากความเผลอเรอของพนักงาน ในการเตือนใหใชความระมัดระวัง มี 2 วิธีคือ “โดยใหเครื่องจักรหยุดทํางาน สายพานลําเลียงหยุดเดิน” และ “จะมีสัญญาณไฟแดง หรือมีเสียงสัญญาณดังขึ้น” เปนตน การตรวจสอบแบบ Fool proof จะทําได 3วิธี คือ

    (1) วิธีการสัมผัส ซึ่งจะตรวจสอบดูวามีความแตกตางของรูปรางและขนาด ของผลิตภัณฑที่ผลิตออกมาหรือไม

    (2) วิธีตรวจสอบคาคงที่ จะไมใหมีของเสียโดยการตรวจสอบคาคงที่ใหแนใจ (3) วิธีการตรวจสอบขั้นตอนการเคลื่อนไหว โดยจะตรวจสอบใหแนใจวา มีข้ันตอนการ

    เคลื่อนไหวที่กําหนดแนนอนตายตัวรวมอยูดวยหรือไม 3.การตรวจสอบตามความรูสึก ( Sensary Inspection ) และการตรวจสอบตามลําดับข้ัน ( equential Inspection ) การตรวจสอบตามความรูสึก เปนการตรวจสอบโดยอาศัยความรูสึก ( ประสาทสมัผัสทั้ง 5 ) ของมนุษย โดยเฉพาะอยางยิง่ในโรงงานอุตสาหกรรมที่จําเปนจะตองอาศัยการตรวจสอบดวยสายตา (Visual Inspection) หรือที่เรียกวาการตรวจสอบดวยตนเองนั้น มักเกดิความรูสึกของการประนีประนอม ดังนัน้เพื่อใหการตรวจสอบเปนไปอยางมปีระสิทธิภาพจึงควรใชวิธีตรวจสอบตามลําดับ ในกรณีที่จะใชวิธีการตรวจสอบตามความรูสึก จําเปนตองคํานึงถึง (1) จัดทําตัวอยางที่ชี้ชัดลงไปวาเปนคุณภาพตามที่ตองการหรือไม ( Boudary Sample ) และตัดสินการตรวจสอบโดยเปรียบเทียบกับตัวอยางที่ทําขึ้น

  • 12

    ภาพประกอบที่ 4 : ตัวอยางที่ชี้ชัดวาเปนคุณภาพตามที่ตองการหรือไม

    การตัดสินตามความรูสึก

    ฝกฝนการตัดสินใจ

    ตัวอยางที่ชี้ชัดวาเปนคุณภาพตามที่ตองการหรือไม

    (2) ฝกฝนการตัดสินใจเปนครั้งคราวโดยการใชตัวอยางที่ชี้ชัดวาเปนคุณภาพตามที่ตองการหรือไม หรือใชชิ้นตัวอยาง ( Test piece ) เปนตัวเปรียบเทียบ (3) การพิจารณาตัดสินใหไดในสภาพใกลเคียงกับคุณภาพที่ตองการ โดยกําหนดผูรับผิดชอบในการตรวจสอบเพื่อตรวจสอบซ้ําอีกครั้ง การพิจารณาเกี่ยวกับการตรวจสอบตามความรูสึก (Sensary Inspection ) และการตรวจสอบตามลําดับข้ันตอน ( Sequential Inspection ) พิจารณา 3 จุดดวยกัน

    1. สามารถแสดงระดับของความผิดปกติเปนตัวเลขไดหรือไม 2. สามารถสํารวจและตรวจสอบความผิดปกติ โดยการตรวจสอบที่ตัววัตถุไดหรือไม 3. สามารถทราบสาเหตุของความผิดปกติ โดยการควบคุมที่ตนเหตุ ( Source Control ) ไดหรือไม

    วิธีการดําเนินการอยางเปนขั้นตอนในการลดของเสียเปนศูนย หลักการสําคัญในการดําเนินการเพื่อลดของเสียใหเปนศูนย วิธี - วิธีการตรวจสอบตามลําดับ - วิธีตรวจสอบดวยตนเอง

    - วิธีตรวจสอบดวยการควบคุมตนเหตุ การดําเนินการ ดําเนินการโดยการตรวจสอบเต็มจํานวน (100%Inspcection) เทคนิค นํา Fool proof เขามาใช

  • 13

    ตารางที่ 2 : เปรียบเทียบความแตกตางและจุดเดนจุดดอยระหวางระบบการบริหารตนทนุกิจกรรม ( ABC ) กับ กจิกรรมการลดของเสียในกระบวนการผลติใหเปนศนูย ( ZD )

    ส่ิงที่แตกตางกนั ส่ิงที่เหมือนกนั กิจกรรม ABC กิจกรรม ZD

    - เปนกิจกรรมที่ทําเพื่อลดความสูญเสียเนื่องจากกระบวนการผลิต - ทุกฝายและทุกแผนกในองคกรมีสวนรวมในการทํากิจกรรม - มีการพัฒนากิจกรรมอยางตอเนื่อง

    - เนนการบริหารตนทนุของแตละกิจกรรม - เนนการคนหาและวิเคราะหตนทนุของกิจกรรมเพื่อนาํไปสูการควบคุมตนทนุอยางมีประ สิทธิภาพ

    - เนนการลดการเกิดของเสียจากกระบวนการผลิต - เนนการตรวจสอบของเสีย ( QC )

    กิจกรรม จุดเดน จุดดอย กิจกรรม ABC 1.จะทาํใหทราบวาแตละ

    กิจกรรมมีการดําเนนิงานเปนอยางไร ใชเวลาและคาใชจายไปเทาไร ทําใหสามารถลดตนทนุที่ไมจําเปนลงไดบาง 2.ทุกคนในองคกรมีสวนรวมในการทาํกิจกรรม 3.มีการประเมนิประสิทธิภาพและประสิทธผิลของการประกอบกิจกรรมตางๆ 4.กิจกรรม ABC สามารถพัฒนาไปสูการทํา TPM ในองคกรได

    1.จะตองใชผูชํานาญการทางดานบัญชใีนการวเิคราะหตนทนุกิจกรรมตางๆ 2.พนกังานรูสึกวาเปนการเพิ่มภาระที่นอกเหนือจากการทํางานปกติ จึงไมคอยใหความรวมมือเทาที่ควร

    กิจกรรม ZD 1.เนนทีก่ารตรวจสอบที่ลดของเสียใหเหลือนอยที่สุด 2.ทุกแผนกที่เกี่ยวของกับการผลิตมีสวนรวมในการทํากิจกรรม

    1.ZD จะเนนที่การตรวจสอบ ซึ่งถือวาเปนลักษณะของการควบคุมคุณภาพ (QC) แตไมไดเนนที่สาเหตุของการเกิดของเสียและการปองกนัการเกิดของเสียจากระบบการผลิต 2.ทําใหพนักงานรูสึกวาเปนการ

  • 14

    จับผิดการทาํงานของตน 3.พนกังานเหน็วาการตรวจสอบเปนเรื่องที่นาเบื่อหนาย

    ประเด็นปญหาที่มองเห็นไดจากองคประกอบของตนทุน ประเด็นปญหาที่ควรนํามาพิจารณา คือ

    - ในขั้นการแปรรูปวัตถุดิบถูกนํามาใชเพียงไร โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อชิ้นงานไมไดมาตรฐานวัตถุดิบจะสูญเปลาเพิ่มข้ึนและหากเราสามารถนําวัตถุดิบที่มีราคาถูกกวามาใชทดแทนก็จะเกิดผลดีอยางมาก

    - ในทุกสถานประกอบการจะใหความสําคัญอยางยิ่งในการสูญเปลาทางดานวัตถุดิบ โดยลดจํานวนงานที่ไมไดมาตรฐาน อยางไรก็ตาม ยังมีสถานประกอบการที่ทําการผลิตโดยไมทราบวาวตัถดุบิราคาเทาไร ทั้ง ๆ ที่ใชในการแปรรูปอยูทุกวัน ส่ิงสําคัญคือ จะตองสรางเสริมจิตสํานึกดานตนทุน โดยทําใหพวกเขาเหลานั้นทราบวา วัตถุดิบที่ตนใชในการแปรรูปมีราคาคางวดเทาได - การสํารองวัตถุดิบไวมากเกินควร อาจทําใหคุณภาพของวัตถุดิบเสื่อมเนื่องจากเก็บไวนานเกินไป และวัตถุดิบที่สํารองไวไมกอใหเกิดผลกําไรตอบริษัท ดังนั้น การสํารองวัตถุดิบมากเกินไปจะเปนสาเหตุหนึ่งซึ่งทําใหตนทุนการผลิตเพิ่มข้ึนโดยไมรูตัว - ราคาวัตถุดิบ ถาทราบราคาวัตถุดิบ จะชวยกระตุนใหเกิดความสนใจที่จะลดความสูญเปลาในการแปรรูป หรือลดของเสียที่จะเกิดขึ้น - ลดตนทุนคาแรงทางตรง โดยปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานของพนักงานใหเหมาะสม และดูวาความสามารถของพนักงานแตละคนเหมาะสมกับวิธีการปฏิบัติงานที่จะนํามาใชหรือไม การปรับปรุงวิธี การปฏิบัติงานของพนักงานไดโดย การอบรม การฝกทักษะและการพัฒนาแรงงาน

    ดังนั้นเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการสรางมูลคาเพิ่ม เราตองเพิ่มปริมาณชิ้นงาน ลดอัตราชิ้นงานที่ไมไดมาตรฐาน ลดจํานวนวัตถุดิบ ลดราคาตอหนวยของวัตถุดิบ ลดเวลาการทํางาน ลดอัตราคาแรง ลดคาใชจายทางออม ปจจัยที่ทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้น คาใชจายที่ไมจําเปน การพยายามที่จะขจัดสิ่งที่ไมจําเปนออกไป เพื่อใหเหลือแตส่ิงที่จําเปนเทานั้น เพื่อฝกฝนใหรูถึงคุณคาของวัตถุดิบและสิ่งที่มีอยู ปญหาที่สถานประกอบการซึ่งผลิตสินคาอุตสาหกรรมมักประสบคือ ปญหาชิ้นงานไมไดมาตร ฐาน ความสูญเสียอันเกิดจากการผลิตชิ้นงานไมไดมาตรฐานจะทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้น ความ

  • 15

    สูญเสียนี้มิใชเปนเพียงความสูญเสียทางดานวัตถุดิบที่ใชในการผลิต ดานเครื่องมือ เครื่องจักร และดานแรงงานเทานั้น ยังกอใหเกิดความสูญเสียทางดานอื่นอีก คือ เปนการเพิ่มคาใชจายในการคัดชิ้น งานที่ไมไดมาตรฐานออก คาใชจายปรับแตงชิ้นงานที่ไมไดมาตรฐาน คาขนสงในการขนยายชิ้นงานที่ไมไดมาตรฐานไปไวที่อ่ืน คาใชจายในการเก็บรักษา และกอใหเกิดความสูญเสียในกระบวนการผลิตกอนและหลัง นอกจากนั้นยังมีความสูญเสียที่เกิดจากการเสียโอกาส ซึ่งหมายถึง โอกาสที่เราทํากําไรจากการนําปจจัยการผลิตที่ทํางานชิ้นนั้นไมไดมาตรฐานไปผลิตเปนชิ้นงานที่ไดมาตรฐาน การขจัดความเกินพอดี ความไมสม่ําเสมอ และความสูญเปลา ประการแรกคือ การคนหาความเกินพอดี ความไมสม่ําเสมอ และความสูญเปลาออกมาไดอยางไร หากเราสังเกตกระบวนการผลิตที่ทําอยูทุกวันใหดีวา เครื่องมือเครื่องจักรที่ใชอยูนั้นถูกใชงานอยางเต็มที่หรือไม การทํางานของพนักงานมีความสูญเปลาหรือไม การใชวัตถุดิบและชิ้นสวนอุปกรณมีความสูญเปลาหรือไม เราจะคนพบปญหามากมาย ความสูญเปลานี้เกิดขึ้นเปนประจําจนกลายเปนความเคยชิน ทําใหเราไมสามารถมองเห็นไดวามันคือความสูญเปลา ตารางที่ 3: รายการตรวจสอบความเกินความพอดี ความไมสม่ําเสมอ และความสูญเปลา

    หัวขอ เนื้อหา ความเกินพอดี - จํานวนคนนอยเกินไปหรือไม

    - ทําใหงานสบายกวานี้ไดหรือไม - การจัดตําแหนงของคนดีแลวหรือ - ทวงทาขณะทํางาน สภาพแวดลอม วิธีการทํางานมี

    ความเกินความพอดีหรือไม

    คน

    ความไมสม่ําเสมอ - มีความแตกตางของแตละบุคคลหรือไม งานที่ไดแตกตางกันหรือไม

    - ความแปรปรวนมีมากเกินไปหรือไม - จํานวนงาน และระยะเวลาการทํางานของแตละคน

    แตกตางกันหรือไม - ความตอเนื่องจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งดีหรือไม

    ( ในขณะที่คนหนึ่งทํางาน อีกคนหนึ่งตองรอหรือไม ) - การวางตําแหนงของพนักงานผูชํานาญการเหมาะสม

    หรือไม - ในบางครั้งงานยุงเกินไป ในบางครั้งงานงายเกินไปหรือไม - การฝกอบรม การฝกงานโดยเฉลี่ยทั่วถึงกันหรือไม

  • 16

    คน ความสูญเปลา - ปริมาณงานกับจํานวนคนสมดุลกันหรือไม - มีการคอยงาน มีเวลาวางเกินไปหรือไม - ใหงานที่เหมาะสมกับบุคคลที่เหมาะสมหรือไม - มีการเคลื่อนไหวที่สูญเปลาหรือไม - วิธีการมอบหมายงานมีความสูญเปลาหรือไม - แผนงาน ข้ันตอนการทํางานกอใหเกิดความสูญเปลา

    หรือไม ความเกินพอดี - สมรรถนะของเครื่องจักรเพียงพอหรือไม การบํารุงรักษา

    การตรวจเช็ค การซอมแซม การเปลี่ยนอะไหล ฯลฯ กระทําอยางถูกตองหรือไม การวัดคาถูกตองหรือไม

    - การควบคุมคาความคาดเคลื่อนเหมาะสมหรือไม ความไมสม่ําเสมอ - กําลังการผลิตของเครื่องจักรถูกเฉลี่ยอยางเหมาะสม

    หรือไม มีความสมดุลหรือไม - ภาระของกระบวนการผลิตแตละกระบวนการผลิตกําหนด

    ไวอยางเหมาะสมหรือไม - มีการรองาน หรือวางงานหรือไม

    เครื่องมือ เครื่อง จักร

    ความสูญเปลา - ใชสมรรถนะของเครื่องจักร ( กําลังการผลิต คุณภาพ ) อยางเหมาะสมหรือไม

    - การนําเอาระบบอัตโนมัติ เครื่องจักร เครื่องผอนแรง เขามาใชอยางถูกตองหรือไม

    - ระยะเวลามาตรฐานที่กําหนดไวเหมาะสมหรือไม - การจัดคนและเครื่องจักร กระทําไวอยางเหมาะสมหรือไม

    ความเกินพอดี - คุณภาพความคงทน สมรรถนะมีความเกินความพอดีหรือไม

    - การสงมอบมีความเกินพอดีหรือไม - การออกแบบมีความเกินพอดีหรือไม

    ชิ้นสวน

    ความไมสม่ําเสมอ - มีความแปรปรวนในคุณภาพหรือไม - สมรรถนะ รูปลักษณ ขนาด ของวัตถุดิบมีความไม

    สม่ําเสมอหรือไม - แตละล็อตแตกตางกันหรือไม

  • 17

    ความสูญเปลา - อัตราชิ้นงานไมไดมาตรฐานมากเกินไปหรือไม มีการทิ้งชิ้นงานไมไดมาตรฐานหรือไม

    - สามารถใชวัตถุดิบอ่ืนเพื่อใหชิ้นสวนมีราคาถูกกวานี้หรือไม

    - ตองนํางานมาปรับแตง หรือตองผลิตชิ้นงานซ้ําหรือไม - มีความสูญเปลาที่เกิดจากการออกแบบหรือไม

    ตารางที่ 4 : จุดตรวจสอบในการลดตนทุนการผลิต

    จุดตรวจสอบ ลดตนทุนดาน วัตถุดิบ

    - จัดรูปแบบการใชวัตถุดิบไวอยางเหมาะสมหรือยัง - พิจารณาดูอีกครั้งวาใชวัตถุดิบอยางสิ้นเปลืองหรือไม - ควบคุมและตรวจสอบปริมาณสํารองของวัตถุดิบ - วัตถุดิบมีความสูญหายหรือเสียหายหรือไม ปรับปรุงวิธีการจัดเกบ็และ

    เคลื่อนยาย - พิจารณาวาวัตถุดิบสามารถนํามาแปรรูซ้ําไดอีกครั้งหรือไม - ปรับปรุงการจัดเก็บวัตถุดิบ เพื่อปองกันการเสื่อมคุณภาพ - ตรวจสอบวา ปริมาณสํารองของวัตถุดิบนอยหรือมากเกินไปหรือไม - ลดการเกิดชิ้นงานที่ไมไดมาตรฐาน - พิจารณาการนําวัตถุดิบที่ไมมีความจําเปนและวัตถุดิบที่ทิ้งไวเฉย ๆ มา

    ใชใหเกิดประโยชน ลดตนทุนการแปรรูป

    - ลดเวลาที่พนักงานตองคอยงาน - ลดเวลาที่ใชในการเตรียมการแปรรูป - เพิ่มอัตราการเดินเครื่องใหเหมาะสม - ปรับปรุงกรรมวิธีการแปรรูป - ปรับปรุงการวางผังเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องวัด และสถานที่ในการ

    ทํางาน - เพิ่มสมรรถนะในการทํางานโดยปรับปรุงความสูง ตําแหนง รูปราง

    ของแทนที่ใชทํางาน - จัดลําดับการไหลของงานในระบบการผลิตเสียใหม - ปรับปรุงขั้นตอนการเตรียมการตาง ๆ กอนที่จะเริ่มทํางานเสียใหม

  • 18

    ( ปรับปรุงงานเสริม ) - ใชเครื่องจักร เครื่องมือใหเกิดประโยชนสูงสุด - นําเครื่องมือที่ทิ้งไวเฉย ๆ มาใช หรือนําออกไปจากกระบวนการผลิต

    ลดตนทุนดานแรงงาน ลดตนทุนดานแรงงาน

    - ลดจํานวนครั้งในการขนยาย - พิจารณาปรับปรุงกระบวนการที่ไมจําเปน ( กระบวนการที่ไมกอใหเกิด

    กําไร อาทิ การแกไขชิ้นงาน การตรวจสอบ ) - พิจารณาดูวา จัดเก็บขอมูลที่ไมมีความจําเปนหรือไม - เพิ่มทักษะของพนักงานใหใชทํางานไดหลายอยาง - เพิ่มความเร็วในการทํางานโดยการฝกฝนซ้ําแลวซ้ําอีก - ใหงานของพนักงานในสายการผลิต และพนักงานในสายการประกอบ

    มีความสมดุลกัน ( จัดปริมาณงานตามความสามรถ ) - จัดแยกแยะกระบวนการผลิตอยางเหมาะสม ทําใหการไหลของงาน

    ราบร่ืน ( งานในสายการผลิต สวนตนและสวนปลายของสายการผลิตจะเปนตําแหนงที่สําคัญมาก )

    ลดคาโสหุย - บํารุงรักษาเครื่องจักรใหดี ปองกันการรั่วไหล ( การรั่วไหลของน้ํา น้ํามัน อากาศ ไฟฟา )

    - ไมใชไฟฟาอยางสิ้นเปลือง - ไมใชน้ําอยางสิ้นเปลือง ( พิจารณาระบบหมุนเวียนกลับมาใชใหม คิด

    หาวิธีการใชในปริมาณที่นอยลง ) - ปรับปรุงวิธีการใชวัสดุเสริม เพื่อใหปริมาณการใชลดลง ( นํากลับมา

    ใชใหม ทําใหใชงานไดนานขึ้น คิดหาวิธีการลดปริมาณการใช ) - เพิ่มประสิทธิภาพการบํารุงรักษา ( ทําการบํารุงรักษาแตเนิ่น ๆ ) - จัดวัตถุดิบ วัสดุเสริม อุปกรณที่ใชในสํานักงาน ฯลฯ ใหเปนระเบียบ

    เรียบรอย - กําหนดมาตรฐานในการใชวัสดุเสริม ( น้ํามัน กาว ตะกั่วบัดกรี ถุง

    มือ เทป ฯลฯ ) - ลดขั้นตอนการทํางานในสํานักงาน ( ลดจํานวนใบเสร็จหรือเอกสาร

    ตาง ๆ ลดขั้นตอนดานเอกสาร ) - นําเศษกระดาษกลับมาใชใหม (ใชดานหลังของกระดาษคอมพิวเตอร)

  • 19

    หวงโซคุณคา (Value Chain) ตามแนวคิดของ Michael E. Porter เปนแนวคิดที่ชวยในการทําความเขาใจถึงบทบาทของแตละหนวยงานปฏิบัติการวาจะมีสวนชวยเหลือใหองคกรธุรกิจกอกําเนิดคุณคาใหแกลูกคาอยางไร โดยคุณคาที่บริษัทสรางขึ้นสามารถวัดไดโดยการพิจารณาวาผูบริโภคยินยอมที่จะจายเงินเพื่อซื้อสินคาหรือบริการของบริษัทมากนอยเพียงใด แนวคิดนี้แบงกิจกรรมภายในองคกร เปน 2 กิจกรรม คือ กิจกรรมหลัก (Primary Activities) และกิจกรรมสนับสนุน(Support Activities) โดยกิจกรรมทุกประเภทมีสวนในการชวยเพิ่มคุณคาใหกับสินคาหรือบริการของบริษัท กิจกรรมหลัก 5 กิจกรรมเปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการผลิตหรือสรางสรรคสินคาหรือบริการ การตลาดและการขนสงสินคาหรือบริการไปยังผูบริโภค ประกอบดวย

    Inbound Logistics กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการไดรับ การขนสง การจัดเก็บและการ แจกจายวัตถุดิบ

    Operations กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนหรือแปรรูปวัตถุดิบใหออกมา เปนสินคา เปนขั้นตอนการผลิต

    Outbound Logistics กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บ รวบรวม จัดจําหนายสินคา และบริการไปยังลูกคา

    Marketing and Sales กิจกรรมที่เกี่ยวกับการชักจูงใหลูกคาซื้อสินคาและบริการ Customer Services กิจกรรมที่ครอบคลุมถึงการใหบริการเพื่อเพิ่มคุณคาใหกับสินคา

    รวมถึงการบริการหลังการขาย สวนกิจกรรมสนับสนุน เปนกิจกรรมที่ชวยสงเสริมและสนับสนุนใหกิจกรรมหลักสามารถดําเนินไปได ประกอบดวย

    Procurement กิจกรรมในการจัดซื้อ - จัดหา input เพื่อมาใชในกิจกรรมหลัก

    Technology Development กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยีที่ชวยในการเพิ่มคุณคาให สินคาและบริการหรือ กระบวนการผลิต

    Human Resource Management กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ตั้งแตวิเคราะหความตองการ การสรรหา และการคัดเลือก ประเมินผล พัฒนา ฝกอบรม ระบบเงินเดือนคาจาง และแรงงานสัมพันธ

    Firm Infrastructure โครงสรางพื้นฐานขององคกร ไดแก ระบบบัญชี ระบบการเงิน การบริหารจัดการขององคกร

  • 20

    ซึ่งกิจกรรมหลักขางตนจะทํางานประสานงานกันไดดีจนกอใหเกิดคุณคาไดนั้น จะตองอาศัยกิจ กรรมสนับสนุนทั้ง 4 กิจกรรม และนอกจากกิจกรรมสนับสนุนจะทําหนาที่สนับสนุนกิจกรรมหลักแลว กิจกรรมสนับสนุนยังจะตองทําหนาที่สนับสนุนซึ่งกันและกันอีกดวย และจะเห็นไดวา ระบบสารสนเทศจะเปนองคประกอบหนึ่งในหวงโซคุณคาในสวนของการพัฒนาเทคโนโลยี ที่จะนํามาใชในการวางแผน การดําเนินงาน การตัดสินใจ และการควบคุม โดยจะตองทําหนาที่สนับสนุนเชื่อมตอกิจกรรมในทุกๆ องคประกอบของหวงโซคุณคา เปนการสรางความไดเปรียบในเชิงแขงขันขององคกรเปนอยางดี

  • 21

    การปรับปรุงเฉพาะเรื่องเพื่อการผลิตที่มีประสิทธิภาพ 1. การปรับปรุงเพื่อขจัดการชํารุดเสียหายของเครื่องจักรใหเปนศูนย ปญหาทั่วไปที่เกี่ยวของกับการชํารุดเสียหายของเครื่องจักรมีดังนี้

    1. ความเอาใจใสของฝายผลิตมีนอย 2. ความสามารถในการวิเคราะหสาเหตุของการชํารุดเสียหายของเครื่องจักรไมดีพอ 3. การบํารุงรักษาและการดําเนินการไมเขมแข็งพอ 4. การบุงรักษาเชิงทํานายไมเขมแข็งพอ แนวคิดในการลดการชํารุดเสียหายของเครื่องจักร 1. การแยกประเภทของการชํารุดเสียหาย 2. การวิเคราะหการชํารุดเสียหาย 3. การเตรียมภาวะเงื่อนไขพื้นฐาน 4. การควบคุมรักษาภาวะเงื่อนไขที่ใช 5. การทําใหการชํารุดกลับสูสภาพปกติ 6. การปรับปรุงจุดออนของการออกแบบ 7. การพัฒนาความชํานาญของการเดินเครื่องและการบํารุงรักษา

    ตาราง ที่ 5 : สรุปการปรับปรุงเพื่อขจัดการชํารุดเสียหายของเครื่องจักรใหเปนศูนย ข้ันตอนการทาํใหการชํารุด

    เสียหายเปนศนูย บทบาทหนาทีข่องฝายผลิต บทบาทหนาทีช่องฝายซอมบํารุง

    1. รวบรวมความชํารุดเสียหายที่มีตั้งแตในอดีต - แบงแยกประเภทวาเปนการชํารุดเสียหายที่เกิดขึ้นซ้ํา หรือเกิดขึ้นโดยฉับพลัน - แบงแยกความยากงาย ( สามารถปองกนัการบาํรุง รักษาดวยตนไดหรือไม ) - แบงแยกตามสวนทีเ่กิด - แบงแยกตามโหมดของการชํารุดเสียหาย

    - สํารวจความรับผิดชอบของฝ ายผลิต เชน การทํ างานที่ผิดพลาด และวิธีการแกไข - การชํารุดเสียหายที่สามารถแกไขไดดวยการบํารุงรักษาดวยตนเอง ตอไปจะทําอยางไร

    - คนหาการชํ า รุด เสี ยหายที่เกิดขึ้นจากรายงานการบันทึกการบํารุงรักษา - ส่ิงที่ไดทําการแกไขชั่วคราวไว ใหแกไขอยางถาวร

  • 22

    2. การวิเคราะหการชาํรุดเสยี หายและการตรวจเช็คโดยรวม - ทบทวนการวิเคราะหการชํารุดเสียหายที่เกิดขึ้น - วิเคราะหการชํารุดเสียหายที่เกิดขึ้นใหมอยางจริงจัง

    - ดําเนินการวิเคราะหการชํารุดเสียหายโดยคิดวาเปนปญหาของตนเอง - ถามวา ทําไม ทําไม ซ้ํา ๆ กัน - ตรวจเช็คเครื่องจักรที่คลายคลึงกัน และแกไขสิ่งที่เปนสาเหตุ

    - วิ เคราะหและแนะนําอยางจริงจัง - ยืนยันการซอมแซมที่ผิดพลาดแล ะทํ า ก า ร แ ก ไ ข ( ฝ ก อบทางดานเทคนิค เปนตน )

    3. กําจัดความบกพรองเชิงบังคับและทําใหความบกพรองที่ปลอยทิ้งไวกลับสูสภาพปกติ

    - คนหาจุดบกพรองโดยการทําความสะอาด - ปรับปรุงสภาพเงื่อนไขพื้นฐาน ( กําจัดความบกพรองเชิงบังคับ เนื่องจากความสกปรก ทําการเติมน้ํามันหลอล่ืนและการขันแนน ) - ศึกษาสภาวะเงื่อนไขที่ใช

    - ใ ห ก า ร อ บ ร ม แ ล ะ ชี้ แ น ะจุดบกพรอง - รวบรวมสภาวะเงื่อนไขที่ใชและใหการชี้แนะ - กําจัดความบกพรองเชิงบังคับสวนที่มองไมเห็นดวยตา - รีบทําความบกพรองที่ปรากฎรีบกลับสูสภาพปกติโดยเร็ว

    4. การวิจัยจุดออน - ดํ า เนิ นป รับป รุ ง เพื่ อ รักษาสภาวะเงื่อนไขพื้นฐานไดงาย ( แกไขจุดที่กอใหเกิดสิ่งสกปรก และตําแหนงที่ยากลําบากในการดําเนินงาน )

    - รวบรวมและแกไขจุดออนของการออกแบบ

    - ศึกษาแนวทางในการยืดอายุการใชงาน - ปรับปรุงโครงสราง

    5 . เ ต รี ย ม ม า ต ร ฐ า น แ ล ะควบคุมดูแล ( รวมถึงการชํารุดเสียหายที่เกี่ยวของกับของเสีย )

    - เตรียมเอกสารการบํารุงรักษาดวยตนเอง - การตรวจเช็คตาม Check list และการทําใหความบกพรองกลับสูสภาพปกติ - คนหาจุดบกพรองจากการตรวจเช็คเครื่ องจักรโดยรวม และทําการแกไข

    - เตรียมเอกสารมาตรฐานการบํารุงรักษาตามระยะเวลา ( สํารวจอายุการใช งานของเครื่องจักรแตละตัวและชิ้นสวนที่เปนสวนประกอบ ) และทําใหความบกพรองกลับสูสภาพปกติ - ทําใหความสัมพันธระหวางความแมนยําของเครื่องจักรและคุณลักษณะเชิงคุณภาพมีความชัดเจน

  • 23

    6. เพิ่มประสิทธิภาพของการบํารุงรักษา

    - ปรับปรุงการควบคุมดูแลดวยการมองใหสมบูรณ

    - เ พิ่ ม ค ว ามสะด ว ก ใ นก า รบํารุงรักษา

    7. ทําการบํารุงรักษาเชิงทํานาย - เฝาสังเกตสภาวะโดยอาศัยอุปกรณการตรวจสอบอยางงาย และควบคุมแนวโนม

    - สํารวจความบกพรองด วยอุ ป ก รณ ต ร ว จ ส อบอย า งละเอียดและทํานายอายุการใชงาน

    2. การปรับปรุงเรื่องการเตรียมการในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงการผลิต ปญหาทั่วไปของการเตรียมการในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงการผลิต

    1. อยูในสภาวะที่สับสน 2. ข้ันตอนในการทํางานไมชัดเจน 3. การศึกษาวิธีการปรับแตงไมดีพอและไมมีการเตรียมการเพื่อสามารถผลิตของดีไดทันที

    แนวคิดในการปรับปรุงการปรับแตงในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลงการผลิต 1. แยกแยะใหชัดเจนระหวางการเตรียมการภายนอกและการเตรียมการภายใน พรอมทั้งการ

    ดําเนินการอยางจริงจัง 2. การเปลี่ยนการเตรียมการแบบภายในเปนการเตรียมการแบบภายนอก 3. การศึกษาวิธีการเตรียมการแบบภายใน และการลดเวลาใหส้ันลง 4. การจํากัดปรับแตง 5. การตอบสนองตอการปรับแตงที่หลีกเลี่ยงไมได โดยมีข้ันตอนดังนี้

    1. การวิเ�