บทที่ 3 - siam universityresearch-system.siam.edu/images/ad.siam/civil/4153_56...3.6...

46
บทที3 ออกแบบส่วนผสม 3.1 ลักษณะของทรายที่ใช้เป็นส ่วนผสม ทรายหยาบ เป็นทรายเม็ดใหญ่ มีเหลี่ยม แง่มุม แข็งแรงดี เหมาะสําหรับใช้เป็นส่วนผสมของ คอนกรีตที่ต้องการต้านทานกําลังสูง เช่น โครงสร้างสะพาน อาคารที่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ฐานราก เขื่อน กั ้นดิน เทพื ้นคอนกรีต เป็นต้น ทรายหยาบที่ดีควร มีค่า FM ความหยาบประมาน 2.3-3.0 จัดว่าอยู่ในระดับ ความหยาบที่เหมาะสมอย่างยิ่งสําหรับงานก่อสร้าง ทรายละเอียด เป็นทรายเม็ดละเอียดมาก นํามาใช้กับงานที่ไม่ต้องใช้กําลังมากนัก เหมาะสําหรับ นํามาเป็นส่วนผสมของปูนฉาบผิวหน้า ทําบัว ทําลวดลายต่างๆ ทําทรายบังเกอร์สนามกอล์ฟ ทําอิฐมวลเบา ค่า FM ที่เหมาะสมของทรายละเอียดจะจัดอยู่ในระดับประมาน 1.2-1.6 ทรายกลาง เป็นทรายที่มีขนาดปานกลาง ไม่หยาบและไม่ละเอียดนัก เหมาะสําหรับงานปูนทั่วไป เช่น นํามาเป็นส่วนผสมของปูนก่อ สําหรับ ก่ออิฐ หล่อท่อ หรือใช้เทพื ้นคอนกรีตที่ไม่ต้องการความแข็งแรง มากนัก ค่า FM ที่เหมาะสมจะอยู่ระหว่างทรายละเอียดกับทรายหยาบ แล้วแต่การนําไปใช้งาน 3.2 โฟม EPS ที่ใช้เป็นส ่วนผสม Foam (EPS) เป็นผลิตภัณฑ์พลาสติกชนิดหนึ ่ง ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ และฉนวนกันความร้อน เย็น โดยเริ่มจากจากการศึกษาคุณสมบัติของโฟมเหมาะกับการใช้ในการผสมมอร์ตาร์ เราจึงนําโฟมมาออกแบบ ส่วนผสมโดยการนําโฟมไปแทนปริมาตรทรายโดยการเพิ่มโฟมทีละ 10 % และลดทรายลงทีละ 10 % 3.3 ปริมาณนํ จากเอกสารของกรมโยธาธิการแนะนําว่าปริมาณนํ าที่เหมาะสม คือ 0.3-0.9 W/C ซึ ่งในงานวิจัยนี ้จะ ทดลองโดยใช้นํ าสะอาดที0.6 W/C ซึ ่งผลการทดลองผสมพบว่าปริมาณนํ าที0.6 W/C นี ้สามารถผสมและ อัดเข้าแบบได้ 3.4 ปริมาณปูน ในการทดลองนี ้ใช้ปูนซีเมนต์ในอัตรา 1 ส่วน คือ 0.555 Kg. โดยคํานวณจากปริมาตรของบล็อก ตัวอย่างในการทดสอบ ซึ ่งบล็อกมีขนาด 10x10x10 cm.

Upload: others

Post on 21-Jan-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

บทท่ี 3

ออกแบบส่วนผสม

3.1 ลกัษณะของทรายท่ีใชเ้ป็นส่วนผสม

ทรายหยาบ เป็นทรายเมด็ใหญ่ มีเหล่ียม แง่มุม แขง็แรงดี เหมาะสาํหรับใชเ้ป็นส่วนผสมของ

คอนกรีตท่ีตอ้งการตา้นทานกาํลงัสูง เช่น โครงสร้างสะพาน อาคารท่ีเป็นคอนกรีตเสริมเหลก็ ฐานราก เข่ือน

กั้นดิน เทพื้นคอนกรีต เป็นตน้ ทรายหยาบท่ีดีควร มีค่า FM ความหยาบประมาน 2.3-3.0 จดัวา่อยูใ่นระดบั

ความหยาบท่ีเหมาะสมอยา่งยิง่สาํหรับงานก่อสร้าง

ทรายละเอียด เป็นทรายเมด็ละเอียดมาก นาํมาใชก้บังานท่ีไม่ตอ้งใชก้าํลงัมากนกั เหมาะสาํหรับ

นาํมาเป็นส่วนผสมของปูนฉาบผวิหนา้ ทาํบวั ทาํลวดลายต่างๆ ทาํทรายบงัเกอร์สนามกอลฟ์ ทาํอิฐมวลเบา

ค่า FM ท่ีเหมาะสมของทรายละเอียดจะจดัอยูใ่นระดบัประมาน 1.2-1.6

ทรายกลาง เป็นทรายท่ีมีขนาดปานกลาง ไม่หยาบและไม่ละเอียดนกั เหมาะสาํหรับงานปูนทัว่ไป

เช่น นาํมาเป็นส่วนผสมของปูนก่อ สาํหรับ ก่ออิฐ หล่อท่อ หรือใชเ้ทพื้นคอนกรีตท่ีไม่ตอ้งการความแขง็แรง

มากนกั ค่า FM ท่ีเหมาะสมจะอยูร่ะหวา่งทรายละเอียดกบัทรายหยาบ แลว้แต่การนาํไปใชง้าน

3.2 โฟม EPS ท่ีใชเ้ป็นส่วนผสม

Foam (EPS) เป็นผลิตภณัฑพ์ลาสติกชนิดหน่ึง ใชเ้ป็นบรรจุภณัฑ ์และฉนวนกนัความร้อน – เยน็

โดยเร่ิมจากจากการศึกษาคุณสมบติัของโฟมเหมาะกบัการใชใ้นการผสมมอร์ตาร์ เราจึงนาํโฟมมาออกแบบ

ส่วนผสมโดยการนาํโฟมไปแทนปริมาตรทรายโดยการเพิ่มโฟมทีละ 10 % และลดทรายลงทีละ 10 %

3.3 ปริมาณนํ้า

จากเอกสารของกรมโยธาธิการแนะนาํวา่ปริมาณนํ้าท่ีเหมาะสม คือ 0.3-0.9 W/C ซ่ึงในงานวจิยัน้ีจะ

ทดลองโดยใชน้ํ้ าสะอาดท่ี 0.6 W/C ซ่ึงผลการทดลองผสมพบวา่ปริมาณนํ้าท่ี 0.6 W/C น้ีสามารถผสมและ

อดัเขา้แบบได ้

3.4 ปริมาณปูน

ในการทดลองน้ีใชปู้นซีเมนตใ์นอตัรา 1 ส่วน คือ 0.555 Kg. โดยคาํนวณจากปริมาตรของบลอ็ก

ตวัอยา่งในการทดสอบ ซ่ึงบลอ็กมีขนาด 10x10x10 cm.

Page 2: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 6 บลอ็กหล่อคอนกรีตขนาด 10x10x10 cm

3.5 การออกแบบส่วนผสมมอร์ตาร์ผสมโฟม EPS

การผสมส่วนผสมมอร์ตาร์ผสมโฟมEPSใชอ้ตัราส่วน 1 : 2.75 นํ้า 0.6w/c ส่วนผสมทั้งหมดจะถูก

ผสมใหเ้ขา้กนัโดยใชก้ารผสมดว้ยถาดผสมเอง และบรรจุลงในแบบคอนกรีตทีละกอ้น เพื่อเป็นการควบคุม

ความหนาแน่นของมอร์ตาร์จะเติมมอร์ตาร์ลงในบลอ็กแบบคร้ังละ 1/3 ส่วน แลว้ใชเ้หลก็กระทุง้มอร์ตาร์ชั้น

ล่ะ 25 คร้ัง แต่งผวิหนา้ใหเ้รียบโดยมีส่วนผสมดงัน้ี

3.5.1การออกแบบแรงอดั

บลอ็กแบบขนาดแรงอดั = 10X10X10 cm

ปริมาตรลูกบาศกเ์มตร = 0.100 m^3

นํ้าหนกัคอนกรีตต่อลูกบาศก ์ = 2400 Kg จะได ้2.400 Kg

ปูนซีเมนตป์อร์ตแลนด ์ = 2400 / 4.35

= 0.555 Kg

ทราย = 0.555 x 2.75

= 1.520 Kg

นํ้า = 0.555 x 0.6

= 0.332 Kg

โฟม EPS แทนนํ้าหนกัทรายท่ีลดลงตามเปอร์เซ็นตข์องทรา

Page 3: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

3.5.2การออกแบบแรงดดั

บลอ็กแบบขนาดแรงดดั = 4X16X4 cm

ปริมาตรลูกบาศกเ์มตร = 0.026 m^3

นํ้าหนกัคอนกรีตต่อลูกบาศก ์ = 2400 Kg จะได ้0.600Kg

ปูนซีเมนตป์อร์ตแลนด ์ = 0.600 / 4.35

= 0.140 Kg

ทราย = 0.140 x 2.75

= 0.385 Kg

นํ้า = 0.140 x 0.6

= 0.85 Kg

โฟม EPS แทนปริมาตรทรายท่ีลดลงตามเปอร์เซ็นตข์องทราย

รูปท่ี 7 บลอ็กหล่อคอนกรีตขนาด 4x16x4 cm

Page 4: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

ตารางท่ี 1. สัดส่วนของปูนโฟม

โฟม สดัส่วน (Kg.) ปูนซีเมนต ์( kg ) นํ้า ( kg ) ทราย ( kg ) โฟม

0% 0.55 0.33 1.52 0.00 10% 0.55 0.33 1.40 0.15 20% 0.55 0.33 1.24 0.31 30% 0.55 0.33 1.09 0.46 40% 0.55 0.33 0.93 0.62 50% 0.55 0.33 0.78 0.78 60% 0.55 0.33 0.6 0.93 70% 0.55 0.33 0.46 1.09 80% 0.55 0.33 0.31 1.24 90% 0.55 0.33 0.15 1.40 100% 0.55 0.33 0.00 1.55

ผูว้ิจยัไดท้ดลอง Flow abilty ของตวัอยา่งดว้ยวิธี Slum test จึงไดผ้ลดงักราฟท่ี 1

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100

80

100

120

140

160

180

Flo

w a

bilty

(%

)

Foam volume (%)

Flow abilty

กราฟท่ี 1 ความสมัพนัธ์ระหวา่งปริมาณของ % โฟม กบั Flow abilty

Page 5: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 8 มอร์ตาร์ผสมโฟม EPS ในบลอ็กขนาด 10x10x10 cm.

รูปท่ี 9 มอร์ตาร์ผสมโฟมEPSในบลอ็กขนาด 4x16x4 cm

Page 6: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 10 ตวัอยา่งขนาด 10x10x10 cm มอร์ตาร์ผสมโฟมEPS

รูปท่ี 11 ตวัอยา่งขนาด 4x16x4 cm มอร์ตาร์ผสมโฟมEPS

Page 7: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

3.6 การหล่อมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS

ขั้นตอนการทาํงานในงานวจิยัน้ี สามารถสรุปไดเ้ป็นขั้นตอน ดงัน้ี

1. ร่อนทรายผา่นตะแกรงเบอร์ 4 คา้งเบอร์ 16 แลว้ชัง่ตามมาตราส่วน

2. ชัง่ปูนซีเมนตต์ามมาตราส่วน

3. ชัง่นํ้ าสะอาดตามมาตราส่วน

4. ตวงปริมาตรตามมาตราส่วน

5. ผสมปูนซีเมนตท์รายโฟมEPSใหเ้ขา้กนั

6. เติมนํ้าสะอาด

7. นาํส่วนผสมลงในบลอ็กเหลก็แลว้กระทุง้ ชั้นละ 25 คร้ัง

8. แต่งผวิหนา้ใหเ้รียบ

9. นาํมอร์ตาร์ผสมโฟมออกจากบลอ็กแบบเม่ือครบ 24 ชัง่โมง

10.ทาํเคร่ืองหมายลง วนั-เดือน-ปี-ร้อยละของโฟม

11.บ่มมอร์ตา้ผสมโฟมEPSดว้ยนํ้าเป็นเวลา 28 วนั

รูปท่ี 12-23 แสดงการผสมมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS

รูปท่ี 12 ทรายท่ีร่อนเสร็จแลว้

Page 8: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 13 ปูนซีเมนต ์

รูปท่ี 14โฟม EPS

Page 9: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 15 นํ้าสะอาด

รูปท่ี 16 ผสมปูนซีเมนตท์รายโฟม EPS ใหเ้ขา้กนั

Page 10: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 17 ผสมปูนซีเมนตท์รายโฟมEPSผสมนํ้า

รูปท่ี 18 การลงบลอ็ก

Page 11: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 19 การลงบลอ็ก

รูปท่ี 20 แต่งผวิหนา้ใหเ้รียบ

Page 12: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 21 แต่งผวิหนา้ใหเ้รียบ

รูปท่ี 22 แกะบลอ็ก

Page 13: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 23บ่มนํ้า 28 วนั

3.7 ทดสอบมอร์ตาร์ผสมโฟม EPS

3.7.1 การทดสอบกาํลงัรับแรงอดั

เคร่ืองมือทดสอบกาํลงัรับแรงอดั มีดงัน้ี

เคร่ืองกด เคร่ืองกดควรจะเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภณัฑอุ์ตสาหกรรม หรือมาตรฐาน ASTM

E 4-1973 ซ่ึงในการทดลองน้ีใชเ้คร่ือง Universal Testing Machine ( UTM ) และเคร่ืองกดตวัอยา่งกอ้น

คอนกรีต ในหอ้งปฎิบติัการทดสอบคอนกรีตของมหาวิทยาลยัสยาม

แท่นธาร เป็นแท่นโลหะมีหนา้ท่ีสมัผสัและถ่ายแรงลงกอ้นตวัอยา่ง แท่นธารตวับนจะตอ้งมีบ่ารับ

รูปทรงกลม เป็นแท่งโลหะแขง็ยดึติดตรงกลางท่ีส่วนบนของเคร่ืองทดสอบแรงอดัศูนย ์ของทรงกลม

จะตอ้งอยูใ่นในศูนยก์ลางของผวิหนา้ของแท่นธารท่ีสมัผสักบักอ้นตวัอยา่ง จบัธารใหชิ้ดและกลมในบ่าทรง

กลม แต่จะตอ้งใหห้มุนไปทิศทางใดกไ็ด ้และจะตอ้งมีช่องวา่งในแท่นธารตวับนอยา่งนอ้ย 6 มิลลิเมตร เผือ่

ไวส้าํหรับกอ้นตวัอยา่งท่ีมีผวิสมัผสัท่ีมีขนาดไม่เท่ากนั เสน้ผา่นศูนยก์ลางของผวิธารตอ้งไม่นอ้ยกวา่ 125

มิลลิเมตร จะตอ้งใชแ้ท่งธารซ่ึงเป็นโลหะแขง็รองใตก้อ้นตวัอยา่ง เผือ่กนัการสึกหรอท่ีดา้นล่างของเคร่ือง

ทดสอบรับแรงอดั ผวิแท่นธารดา้นท่ีสมัผสักบักอ้นตวัอยา่งควรมีค่าความแขง็รอกเวลลไ์ม่ตํ่ากวา่ C60 หรือ

ความแขง็ของบริเนลล ์620 ผวิของแท่นธารทั้งสองดา้นน้ีจะตอ้งไม่คลาดเคล่ือนจากผวิเรียบเกิน 0.025

Page 14: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

มิลลิเมตร ถา้พื้นท่ีธารของแท่นมีทรงกลมไม่พอคลุมพื้นท่ีของกอ้นตวัอยา่งใหใ้ชเ้หลก็แผน่ผวิหนา้เรียบอยู่

ระหวา่ง 0.025 มิลลิเมตรและมีความหนาอยา่งนอ้ยเท่ากบัหน่ึงในสามของระยะจากขอบแท่นธาร ท่ีมีส่วน

ทรงกลมถึงมุมท่ีห่างท่ีสุด และสอดเขา้ไประหวา่งแท่นธารท่ีมีส่วนทรงกลมกบักอ้นตวัอยา่งท่ีเคลือบผวิแลว้

แท่นธารท่ีไดม้าตรฐานถูกติดตั้งมากบัเคร่ืองทดสอบแลว้

วิธีการทดสอบ

วิธีการทดสอบมีขั้นตอนดงัน้ี

1.ตวัอยา่งมอร์ตาร์ผสมโฟม EPS ขนาด 10x10x10 cmท่ีผา่นการบ่มนํ้าแลว้ 28 วนั

2.วางช้ินตวัอยา่งในการทดสอบ ช้ินตวัอยา่งจะตอ้งทดสอบโดยวางใหรั้บนํ้าหนกัลกัษณะ

การใชง้านและใหศู้นยช้ิ์นตวัอยา่งกบัศูนยแ์ท่งธารตวัของเคร่ืองกดอยูต่รงกนั โดยยอมใหเ้ยื้องกนั

ไม่เกิน 1.6 มิลลิเมตร

3.อตัราความเร็วท่ีใชท้ดสอบ บรรทุกนํ้าหนกัคร่ึงหน่ึงของนํ้าหนกัสูงสุดท่ีคาดวา่จะ

ทดสอบโดยใหห้วักดมีอตัราความเร็วตามสะดวก หลงัจากนั้นควบคุมเคร่ืองทดสอบโดยปรับใหห้วั

กดเคล่ือนท่ีไปในอตัราสมํ่าเสมอ จนทาํใหน้ํ้ าหนกับรรทุกไดใ้นเวลาเร็วกวา่ 1 นาที แต่ไม่เกิน 2

นาที

การคาํนวณ

การคาํนวณหากาํลงัรับแรงอดัของช้ินตวัอยา่ง ใหสู้ตรการคาํนวณหากาํลงัรับแรงอดัทัว่ไป คือ

นํ้าหนกัต่อพื้นท่ีหนา้ตดั ดงัน้ี

C = P/A

เม่ือ Cc คือ กาํลงัตา้นแรงอดัของช้ินตวัอยา่ง หน่วยเป็น KSC

Pc คือ นํ้าหนกับรรทุกสูงสุดท่ีจุดช้ินตวัอยา่งรับไดห้น่วยเป็น KSC

A คือ พื้นท่ีทั้งหมดโดยเฉล่ียจากพื้นท่ีของช้ินตวัอยา่งดา้นบนและดา้นล่าง หน่วยเป็น "c"

"m" ^"2"

Page 15: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รายงานค่ากาํลงัรับแรงอดัของมอร์ตาร์ผสมโฟมท่ีทดสอบ โดยนาํค่ากาํลงัตา้นแรงอดัของช้ินตวัอยา่งทุกช้ิน

มาคิดเฉล่ีย

รูปท่ี 24 แสดงการทดสอบกาํลงัรับแรงอดั

รูปท่ี 25 แสดงการทดสอบกาํลงัรับแรงอดั

Page 16: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

3.7.2 การทดสอบการรับแรงดัด

เคร่ืองมือทดสอบกาํลงัรับแรงอดั มีดงัน้ี

เคร่ืองกด เคร่ืองกดควรจะเป็นไปตามมาตรฐานผลิตภณัฑอุ์ตสาหกรรม หรือมาตรฐาน ASTM

E 4-1973 ซ่ึงในการทดลองน้ีใชเ้คร่ือง Universal Testing Machine ( UTM ) และเคร่ืองกดตวัอยา่งกอ้น

คอนกรีต ในหอ้งปฎิบติัการทดสอบคอนกรีตของมหาวิทยาลยัสยาม

แท่ธาร เป็นแท่นโลหะท่ีมีจุดสมัผสัสองจุดคือ ซา้ย ขวา ของช้ินตวัอยา่ง แท่นธารตวับนเป็นบ่าแรงกดลงตรง

กลางของช้ินตวัอยา่ง โดยมีรูปเป็นตวั (T) และธารบนตอ้งแขง็ยดึติดตรงกลางท่ีส่วนบนของเคร่ืองทดสอบ

แรงดดั บ่าบนตอ้งหมุนไปทิศทางใดกไ็ด ้และจะตอ้งมีช่องวา่งในแท่นธารตวับนอยา่งนอ้ย 6 มิลลิเมตร เผือ่

ไวส้าํหรับกอ้นตวัอยา่งท่ีมีผวิสมัผสัท่ีมีขนาดไม่เท่ากนัเผือ่ไวส้าํหรับกอ้นตวัอยา่งท่ีมีผวิสมัผสัท่ีมีขนาดไม่

เท่ากนัแท่นธารทีไดม้าตรฐานถูกติดตั้งมากบัเคร่ืองทดสอบแลว้

วิธีการทดสอบ

วิธีการทดสอบมีขั้นตอนดงัน้ี

1. นาํตวัอยา่งมอร์ตาร์ผสมโฟม EPS ขนาด 4x16x4 cmท่ีผา่นการบ่มนํ้าแลว้ 28 วนั

2. วางช้ินตวัอยา่งในการทดสอบ ช้ินตวัอยา่งจะตอ้งทดสอบโดยวางใหรั้บนํ้าหนกัลกัษณะ

การใชง้านและใหศู้นยช้ิ์นตวัอยา่งกบัศูนยแ์ท่งธารตวัของเคร่ืองกดอยูต่รงกนั โดยยอมใหเ้ยื้องกนั

ไม่เกิน 1.6 มิลลิเมตร

3. อตัราความเร็วท่ีใชท้ดสอบ บรรทุกนํ้าหนกัคร่ึงหน่ึงของนํ้าหนกัสูงสุดท่ีคาดวา่จะ

ทดสอบโดยใหห้วักดมีอตัราความเร็วตามสะดวก หลงัจากนั้นควบคุมเคร่ืองทดสอบโดยปรับใหห้วั

กดเคล่ือนท่ีไปในอตัราสมํ่าเสมอ จนทาํใหน้ํ้ าหนกับรรทุกไดใ้นเวลาเร็วกวา่ 1 นาที แต่ไม่เกิน 2

นาที

การคาํนวณ

การคาํนวณหากาํลงัรับแรงอดัของช้ินตวัอยา่ง ใหสู้ตรการคาํนวณหากาํลงัรับแรงงอดัทัว่ไป คือ

นํ้าหนกัต่อพื้นท่ีหนา้ตดั ดงัน้ี

Page 17: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

R = 3PL / 2b

เม่ือ R คือ กาํลงัตา้นแรงดดัของช้ินตวัอยา่ง หน่วยเป็น KSC

P คือ นํ้าหนกับรรทุกสูงสุดท่ีจุดช้ินตวัอยา่งรับไดK้SC

L คือ ความยาวของช้ินตวัอยา่งหน่วยเป็น cm

b คือ ความกวา้งของช้ินตวัอยา่ง หน่วยเป็น cm

d คือ ความสูงของช้ินตวัอยา่งหน่วยเป็น cm

Page 18: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รายงานค่ากาํลงัรับแรงอดัของมอร์ตาร์ผสมโฟมท่ีทดสอบ โดยนาํค่ากาํลงัตา้นแรงอดัของช้ินตวัอยา่งทุกช้ิน

มาคิดเฉล่ีย

รูปท่ี 26 แสดงการทดสอบกาํลงัรับแรงดดั

รูปท่ี 27 แสดงการทดสอบกาํลงัรับแรงดดั

Page 19: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 28แสดงการทดสอบกาํลงัรับแรงดดั

รูปท่ี 29แสดงการทดสอบกาํลงัรับแรงดดั

Page 20: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 30แสดงการทดสอบกาํลงัรับแรงดดั

3.7.3การทดสอบการดูดซึมนํา้

1 เคร่ืองทดสอบ

เคร่ืองชัง่ดิจิตอลละเอียด ทศนิยม 3 ตาํแหน่ง ท่ีตอ้งชัง่ตวัอยา่งมอร์ตาร์ผสมโฟม EPS

2 วธีิการทดสอบ

การทดสอบโดยวิธีแช่ใหจ้มนํ้าเป็นเวลา 30 นาที และ 24 ชัว่โมง โดยเร่ิมจากการชัง่นํ้าหนกัของตวัอยา่งมอร์

ตาร์ผสมโฟมEPS เม่ือไดน้ํ้ าหนกัของช้ินตวัอยา่งแลว้ เอาช้ินตวัอยา่งแช่ในนํ้าสะอาดไม่กระดา้งหรือนํ้ากลัน่

ท่ีมีอุณหภูมิ 15-30 องศาเซลเชียส จนไดเ้วลาท่ีกาํหนด แลว้เอาช้ินตวัอยา่งข้ึนจากนํ้าใชผ้า้เช็ดใหน้ํ้าท่ีเกาะ

ตามผวิตวัอยา่ง แลว้นาํมาชัง่นํ้ าหนกัช้ินตวัอยา่งท่ีข้ึนมาจากนํ้า เป็นนํ้าหนกัอ่ิมนํ้า (W2) และนํ้าหนกัเร่ิมตน้

เป็น (W1)

Page 21: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

3 การคาํนวณผล

คาํนวณการดูดซึมนํ้าของช้ินตวัอยา่งดงัน้ี

การดูดซึมนํ้า ร้อยละ = (W2-W1)/W1 x 100 เม่ือ W1 คือ นํ้าหนกัก่อนแช่นํ้าW2คือ นํ้าหนกัหลงัจากแช่นํ้า

แลว้ท่ี 30นาที และ 24 ชัว่โมงโดยทัว่ไป มอร์ตาร์ผสมโฟม EPS จะดูดชึมนํ้าเร็วในช่วงแรก จึงทาํการวดัท่ี

30 นาที และ 24 ชัว่โมง

รูปท่ี 31 มอร์ตาร์ผสมโฟมEPSคร่ึงส่วนท่ีทาํการทดลองการดูดซึมนํ้า

รูปท่ี32 ตวัอยา่งก่อนชัง่นํ้ าหนงัโฟม 0% - 100%

Page 22: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 33 ตวัอยา่งก่อนแช่นํ้า 30 นาทีและ 24 ชัว่โมง

รูปท่ี 34 แช่นํ้า 30 นาที

Page 23: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 35 หลงัแช่นํ้า 30 นาที

รูปท่ี 36 แช่นํ้า 24 ชัว่โมง

Page 24: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

รูปท่ี 37 ชัง่หลงัแช่นํ้า 24 ชัว่โมง

Page 25: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

บทท่ี 4

ผลการทดสอบ

4.1 เน้ือหาในบท

รายงานในบทน้ีนาํเสนอผลการทดสอบ อนัประกอบไปดว้ย การทดสอบ 3 ประเภท ตาม

วตัถุประสงคไ์ดแ้ก่ การทดสอบการรับแรงอดั การทดสอบการรับแรงดดั การทดสอบการดูดซึมนํ้า

4.2 ผลการทดสอบการรับแรงอดั

ผลการทดสอบการรับแรงอดัขนาดของตวัอยา่ง 10x10x10 cm ถูกแสดงในตารางท่ี 5.1 ถึง 5.2 กราฟ

ท่ี 2 ถึง 3 รูปท่ี37 ถึง 38

%โฟม

Area

1 2 3 4 5 6 เฉล่ีย Density kg/

0% 100

นํ้าหนกั kg 2.118 2.139 2.153 2.123 2.133 2.127 2.132

2.1x103 Compressive

strength (ksc)

312.0 308.0 319.0 307.0 289.0 306.0 307.0

10% 100

นํ้าหนกั kg 2.033 2.044 2.008 2.053 2.046 2.034 2.036

2.0x103 Compressive

strength (ksc)

266.0 227.0 257.0 285.0 264.0 295.0 265.0

20% 100

นํ้าหนกัkg 1.915 1.916 1.923 1.912 1.907 1.923 1.916

1.9x103 Compressive

strength (ksc)

171.0 197.0 193.0 218.0 201.0 192.0 196.0

30% 100

นํ้าหนกัkg 1.791 1.785 1.782 1.803 1.791 1.780 1.788

1.8x103 Compressive

strength (ksc)

162.0 178.0 174.0 180.0 176.0 175.0 174.0

40% 100 นํ้าหนกัkg 1.708 1.696 1.706 1.701 1.699 1.712 1.703 1.7x103

Page 26: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

Compressive strength

(ksc) 147.0 154.0 157.0 159.0 167.0 141.0 154.0

50% 100

นํ้าหนกัkg 1.535 1.435 1.55 1.533 1.422 1.453 1.488

1.5x103 Compressive

strength (ksc)

104.0 94.0 92.0 115.0 80.0 108.0 99.0

60% 100

นํ้าหนกั kg 1.385 1.478 1.41 1.4 1.43 1.415 1.419

1.4x103 Compressive

strength (ksc)

71.0 94.0 99.0 77.0 98.0 0.0 73.0

70% 100

นํ้าหนกั kg 1.36 1.176 1.352 1.142 1.22 1.13 1.23

Compressive strength

(ksc) 63.0 39.0 76.0 43.0 58.0 41.0 52.0 1.2x103

80% 100

นํ้าหนกัkg 1.142 1.144 1.25 1.096 1.108 1.146 1.147

1.1x103 Compressive

strength (ksc)

30.0 43.0 38.0 30.0 39.0 31.0 33.0

90% 100

นํ้าหนกัkg 0.981 1.006 0.938 0.94 0.95 0.974 0.964

0.9x103 Compressive

strength (ksc)

38.0 39.0 30.0 27.0 30.0 30.0 32.0

100% 100

นํ้าหนกัkg 0.387 0.000 0.000 0.000 0.000 0.000 0.387

0.5x103 Compressive

strength (ksc)

45.6 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 45.6

ตารางท่ี 4.1 ผลการทดลองกาํลงัรับแรงอดั

Page 27: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

กราฟท่ี 2 แสดงกาํลงัอดักบัโฟม

กราฟท่ี 3 แสดงความสมัพนัธ์ระหวา่ง Density กบั % Foam

Page 28: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

จากตารางท่ี 4.1 และกราฟท่ี 2 ถึง 3 จะเห็นไดว้า่อตัราส่วนผสมท่ีมีกาํลงัรับแรงอดัสูงสุด คือ มอร์ตาร์ท่ีไม่มี

ส่วนผสมของโฟม EPS และเม่ือพิจารณาอตัรามอร์ตาร์ผสมโฟม พบวา่เม่ือมีปริมาณของโฟมมากข้ึน กาํลงั

รับแรงอดัของมอร์ตาร์ผสมโฟมมีแนวโนม้ลดลงเร่ือยๆ สืบเน่ืองมาจากช่องอากาศท่ีอยูภ่ายในเมด็โฟมเขา้

ไปแทนท่ี ทาํใหช้ิ้นตวัอยา่งมีขนาดคละ ช้ินตวัอยา่งเม่ือไดรั้บแรงอดัเพิ่มข้ึนทาํใหช่้องอากาศเร่ิมยบุตวั การ

รับกาํลงัลดลง และผวิช้ินตวัอยา่งจะค่อยๆหลุดร่อนออกจากกนัในท่ีสุด

รูปท่ี 38 แสดงผลการทดสอบการรับแรงอดั

รูปท่ี 39 แสดงกราฟการทดสอบการรับแรงอดั

Page 29: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

4.2 ผลการทดสอบการรับแรงดดั

ผลการทดสอบการรับแรงดดัถูกแสดงในตารางท่ี4.2พร้อมกบัรูปกราฟท่ี4แสดงผลความแม่นยาํของ

กาํลงัรับแรงดดัและรูปท่ี 39 ถึง 40 แสดงการทดสอบแรงดดั

%โฟม Area

1 2 3 4 5 6

เฉล่ีย

Kg

Density

kg/m3

0% 64

นํ้าหนกั

kg 0.564 0.568 0.523 0.584 0.572 0.573 0.564

8.7x103 Flexural

Strength

(ksc)

105.0 101.0 104.0 99.0 109.0 113.0 105.0

10% 64

นํ้าหนกั

kg 0.512 0.475 0.482 0.512 0.487 0.456 0.487

7.5x103 Flexural

Strength

(ksc)

58.0 0.00 88.0 88.0 71.0 58.0 82.0

20% 64

นํ้าหนกั

kg 0.491 0.446 0.462 0.485 0.453 0.468 0.467

7.2x103 Flexural

Strength

(ksc)

76.0 0.00 73.0 61.0 64.0 67.0 69.0

30% 64

นํ้าหนกั

kg 0.43 0.458 0.483 0.456 0.467 0.451 0.457

7.0x103 Flexural

Strength

(ksc)

51.0 54.0 68.0 59.0 64.0 60.0 60.0

Page 30: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

40% 64

นํ้าหนกั

kg 0.472 0.427 0.432 0.435 0.426 0.442 0.439

6.8x103 Flexural

Strength

(ksc)

54.0 47.0 52.0 55.0 51.0 48.0 51.75

50% 64

นํ้าหนกั

kg 0.372 0.432 0.434 0.412 0.418 0.427 0.415

6.5x103 Flexural

Strength

(ksc)

59.0 0.00 55.0 48.0 37.0 53.0 51.11

60% 64

นํ้าหนกั

kg 0.422 0.415 0.423 0.433 0.466 0.443 0.434

7.0x103 Flexural

Strength

(ksc)

88.0 74.0 70.0 92.0 69.0 88.0 80.0

70% 64

นํ้าหนกั

kg 0.454 0.423 0.454 0.426 0.368 0.407 0.422

6.5x103 Flexural

Strength

(ksc)

85.0 94.0 85.0 85.0 61.0 52.0 77.0

80% 64

นํ้าหนกั

kg 0.342 0.437 0.417 0.336 0.357 0.351 0.373

5.7x103 Flexural

Strength

(ksc)

59.0 69.0 85.0 56.0 61.0 63.0 66.0

Page 31: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

90% 64

นํ้าหนกั

kg 0.337 0.312 0.352 0.314 0.313 0.307 0.322

4.7x103 Flexural

Strength

(ksc)

44.0 43.0 0.00 36.0 32.0 27.0 41.0

100% 64

นํ้าหนกั

kg 0.287 0.283 0.282 0.286 0.3 0.267 0.284

4.5x103 Flexural

Strength

(ksc)

44.0 37.0 37.0 37.0 0.00 21.0 37.0

ตารางท่ี 4.2 ผลการทดลองรับแรงดดั

กราฟท่ี 4 แสดงกาํลงัดดั

Page 32: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

จากตารางท่ี 4.2 และกราฟท่ี 4 จะเห็นไดว้า่ จากช่วงปริมาณโฟมท่ี 0 %-50% กาํลงัรับแรงดดัมีแนวโนม้

ลดลงเร่ือยๆ จนเม่ือถึงปริมาณโฟมท่ี 60%มีแนวโนม้รับกาํลงัแรงดดัเพิ่มข้ึน และลดลงตามลาํดบัจนถึง

ปริมาณโฟม 100% เน่ืองจากช่วง 60% นั้นมีปริมาณโฟมเขา้ไปแทนทีในเน้ือมอร์ตาร์ทัว่เตม็ตลอดหนา้

ตดัโฟมจึงมีส่วนช่วยรับแรงดึงแต่เหมือนมีเพิ่มประมาณเมด็โฟมมากข้ึนจึงทาํใหเ้กิดความหนาแน่นมาก

เกินไปจึงทาํใหผ้ลการทดสอบกาํลงัรับแรงดดัมีกาํลงัลดลงเร่ือยๆ ตามกราฟท่ี 4

ปท่ี 40 แสดงการทดสอบการรับแรงดดั

รูปท่ี 41 แสดงการทดสอบการรับแรงดดั

Page 33: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

4.3 ผลการทดสอบการดูดซึมนํา้

ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าถูกแสดงในตารางท่ี 4.3ถึง 4.14พร้อมกบัรูปกราฟท่ี5 ถึง 6แสดงผลความแม่นยาํ

ของการดูซึมนํ้าตามปริมาตรโฟมEPS และรูปท่ี41 แสดงผลการทดสอบ

ตารางท่ี4.3 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 0%)

ลาํกบัท่ี

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24ชม.

1 0.273 0.279 0.279 2.308 2.051

2 0.267 0.287 0.293 7.681 9.704

3 0.258 0.261 0.272 1.084 5.190

4 0.267 0.272 0.282 1.873 5.658

5 0.255 0.264 0.264 3.648 3.688

6 0.281 0.286 0.290 1.674 3.276

เฉล่ีย 0.267 0.275 0.280 1.735 3.973

ตารางท่ี4.4 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 10%)

ลาํดบั

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24ชม.

1 0.238 0.238 0.265 -0.042 11.401

2 0.245 0.250 0.256 2.329 4.618

3 0.209 0.229 0.220 9.775 5.414

Page 34: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

4 0.243 0.256 0.253 5.231 4.201

5 0.254 0.257 0.268 1.260 5.553

6 0.259 0.266 0.264 2.667 2.049

เฉล่ีย 0.241 0.249 0.254 2.086 4.367

ตารางท่ี 4.5 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 20%)

ลาํดบั

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24ชม.

1 0.204 0.208 0.214 2.057 4.995

2 0.208 0.212 0.218 1.633 4.707

3 0.236 0.238 0.244 0.976 3.352

4 0.221 0.224 0.228 1.585 3.397

5 0.214 0.219 0.223 2.006 3.778

6 0.222 0.227 0.230 2.391 3.834

เฉล่ีย 0.218 0.221 0.226 1.916 4.329

Page 35: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

ตารางท่ี4.6 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 30%)

ลาํดบั

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24ชม.

1 0.210 0.216 0.223 2.761 6.283

2 0.217 0.220 0.223 1.196 2.346

3 0.205 0.221 0.227 8.166 11.002

4 0.222 0.229 0.234 2.969 5.443

5 0.232 0.239 0.243 2.887 4.524

6 0.187 0.192 0.196 2.668 4.429

เฉล่ีย 0.212 0.220 0.224 2.309 4.799

ตารางท่ี 4.7 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 40%)

ลาํดบั

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24ชม.

1 0.230 0.238 0.244 3.573 6.449

2 0.202 0.209 0.214 3.474 5.955

3 0.196 0.204 0.208 3.921 5.754

4 0.187 0.193 0.196 3.591 4.877

Page 36: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

5 0.190 0.197 0.202 3.797 6.276

6 0.214 0.222 0.226 3.550 5.698

เฉล่ีย 0.203 0.210 0.215 3.651 5.835

ตารางท่ี 4.8 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 50%)

ลาํดบั

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24ชม.

1 0.194 0.200 0.211 3.143 8.707

2 0.198 0.206 0.207 4.203 4.557

3 0.224 0.233 0.238 4.068 6.169

4 0.207 0.215 0.225 3.764 8.591

5 0.225 0.238 0.238 5.778 5.689

6 0.230 0.239 0.241 3.922 5.098

เฉล่ีย 0.213 0.222 0.227 4.191 6.468

ตารางท่ี 4.9 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 60%)

ลาํดบั

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24ชม.

Page 37: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

1 0.184 0.193 0.196 4.788 6.638

2 0.179 0.187 0.195 4.538 9.244

3 0.186 0.195 0.200 4.844 7.535

4 0.207 0.215 0.218 3.520 4.918

5 0.187 0.197 0.197 5.021 5.235

6 0.217 0.227 0.236 4.747 8.802

เฉล่ีย 0.193 0.202 0.207 4.576 7.400

ตารางท่ี 4.10 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 70%)

ลาํดบั

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24ชม.

1 0.242 0.249 0.259 2.684 6.813

2 0.233 0.240 0.248 3.008 6.661

3 0.224 0.232 0.235 3.525 4.775

4 0.212 0.218 0.222 2.879 4.814

5 0.194 0.203 0.208 4.639 7.268

6 0.224 0.234 0.243 4.371 8.519

เฉล่ีย 0.222 0.229 0.236 3.518 6.475

Page 38: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

ตารางท่ี 4.11 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 80%)

ลาํดบั

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24 ชม.

1 0.174 0.180 0.182 3.502 4.478

2 0.148 0.153 0.155 3.509 4.588

3 0.202 0.207 0.209 2.425 3.414

4 0.161 0.161 0.165 0.249 2.740

5 0.154 0.156 0.162 1.105 5.263

6 0.203 0.210 0.208 3.150 2.362

เฉล่ีย 0.174 0.178 0.180 2.567 3.808

ตารางท่ี 4.12 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 90%)

ลาํดบั

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24ชม.

1 0.148 0.152 0.152 2.981 3.252

2 0.127 0.131 0.130 3.628 2.524

3 0.112 0.113 0.115 0.445 2.046

4 0.137 0.139 0.141 1.458 2.988

5 0.147 0.148 0.152 0.884 3.469

Page 39: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

6 0.138 0.141 0.143 2.030 3.336

เฉล่ีย 0.135 0.137 0.139 1.984 2.936

ตารางท่ี 4.13 ผลการทดสอบการดูดซึมนํ้าของมอร์ตาร์ผสมโฟมEPS (Foam 100%)

ลาํดบั

นํ้าหนกั(Kg.) ความช้ืน(%)

แหง้ แช่นํ้าท่ี

30นาที 24ชม. 30 นาที 24ชม.

1 0.142 0.143 0.146 0.987 2.678

2 0.119 0.121 0.122 1.431 2.694

3 0.106 0.109 0.108 2.838 2.176

4 0.124 0.127 0.128 1.850 2.655

5 0.138 0.139 0.143 0.854 3.473

6 0.114 0.115 0.116 1.051 1.576

เฉล่ีย 0.124 0.126 0.127 1.592 2.542

Page 40: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

ตารางท่ี 4.14 แสดงค่าเฉล่ียการดูดซึมนํ้า

Foam% ค่าเฉล่ียการดูดซึมนํ้า (%)

30 (นาที) 24 (ชัว่โมง)

0 1.735 3.973

10 2.086 4.367

20 1.916 4.329

30 2.309 4.799

40 3.651 5.835

50 4.191 6.468

60 4.576 7.400

70 3.518 6.475

80 2.567 3.808

90 1.984 2.936

100 1.592 2.542

Page 41: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

กราฟท่ี 5 แสดงการดูดซึมนํ้า 30 นาที

กราฟท่ี 6 แสดงการดูดซึมนํ้า 24 ชัว่โมง

Page 42: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

จากตารางท่ี 4.3 - 4.14 และกราฟท่ี 5 และ 6 จะเห็นไดว้า่ กราฟท่ีเวลา 30 นาที และ 24 ชัง่โมงนั้น มี

ความสมัพนัธ์ดา้นการดูดซึมนํ้าไปในทิศทางเดียวกนั ดงัจะเห็นไดว้า่โฟมท่ี 0% -60% มีแนวโนม้เพิ่มอตัรา

การดูดซึมนํ้าสูงข้ึนเร่ือยๆ แต่จะลดลงการดูดซึมลงเม่ือถึงโฟมท่ี 70% และจะเร่ิมเพิ่มอตัราการดูดซึมข้ึนอีก

ไปจนถึง 100% แต่ปัจจยัท่ีทาํเกิดการหกัเหการดูดซึมนํ้าท่ีโฟม60%-70% นั้น อาจจะเกิดจากการอ่ิมตวัของ

เมด็โฟม ส่วนผสมของมอร์ตาร์และช่องอากาศภายในกอ้นตวัอยา่ง จึงส่งผลต่อสดัส่วนในการดูดซึมนํ้าใน

เวลาท่ี 30 นาทีใหไ้ม่เกินโฟมท่ี 30% และเวลาท่ี 24 ชัว่โมงใหไ้ม่เกินโฟมท่ี 50% ซ่ึงในอตัราส่วนน้ีเป็น

อตัราส่วนท่ีเหมาะสมในการผสมมอร์ตาร์ผสมโฟมเพ่ือใชท้ดสอบการดูดซึมนํ้าในงานวิจยัช้ินน้ี

รูปท่ี 42 ตวัอยา่งการทดสอบ

Page 43: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

บทที ่5

สรุปผลการวจัิย

5.1 สรุปผลการวจัิย

โครงการวิจยั “ มอร์ตาร์ผสมโฟมEPS” การศึกหาคุณสมบติัมอร์ตาร์ผสมโฟม เราจึงมีการทาํวิจยั

เร่ืองน้ีข้ึนตามวตัถุประสงค ์โดยการสรุปผลแบ่งออกเป็นตามลกัษณะการทดสอบตามประเภท คือการ

ทดสอบรับแรงอดั การรับแรงดดั และความสามรถในการดูดซึมนํ้า และสามรถเป็นฉนวนกนัความร้อนและ

ความเยน็ไดจ้ากคุณสมบติัของปูนซีเมนตแ์ละโฟม EPS

5.1.1 กาํลงัรับแรงอดั

1.การผสมโฟมEPS ส่งผลใหม้อร์ตาร์ผสมโฟมเบาข้ึนตามระดบัและส่งผลในการรับแรงอดัของ

มอร์ตาร์ผสมโฟมกมี็กาํลงัรับแรงลดลงตามผลการวิจยั

2.การผสมโฟมEPS นอกจากเบาแลว้ยงัสามารถรับแรงอดัไดเ้ยอะกวา่มวลเบา และหลงัจากการรับ

แรงท่ีจุดสูงสุดแลว้ลดลงมายงัสามารถรับแรงไดอี้กระยะหน่ึงก่อนท่ีจะวิบติัไป

3.เปอร์เซ็นตโ์ฟมท่ีรับแรงได ้จะไล่ลาํดบัจาก 0% - 100% คือจากมากไปหานอ้ย

4.เปอร์เซ็นท่ีรับกาํลงัอดัสูงสุดคือ 0 % ของโฟม จะรับกาํลงัอดัได ้307 Ksc

5.เปอร์เซ็นท่ีรับกาํลงัอดัสูงสุดคือ 100 %ของโฟม จะรับกาํลงัอดัได ้45 Ksc

รูปท่ี 43 ลกัษณะการพงัทลายของมอร์ตาร์ผสมโฟม EPS กาํลงัรับแรงอดั

Page 44: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

5.1.2 กาํลงัรับแรงดดั

1. การผสมโฟม EPS กบัมอร์ตาร์ กบัการรับแรงดดันั้น เม่ือผสมโฟมมากข้ึน กาํลงัรับแรงดดัจะเร่ิม

ลดลงเร่ือยๆ

2. เม่ือมีช่องอากาศภายในอนัเกิดจากเมด็โฟมกาํลงัการรับแรงดดัจะลดลงไปดว้ย แต่นํ้าหนกัจะเบา

ข้ึน

3. กราฟกาํลงัรับแรงดดัจะผกผนักบักราฟการดูดซึมนํ้า

4. เปอร์เซ็นท่ีรับกาํลงัดดัสูงสุดคือ 0 % รับกาํลงัอดัได ้105 Ksc

5. เปอร์เซ็นท่ีรับกาํลงัดดัสูงสุดคือ 0 % รับกาํลงัอดัได ้ 37 Ksc

รูปท่ี 44 ลกัษณะการพงัทลายของมอร์ตาร์ผสมโฟม EPS กาํลงัรับแรงดดั

Page 45: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

5.1.3 การดูดซึมนํ้า

1. การดูดซึมนํ้าท่ีเวลา 30 นาที มีค่าเฉล่ีย 3.202 %

2. การดูดซึมนํ้าท่ีเวลา 24 ชัว่โมง มีค่าเฉล่ีย 6.525 %

3. ช่องอากาศภายในเมด็โฟมมีผลต่อการดูดซึมนํ้า เพราะนํ้าจะเขา้ไปแทนท่ีอากาศ

4. กราฟการดูดซึมนํ้าจะผกผนักบักราฟกาํลงัรับแรงดดั

5. เปอร์เซ็นท่ีมีการดูดซึมนํ้าสูงสุด 30 นาที คือ 60 % ดูดซึมนํ้า 4.57%

6. เปอร์เซ็นท่ีมีการดูดซึมนํ้าสูงสุด 24 ชัว่โมง คือ 60 % ดูดซึมนํ้า7.4 %

รูปท่ี 45 ลกัษณะการทดสอบการดูดซึมนํ้า

Page 46: บทที่ 3 - Siam Universityresearch-system.siam.edu/images/AD.Siam/civil/4153_56...3.6 การหล อมอร ตาร ผสมโฟมEPS ข นตอนการท

5.2 ข้อเสนอแนะ

จากผลการทดสอบท่ีไดรั้บ มีขอ้เสนอแนะ ดงัน้ี

1.งานวิจยัช้ินน้ีถูกออกแบบมาใหรั้บแรงอดั แรงดดั และการดูดซึมนํ้า ซ่ึงมีอตัราส่วนผสมท่ี

หลากหลาย สามารถวิเคราะห์ความแตกต่างไดใ้นระดบัหน่ึง แต่กมี็ขอ้ดอ้ยเช่นกนั คือ ไม่สามารถทาํตวัอยา่ง

ทดสอบไดใ้นปริมาณมากๆ และทดสอบคุณสมบติัอ่ืนๆไดไ้ม่ครบถว้น จึงทาํใหไ้ม่ไดข้อ้มูลในดา้นอ่ืนๆดว้ย

ในการวิจยัคร้ังต่อไปสามารถออกแบบใหเ้ป็นการวจิยัในเชิงลึกไดห้รือเจาะลึกส่วนผสมแต่ละประเภทโดย

ใชข้อ้มูลคร้ังน้ีอา้งอิงได ้

2.พื้นท่ีหนา้ตดัของแรงอดั ในการวจิยัช้ินน้ีใช ้10x10x10 cm. งานวิจยัต่อไปสามารถใชข้นาด

เพิ่มข้ึนมากกวา่น้ีได ้แต่ไม่ควรเลก็กวา่

3.ระยะเวลาในการทดสอบ เน่ืองจากตอ้งรอใหต้วัอยา่งมีอายคุรบกาํหนดมาตรฐาน คือ 28 วนั ตอ้ง

ใชเ้วลาในการรอนานทาํใหเ้สียเวลาไปมาก และเม่ือเกิดความเสียหายต่อช้ินตวัอยา่งอนัไม่ไดเ้กิดจากการ

ทดลอง ทาํใหต้อ้งผสมตวัอยา่งข้ึนมาใหม่ ดงันั้น สถานท่ีในการทดลองควรจาํกดัใหเ้ฉพาะผูมี้ส่วนเก่ียวขอ้ง

เท่านั้น