่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf ·...

17
บทท 5 สรปผลและขอเสนอแนะ 5.1 สรปผลการดาเนนงาน จากการทไดปฏบตงานในโครงการสหกจศกษากบ บรษท หางหนสวนจากดเลศบศยซง ผจดทาปฏบตงานครบ 600 ชวโมง ทาใหไดรบความรความชานาญเกยวกบการตดตงระบบไฟฟา Controlในครงนดงมรายละเอยดดงตอไปนคอ 1.ไดเรยนรถงขนตอนและแนวทางในการดาเนนงานการออกแบบและการตดตงระบบ ไฟฟา Controlในการทางาน 2.ไดเสรมสรางประสบการณในการทางานเกยวกบการตดตงระบบไฟฟา Control ซง สามารถนาไปใชปฏบตงานไดจรงในอนาคต 3.มความรความสามารถในการออกแบบระบบไฟฟา Controlและมความรความเขาใจ เกยวกบอปกรณตางๆในตคอนโทรลไฟฟามากขน 4.รจกการประสานงานกบบคคลอนๆในองคกรเพอทาใหงานทไดรบผดชอบสาเรจลลวง ไปไดดวยด 5.2 ขอเสนอแนะ 1.การออกแบบทดนนตองทางานรวมกนเปนทมโดยสถาปนกเปนผเรมแบบขนตอไปก รวมปรกษากบวศวกรโครงสรางและวศวกรงานระบบพรอมกนแตสวนใหญทพบในปจจบนงาน ของสถาปนกและโครงสรางเกอบจะเสรจเรยบรอยแลวจงจะสงใหวศวกรงานระบบเขาทางานซง บางครงทาใหตองแกไขงานโครงสรางหากโครงสรางแกไขไมไดกจะทาใหการตดตงระบบไมด เทาทควรการทโครงสรางจะหลกงานระบบหรองานระบบจะหลกโครงสรางนจะตองดในเรอง ความประหยดหากไดพจารณารวมกนตงแตแรกๆกจะลดปญหาตางๆไปไดมากเชนการเดนทอ รอยสายปญหาวศวกรโครงสรางไมไดกนพนทใหสามารถวางทอรอยสายไดทาใหตองมการแกไข พนทนนๆเพอวางทอในแนวทถกตองทาใหเสยเวลาและสนเปลองวสดในการกอสราง 2.ในระบบ Safety จะนนเนนในเรองของความปลอดภยในการปฏบตงานมากแตในการ ปฏบตงานจรงนนตอนทผรบเหมาเดนเขาททางานไดมการตรวจเชคในเรองของความปลอดภย แลวจงใหผรบเหมาเขามาทางานไดแตพอขนไปหนางานจรงปรากฏวาหมวกนรภยนนไมมการ สวมใสขนนงรานโดยไมมอปกรณ Safety เลยหรอออกไปทางานนอกตวอาคารโดยไมม Safety Belt ซงกอใหเกดอนตรายถงแกชวตไดดงนนสวนทรบผดชอบทางระบบ Safety ควรเพมพนกงาน ทจะดแลความปลอดภยไดทวถงทงโครงการไดและจะไมเกดปญหาในเรองของอบตเหต

Upload: others

Post on 19-Jul-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

บทที่ 5 สรุปผลและขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการดําเนินงาน

จากการที่ไดปฏิบัติงานในโครงการสหกิจศึกษากับ บริษัท หางหุนสวนจํากัด เลิศบุศยซึ่งผูจัดทําปฏิบัติงานครบ 600 ชั่วโมง ทําใหไดรับความรูความชํานาญเกี่ยวกับการติดตั้งระบบไฟฟา Controlในครั้งนี้ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้คือ

1.ไดเรียนรูถึงขั้นตอนและแนวทางในการดําเนินงาน การออกแบบและการติดตั้งระบบไฟฟา Controlในการทํางาน

2.ไดเสริมสรางประสบการณในการทํางานเกี่ยวกับการติดตั้งระบบไฟฟา Control ซึ่งสามารถนําไปใชปฏิบัติงานไดจริงในอนาคต

3.มีความรูความสามารถในการออกแบบระบบไฟฟา Controlและมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับอุปกรณตางๆ ในตูคอนโทรลไฟฟามากขึ้น

4.รูจักการประสานงานกับบุคคลอื่นๆในองคกร เพื่อทําใหงานที่ไดรับผิดชอบสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี  5.2 ขอเสนอแนะ

1.การออกแบบที่ดีนั้น ตองทํางานรวมกันเปนทีม โดยสถาปนิกเปนผูเริ่มแบบ ขั้นตอไปก็รวมปรึกษากับวิศวกรโครงสราง และวิศวกรงานระบบพรอมกัน แตสวนใหญที่พบในปจจุบัน งานของสถาปนิกและโครงสรางเกือบจะเสร็จเรียบรอยแลว จึงจะสงใหวิศวกรงานระบบเขาทํางาน ซึ่งบางครั้งทําใหตองแกไขงานโครงสราง หากโครงสรางแกไขไมได ก็จะทําใหการติดตั้งระบบไมดีเทาที่ควร การที่โครงสรางจะหลีกงานระบบ หรืองานระบบจะหลีกโครงสรางนี้ จะตองดูในเรื่องความประหยัด หากไดพิจารณารวมกันตั้งแตแรกๆ ก็จะลดปญหาตางๆไปไดมาก เชน การเดินทอรอยสาย ปญหาวิศวกรโครงสรางไมไดกันพื้นที่ใหสามารถวางทอรอยสายได  ทําใหตองมีการแกไขพื้นที่นั้นๆ เพื่อวางทอในแนวที่ถูกตองทําใหเสียเวลา และสิ้นเปลืองวัสดุในการกอสราง

2.ในระบบ Safety จะนั้นเนนในเรื่องของความปลอดภัยในการปฏิบัติงานมากแตในการปฏิบัติงานจริงนั้น ตอนที่ผูรับเหมาเดินเขาที่ทํางาน ไดมีการตรวจเช็ค ในเรื่องของความปลอดภัยแลวจึงใหผูรับเหมาเขามาทํางานได แตพอขึ้นไปหนางานจริงปรากฏวา หมวกนิรภัยนั้นไมมีการสวมใส ขึ้นนั่งรานโดยไมมีอุปกรณ Safety เลย หรือออกไปทํางานนอกตัวอาคารโดยไมมี Safety Belt ซึ่งกอใหเกิดอันตรายถึงแกชีวิตไดดังนั้นสวนที่รับผิดชอบทางระบบ Safety ควรเพิ่มพนักงานที่จะดูแลความปลอดภัยไดทั่วถึงทั้งโครงการไดและจะไมเกิดปญหาในเรื่องของอุบัติเหตุ   

Page 2: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

70

5.3 ปญหาที่พบ 1. มีการเพิ่มระบบใหม 2. อุปกรณไฟฟามีปญหา 3. การติดตั้งอุปกรณไมตรงกับแบบที่ใหมา 4. แบบตูคอนโทรลที่ใหมาผิด 5. พื้นที่การติดตั้งตู Control ไมเสร็จตามที่กําหนดทําใหเกิดการลาชา 6. ไมสามารถดับไฟฟาในอุปกรณบางอยางในงานจริงได

5.4 วิธีแกไข

1. รื้อถอนระบบ Controlใหมทั้งหมดเกี่ยวกับพวกสายไฟเขาอุปกรณตางๆ แลวเปลี่ยนชุดสาย Control ใหมตามที่คํานวณคา AT ไดใหม

2. แกไขแบบใหมเปนบางสวน 3. แกไขแบบวงจรไฟฟาใหมทั้งหมด 4. อดทนเกี่ยวกับการปฏิบัติใหมากขึ้น 5. มีความรับผิดชอบงานที่บริษัทมอบใหสูงขึ้นและไมประมาทในการทํางาน

Page 3: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

71

เอกสารอางอิง

[1]  ลือชัย ทองนิล .การตรวจความปลอดภัยระบบไฟฟา . กรุงเทพฯ : สมาคมสงเสริม

เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน), 2548 [2] ประสบการณวิศวกรรมงานระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศ

ไทย , 2545 [3] กฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณไฟฟา.พิมพครังที่ 6 . กรุงเทพฯ : การไฟฟานครหลวง ,

2542 [4] คูมือวิศวกรรมไฟฟา. กรุงเทพฯ : นําอักษรการพิมพ

[5]สุชาติ ปรีชาธร.ระบบการตอลงดิน : http://thailandindustry.com/home/FeatureStory Preview.php?id=10163&section=9&rcount=Y

[6] การติดตั้งไฟฟาภายในอาคาร 1:http://www.nsru.ac.th/e-learning/anuson/b4.htm [7] นิวแมติอุตสาหกรรม.ผศ.ปานเพชร  ชินินทร , ขวัญชัย  สินทรัพยสมบูรณ [8]การควบคุมมอเตอร. ผศ.อํานาจ  ทองผาสุข , ผศ.วิทยา  ประยงคพันธุ

Page 4: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

72

ภาคผนวก

Page 5: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

73

ตูคอนโทรลไฟฟาและอุปกรณประกอบ Electrical Control Paneland Auxiliary Equipment ที่ทําการติดตั้งภายใน บริษัท โรงสีกิ่งแกวพาณิชย จํากัด

1. ความตองการทั่วไป 1) ผูรับจางตองจัดหาและติดตั้งตูคอนโทรลไฟฟาซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานVDE, IEC,

NEMA หรือ ANSI สําหรับระบบไฟฟา 380/220 volt 3 phase 4 wire 50 Hz มีคุณสมบัติตามความตองการของ NEC CODE ARTICLE 384 และมีคุณสมบัติ/ลักษณะที่การไฟฟาทองถิ่นยอมใหใชงานได 2) สวิตชหรือ Circuit Breaker ทุกชุดที่ใชในตูคอนโทรล จะตองผลิตโดยผูผลิตรายเดียวกัน ยกเวน Main Switch, Main and Tie Circuit Breaker หรือ Automatic Transfer Switch อาจใชผลิตภัณฑจากผูผลิตรายอื่นไดถาจําเปน แตตองไดรับการอนุมัติจากผูวาจางกอน 3) สวิตชตัดตอนที่ใชในตูControl ขนาดเฟรมตองไมเล็กกวาที่กําหนด และสามารถทนกระแสลัดวงจรไดไมต่ํากวาที่กําหนดในแบบ 2.   รายละเอียดทางโครงสราง

1) โครงตูทําดวยเหล็กฉากหนาอยางนอย 3 มม. เชื่อมติดกันหรือยึดติดกันดวยสลักและเปนเกลียว ถาตูมีหลายสวนและตั้งเรียงติดกัน ตองยึดติดกันดวยสลักและเปนเกลียว พรอมมีแผนโลหะกั้นแยกสวนภายในตูออกจากกัน

2) แผนโลหะรอบนอกตองทําจากแผนเหล็กที่มีความหนาไมนอยกวา 2 มม. ผานกรรมวิธีกําจัดและปองกันสนิม แลวผานการทําสีดวยวิธีการอบแหงทั้งภายนอกและภายใน ดวยสี Polyester Resin 3) ตัวตูประกอบขึ้นเปน Compartment ประกอบดวยRelay, Timer Relays, Circuit Breaker,Cable และ Metering Compartment โดยมีแผนโลหะ กั้นระหวาง Compartment และตองมีฐานสําหรับยึด Circuit Breaker ดวย

4) ตัวตูตองสามารถเปดไดทั้งดานหนา ดานหลัง ดานบน และดานขาง ประตูดานหนาของชองใสอุปกรณ ตองติดบานพับชนิดซอน ดานหลังและดานขางใหทําเปนแผงๆ ละ 2 ชิ้น พับขอบมีแผนยาง seal และยึดกับโครงสรางของตูโดยใชสกรู

5) ฝาดานขางและดานหลัง จะตองมีเกล็ดสําหรับระบายอากาศอยางเพียงพอ โดยภายในชองเกล็ดใหบุดวยตาขายกันแมลง และมี Filter สําหรับปองกันฝุนดวย

6)ฝาตูดานหนาตองมีปายชื่อทําดวยพลาสติก พรอมทั้ง Mimic Bus Diagram ติดใหเห็นอยางชัดเจนและไมหลุดงาย

Page 6: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

74

7) ชิ้นสวนที่เปนโลหะทั้งหมดตองผานกรรมวิธีปองกันกําจัดสนิมดวยวิธี Electro Galvanize แลวพนทับดวยสีชนิดอบแหง (Stove – Enamelled Paint)

8) ฝาตูทุกบานที่มีบานพับปดเปดได ตองมีการตอลงดินดวยสายดินชนิดลวดทองแดงถักตอลงดินที่โครงตู

9) ตัวโครงสรางจะตองขันสกรูหรือเชื่อมอยางแข็งแรง ตัวเมน Buster และ โครงสรางจะตองสามารถทนแรงบิดหากเกิดการลัดวงจรในระบบไฟฟา ไดอยางต่ํา 50,000 แอมแปร 3.   รายละเอียดทางดานเทคนิค

1) รีเลยเปนอุปกรณที่ทําหนาที่เปนสวิตชมีสวนประกอบที่สําคัญดังนี้ คือ  1.1คอลยแมเหล็ก (Magnetic coil) 1.2 หนาสัมผัส (Contact) 1.3 แกนเหล็ก (Armature) 1.4สปริงดันอารเมเจอร  และสปริงดันหนาสัมผัส  (Spring) 1.5 โครงยึดอุปกรณ (Mounting)

2) การทํางานเริ่มจากปดสวิตช เพื่อปอนกระแสใหกับขดลวด (Magnetic Coil) โดยทั่วไปจะเปนขดลวดพันรอบแกนเหล็กทําใหเกิดสนามแมเหล็กไปดูดเหล็กออนที่เรียกวาอารเมเจอร (Armature) ใหต่ําลงมา ที่ปลายของอารเมเจอรดานหนึ่งมักยึดติดกับสปริง (Spring) และปลายอีกดานหนึ่งยึดติดกับหนาสัมผัส (Contacts) การเคลื่อนที่อารเมเจอร จึงเปนการควบคุมการเคลื่อนที่ของหนาสัมผัส ใหแยกจากหรือแตะกับหนาสัมผัสอีกอันหนึ่งซึ่งยึดติดอยูกับที่  เมื่อเปดสวิตชอารเมเจอร ก็จะกลับสูตําแหนงเดิม 

3) เราสามารถนําหลักการนี้ไปควบคุมโหลด (Load) หรือวงจรอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ ไดตามตองการแตละหนาสัมผัสที่เคลื่อนที่ไดมีชื่อเรียกวาขั้ว (Pole) รีเลยมี 4 ขั้ว จึงเรียกหนาสัมผัสแบบนี้วาเปนแบบ 4PST (Four Pole Single Throw) ถาแตละขั้วที่เคลื่อนที่แลวแยกจากหนาสัมผัสอันหนึ่งไปแตะกับหนาสัมผัสอีกอันหนึ่งเหมือนกับสวิตชโยก โดยเปนการเลือกหนาสัมผัส ที่ขนาบอยูทั้งสองดาน

4)ในกรณีที่ไมมีการปอนกระแสไฟฟาเขาขดลวดของรีเลยสภาวะNO (Normally Open) คือสภาวะปกติหนาสัมผัสกับขั้วแยกจากกัน ถาตองการใหสัมผัสกันจะตองปอนกระแสไฟฟาเขาขดลวด สวนสภาวะ NC (Normally Closed) คือสภาวะปกติหนาสัมผัสกับขั้วสัมผัสกัน ถาตองการใหแยกกันจะตองปอนกระแสไฟฟาเขาขดลวด นอกจากนี้ยังมีแบบแยกกอนแลวสัมผัส (Break-Make) หมายถึงหนาสัมผัสระหวาง 1 และ 2 จะแยกจากกันกอนที่หนาสัมผัส 1 และ 3 จะสัมผัสกัน แตถาหากตรงขามกันคือ หนาสัมผัส 1 และ 2 จะสัมผัสกัน และจะไมแยกจากกัน จนกวาหนาสัมผัส 1 และ 3 จะสัมผัสกัน (Make-Break)

Page 7: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

75

5) ที่หางปลาเขาสายใหสวมดวย Vinyl Wire End Cap โดยเลือกขนาดใหเหมาะสมกับสายและหางปลาที่ใช และใชรหัสตามเฟสนั้นๆ ไมอนุญาตใหใชเทปสีพันแทน

6) สายไฟฟาสําหรับระบบควบคุมและเครื่องมือวัด ซึ่งเดินเชื่อมระหวางอุปกรณไฟฟา และอุปกรณไฟฟาสําหรับ Terminal Block ภายในตูใหใชสายชนิด Standard Annealed Copper Wire 300V, 70 deg.C PVC – INSULATED ขนาดของสายไฟ ตองมีรหัสสีและตองไมเล็กกวาที่กําหนด ดังนี้

CURRENT CIRCUIT : ใชสายสีดํา ขนาด 4 ตร.มม. VOLTAGE CIRCUIT : ใชสายสีแดง ขนาด 2.5 ตร.มม. AC. CONTROL CIRCUIT : ใชสายสีเหลือง ขนาด 1.5 ตร.มม. DC. CONTROL CIRCUIT : ใชสายสีเหลือง ขนาด 1.5 ตร.มม.

SLEEVE และ CAP หุมปลายสายก็ใหใชรหัสสีเดียวกับสายดวย -สายไฟทั้งหมดตองวางอยูในรางเดินสาย (truncking) เพื่อความเรียบรอย และเพื่อปองกัน                            การชํารุดของฉนวน สายไฟฟาแตละเสนที่เชื่อมระหวางจุดตางๆและหามมีการตัดตอโดยเด็ดขาด -สาย Control ทุกเสนที่ปลายทั้ง 2 ดาน ตองมีเครื่องหมายกํากับเปนระบบปลอกสวม (Ferrule) ซึ่งยากแกการลอกหรือหลุดหายเพื่อความสะดวกในการบํารุงรักษาภายหลัง -สาย Control ที่แยกออกจาก Cable Trunckingตองจัดหรือรัดสายดวย Cable Tie ใหเปนระเบียบ

Page 8: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

76

รูปที่ 5.1 แบบวงจรควบคุมรถทิปเปอรคารแผนที่ 1

Page 9: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

77

รูปที่ 5.2 แบบวงจรควบคุมรถทิปเปอรคารแผนที่ 2

Page 10: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

78

รูปที่ 5.3 แบบวงจรควบคุมรถทิปเปอรคารแผนที่ 3

Page 11: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

79

รูปที่ 5.4 แบบวงจรควบคุมรถทิปเปอรคารแผนที่ 4

Page 12: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

80

รูปที่ 5.5 แบบวงจรควบคุมรถทิปเปอรคารแผนที่ 5

Page 13: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

81

รูปที่ 5.6 แบบวงจรควบคุมรถทิปเปอรคารแผนที่ 6

Page 14: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

82

รูปที่ 5.7 แบบวงจรควบคุมรถทิปเปอรคารแผนที่ 7

Page 15: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

83

รูปที่ 5.8 แบบวงจรควบคุมรถทิปเปอรคารแผนที่ 8

Page 16: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

84

ประวัติผูจัดทํา

ชื่อ-นามสกุล ธันวา รามดิษฐ

เกิด 18 ธันวาคม 2534 รหัสประจําตัว 5403200030             ประวัติการศึกษา          ปวส. สาขางานไฟฟากําลัง รร. เทคโนโลยีสยาม ที่อยู 97 ม.6 ถ.บรมราชชนนี ซ.พุทธมณทล 28 เขต ทวีวัฒนา แขวง ศาลาธรรมสพน จ.กรุงเทพมหานคร 10170 โทรศัพท 084-163-0963

ชื่อ-นามสกุล อมเรศ  วันจันทร

เกิด 02 พฤษภาคม  2534 รหัสประจําตัว 5403200039 ประวัติการศึกษา ปวส. สาขาไฟฟากําลัง วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ ที่อยู 49/34 ซ.ทวีวัฒนา 21  ถ.เลียบคลองทวีวัฒนา แขวง  ทวีวัฒนา  เขต ทวีวัฒนา   จ.กรุงเทพมหานคร  10170

โทรศัพท 089-135-9301

Page 17: ่บทีท €5 - e-research.siam.edue-research.siam.edu/wp-content/uploads/2013/12/ch5.pdf · ่บทีท €5 ปสรุ ะนแอนสเอข ะลผลแ 5.1

85

ชื่อ-นามสกุล ชนะพล  รักมิตรอานนท  

เกิด 30 ตุลาคม  2533 รหัสประจําตัว 5403200042 ประวัติการศึกษา ปวส. สาขาไฟฟากําลัง  วิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม ที่อยู 37 หมู  12 ถ.สงศรีซ.2

                                                        ต.เมืองเดช  อ.เดชอุดม   จ.อุบลราชธานี 34160 โทรศัพท 085-9173847