ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช...

11

Upload: others

Post on 21-Feb-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ
Page 2: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ

Ed

uc

at i o

n i s

t he

pr o

ce

ss

of f a

ci

t he

ac

qu

i si t i o

n o

f kn

ow

l ed

ge

, sk

i l l s, v

tea

ch

ing

, train

ing

"การนำนโยบายลงสูการปฏิบัติ... สิงคโปร สตอร่ี" ทำไมสิงคโปรจึงไดข้ึนช่ือวาเปนหน่ึงในประเทศ ท่ีมีระบบการศึกษาดีท่ีสุดในโลก เจาะลึกเบื้องหลังการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยเชื่อมโยงมิตินโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ มิติของสถาบันผลิตครู และมิติการเรียนการสอนในหองเรียน ที่ประสบความสำเร็จจนทำใหสิงคโปรกลายเปนประเทศที่ทั่วโลกยอมรับวามีระบบการศึกษาดีที่สุดในโลก

“From Policy to Classroom…Singapore Story” Why Singapore comes top of the world class in

education system?

“Australia’s challenges in educational development and reform” Why the country where is one of the most popular

study destination has to reform the education curriculum?

What has learning method been change in the modern

classroom of Australia?

“หลักสูตรใหมของฟนแลนด” แมแตประเทศท่ีครองอันดับ 1 ดานการศึกษายังตองปรับตัว หลักสูตรใหมของฟนแลนด จะนำเสนอวิธีการเรียนรูในโลกยุคใหมที ่แตกตางจากอดีตอยางสิ้นเชิง

"ความทาทายของการปฏิรูปและพัฒนาหลักสูตรในออสเตรเลีย" ทำไมประเทศที่คนทั่วโลกนิยมเดินทางไปศึกษาจึงปฏิรูปหลักสูตรการศึกษา เผยโฉมหนาของวิธีการเรียนรูในหองเรียนยุคใหมของออสเตรเลีย ที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อตอบสนองตอความทาทายใหมๆ ในอนาคต

EDUCA 2017 is proud to be the part of teacher professional development in Thailand by bringing knowledge and experiences from education experts

from various countries to exchange with teachers in Thailand.

การศึกษาไทย ทำไมตอง 4.0 หัวใจสำคัญของการใชนวัตกรรมเพื่อการเรียนรูของโลกศตวรรษที่ 21 คืออะไร สำรวจมุมมองที่แตกตางจากการศึกษาในอดีตจนถึงปจจุบัน แลวคนหาคำตอบรวมกันวา นโยบายการศึกษาแบบใดที่จะสามารถตอบสนองตอความทาทายในยุคสมัยที่เทคโนโลยีขับเคลื่อนทุกมิติของชีวิต

EDUCA 2017 พาคุณไปเรียนรู อยางเจาะลึกถึงกระบวนการออกแบบ และการเช ื ่อมโยงนโยบายส ู ห องเร ียน ภายใต แนวค ิด EDUCATION 1.0, 2.0, 3.0, 4.0 : FROM POLICY TO CLASSROOM

“จากนโยบายสูหองเรียน” รวมถอดบทเรียนจากประสบการณการพัฒนาการศึกษาของประเทศชั้นนำระดับโลกผานหลากหลายเวทีเรียนรู ไดแก

Thai education, Why 4.0?, What is the key point of implementing innovation learning in the 21st Century?

Explore different dimensions of education from the past until present. Join us and find which education policy can response to challenges in the time when every aspect of lives is driven by technology.

EDUCA 2017 will bring you to explore the design process

and connection of policy toward the classroom under the topic of

“EDUCATION 1.0, 2.0, 3.0, 4.0 FROM POLICY TO CLASSROOM.” Join us on visualize the lesson of the education development experiences

from the world’s best education system through these following stages :

“โรงเรียนเปนชุมชนแหงการเรียนรู แนวคิดลุมลึก และแนวปฏิบัติ ที่พลิกการเรียนรูทั้งครูและเด็กใหเกิดขึ้นไดทั้งโรงเรียน: ประสบการณจากญี่ปุน” ภาคตอจากเวทีที่ไดรับความนิยมสูงสุดใน EDUCA 2016

เวทีท่ีนำเสนอเร่ืองราวภาคตอของแนวคิดหลักในงาน EDUCA 2016 “School as Learning Community (SLC)” ท่ีจะขยายมุมมองเพ่ิมเติมใหทานเขาใจทั้งแกน และวิธีการประยุกตแนวคิด SLC สูหองเรียน

EDUCA 2017 ภูมิใจท่ีไดเปนสวนหน่ึงในการพัฒนาทักษะวิชาชีพครูไทย ดวยการนำองคความรู และประสบการณจากนักการศึกษาช้ันนำจากหลายประเทศท่ัวโลก ทั้งเอเชีย ยุโรป และออสเตรเลีย มาแลกเปลี่ยนแกครูไทยทั่วประเทศ

“จากนโยบายสูหองเรียน”

THEME (แนวคิดหลัก)

“New Finland’s curriculum”

Delve into behind the scene of education system development by connecting dimension of policy from

the Ministry of Education, National Institute of Education, and classroom instruction in Singapore which has become

well known as the world’s best education system.

“School as Learning Community, the profound approach, and the practices which turned the learning of teacher and student to everywhere in school: Japan’s experience” The sequel of the most popular stage in EDUCA 2016 This stage will present story that continue the main theme

of EDUCA 2016 School as Learning Community (SLC) whichwill extend the understanding of SLC’s core and SLC’s strategy

in a deeper way.

Why the leading country in education is revamping his education for meeting the change of the 21 century? “New Finland’s curriculum ” will present about learning

method in the new era which is completely different from

the previous one.

st

FROM POLICY TO CLASSROOMEDUCATION

Page 3: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ

นโยบายการศึกษาสิงคโปร :  ความเปนมา การวางแผน การสื่อสาร และนโยบายตัวอยาง

โดย ดร. ลิม ไล เฉิน

กรรมการบริหารสถาบันใหคำปรึกษาและฝกอบรมแหงมหาวิทยาลัยการจัดการแหงสิงคโปร

นำเสนอกรณีตัวอยางนโยบายการศึกษาท่ีสำคัญวา

นโยบายเหลาน้ันเกิดข้ึนจากเจตนารมยใดของประเทศ กรอบแนวคิดดังกลาวพัฒนาไปอยางไร รวมทั้งกระบวนการท่ีรัฐบาลนำนโยบายสูการปฏิบัติ ติดตามและประเมินผล   

“สิงคโปร สตอรี่” เจาะลึกเบื้องหลังการศึกษาคุณภาพของสิงคโปร

สิงคโปร หน่ึงในประเทศที่มีระบบการศึกษาดีที่สุดในโลก!!ท้ังๆ ท่ีเปนประเทศไรซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติ แถมยังมีขนาดเล็กกวากรุงเทพมหานครถึง 2 เทา แตทำไมสิงคโปรจึงสามารถผลิตประชากรท่ีมีคุณภาพจนกาวสูการเปนประเทศอัจฉริยะ (Smart Nation) และกำลังจะผงาดขึ้นเปนมหาอำนาจทางการศึกษาของโลกในไมชา

มิติสถาบันผลิตครู “บทบาทของครุศึกษาในการพัฒนาการศึกษาสิงคโปร”

โดย ศาสตราจารย ดร. โล อี ลิง ประธานเจาหนาที่กำหนดและวางแผน และหัวหนาสำน ักวางแผนกลย ุทธ และค ุณภาพว ิชาการ

สถาบันครุศึกษาแหงชาติสิงคโปร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนันยาง

เจาะลึกภารกิจสำคัญของครุศึกษาสิงคโปร ภายใตแนวคิดการดำเนินงานที่มุงเนนการผลิตงานวิจัย ควบคู กับการปฏิบัติงานรวมกับหนวยนโยบายและโรงเรียนอยางใกลชิด

การบริหารจัดการโรงเรียนดวยมุมมองกลาคิดกลาทำ

โดย ลี ไล หยง อดีตครูใหญโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาประเทศสิงคโปร

เรียนรูกลยุทธการบริหาร “สรางทีมงานชั้นยอด

สูโรงเรียนช้ันเย่ียม” องคประกอบในการสรางสรรคโรงเรียนท่ีมีคุณภาพ และแนวทางสำคัญสูความสำเร็จในการบริหารจัดการโรงเรียน

“สิงคโปร สตอรี่” จะพาคุณไปเจาะลึกเบ้ืองหลังการศึกษาของสิงคโปร ที่มีคุณภาพของประชากรเปนหัวใจสำคัญ โดยกระทรวงศึกษาธิการไดวางนโยบายทางการศึกษาใหเชื่อมโยงกับการดำเนินงานของสถาบันครุศึกษาแหงชาติ หรือ “สถาบันผลิตครู” แหงเดียวของประเทศ ตลอดจน บูรณาการกับ “โรงเรียน” ที่เปนสถาบันหลักในการสรางทักษะความรูและเสริมสรางใหเกิดเยาวชนชั้นนำ จนทั่วโลกตางยกยองใหสิงคโปรเปนหนึ่งในประเทศที่มี “ระบบการศึกษาดีที่สุดในโลก”

อะไรคือหลักการสำคัญภายใตวิธีคิดดังกลาว สิงคโปรทำอยางไรจึงสรางนโยบายท่ีสามารถนำไปใชใหเกิดข้ึนจริงในหองเรียน รวมท้ังมีกระบวนการติดตามและประเมินผลหลังนำนโยบายไปสูการปฏิบัติอยางไร และอะไรคือ กลไกสำคัญท่ีเช่ือมโยงหนวยนโยบาย หนวยผลิตครูและวิจัย และหนวยปฏิบัติเขาดวยกัน คนหาคำตอบรวมกันไดภายในงาน EDUCA 2017

บนเวที “สิงคโปรสตอร่ี” จากนโยบายสูหองเรียน โดยวิทยากรผูเช่ียวชาญจากทั้ง 3 หนวยงาน ภายใตหัวขอตางๆ ที่นาสนใจ ไดแก...

Page 4: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ

International Conference Programกำหนดการประชุมนานาชาติ

Dr. LIM Lai Cheng

MOE Perspective “Singapore Education Policy :

History, Planning, Communicating and Policy Cases”

Registration | ลงทะเบียน

Official Opening Ceremony | พิธีเปดอยางเปนทางการ

Executive Director of SMU Academy, Singapore

ดร.ลิม ไล เฉิน

ศาสตราจารย ดร. โล อี ลิง

มาดามหลี ไล หยง

Chief Planning Officer-Designate, and Head of Strategic Planning & Academic Quality,National Institute of Education, Nanyang Technological University, Singapore

มิตินโยบาย “นโยบายการศึกษาสิงคโปร : ความเปนมา การวางแผน การส่ือสารและนโยบายตัวอยาง”

กรรมการบริหารสถาบันใหคำปรึกษาและฝกอบรมแหงมหาวิทยาลัยการจัดการสิงคโปร

หัวหนาศูนยนวัตกรรม สำนักการศึกษาแหงชาติฟนแลนดคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติฟนแลนด

อาจารยอาวุโสดานหลักสูตรและศาสตรการสอนคณะครุศาสตร วิทยาเขตเพนนินซูลา มหาวิทยาลัยโมนาช ออสเตรเลียประธานเจาหนาที่กำหนดและวางแผน และหัวหนาสำนักวางแผนกลยุทธ

และคุณภาพวิชาการ สถาบันครุศึกษาแหงชาติสิงคโปร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนันยาง

Ex-principal of Primary and Secondary Schools, Singaporeอดีตครูใหญโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

ที่ไดรับรางวัลหองเรียนคุณภาพของสิงคโปร

08.00 - 09.00

09.10 - 09.25

12.00 - 12.30 Q & A Session

ชวงถาม - ตอบ

16.30 - 17.00 Q & A Session and Close 1 Conference Dayst

st

ชวงถาม - ตอบ และจบการประชุมนานาชาติวันแรก

12.30 - 13.30 Lunch at Banquet Hall on 1 Floor

รับประทานอาหารกลางวัน ณ หองรับประทานอาหาร ช้ัน 1

Monday 16 October 2017Opening Ceremony and Keynote Addresses, Grand Diamond Ballroom

th

09.30 - 10.30

10.30 - 11.15

11.15 - 12.00

NIE Perspective “The Role of Teacher Education

in Developing Singapore Education”

มิติสถาบันผลิตครู “บทบาทของครุศึกษาในการพัฒนาการศึกษาสิงคโปร”

School Perspective “Managing Schools with

An Enterprising Perspective”

มิติโรงเรียน “การบริหารจัดการโรงเรียนเชิงกลยุทธแบบกลาคิดกลาทำ”

Ms. Anneli RAUTIAINEN

FROM POLICY TO CLASSROOMEDUCATION 1.0, 2.0, 3.0, 4.0

อันเนลี เราติอะอิเนน

“Curriculum Reform and Development in Finland

(2012 - 2017)”

Head of the Innovation Center in Finnish National Agency of Education,The Finnish National Agency of Education, Finnish National Board of Education, Finland

Senior Lecturer in Curriculum & Pedagogy,Faculty of Education, Peninsula Campus, Monash University, Australia

“การปฏิรูปและพัฒนาหลักสูตรใหมของฟนแลนด (ป พ.ศ. 2555-2560)”

13.30 - 14.15

Dr. David ZYNGIER

ดร. เดวิด ซินเจียร

“Education Reform : Why & How? Curriculum Reform

and its Development in Australia :

Competing Approaches to Reform”

“ปฏิรูปการศึกษา: ทำไมและอยางไร การปฏิรูปและพัฒนา หลักสูตรในออสเตรเลีย”

14.15 - 15.00

รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยทางการศึกษา มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญ่ีปุน ประธานแหงสมาคมวิจัยการดูแลเด็กปฐมวัยและการศึกษาญ่ีปุน

Vice Dean of Graduate School of Education, University of Tokyo, JapanPresident of Japanese Society of Research on Early Children Care and Education, Japan

Professor Kiyomi AKITA, Ph.D.

ศาสตราจารย ดร. คิโยมิ อะกิตะ

“Innovation for Schools as Learning Community”

“นวัตกรรมสำหรับโรงเรียนเปนชุมชนแหงการเรียนรู”

15.00 - 15.45

คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยยามากาตะ ประเทศญ่ีปุนFaculty of Education, Yamagata University, Japan

Assistant Professor Tomoyuki MORITA

ผูชวยศาสตราจารย โตโมยุกิ โมริตะ

“Practice in Classroom through Schools as Learning

Community Approach”

“การปฏิบัติจริงในหองเรียนดวยแนวทางโรงเรียนเปนชุมชนแหงการเรียนรู”

15.45 - 16.30

Professor LOW Ee Ling, Ph.D.

Mdm. LEE Lai Yong

มีบริการหูฟงแปลภาษา อังกฤษ - ไทย - อังกฤษ*Simultaneous translation is provided from English - Thai - English |

Page 5: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ

อาจารยอาวุโสดานหลักสูตรและศาสตรการสอนคณะครุศาสตร วิทยาเขตเพนนินซูลา มหาวิทยาลัยโมนาช ออสเตรเลีย

Senior Lecturer in Curriculum & Pedagogy,

Faculty of Education, Peninsula Campus, Monash University, Australia

ดร. เดวิด ซินเจียร

เสวนานานาชาติจาก 4 ประเทศ ภายใตแนวคิด “Teacher Education as the Future Molding Factor”, หอง Sapphire 206

Professor Hannele NIEMI, Ph.D.

“Teacher Education in Finland”

Research Director, Faculty of Educational Sciences,University of Helsinki, Finland

ศาสตราจารย ดร.อันเนเล นีเอมี

“การพัฒนาครุศึกษาในฟนแลนด”

ผูอำนวยการวิจัย คณะวิทยาการทางการศึกษา มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ ประเทศฟนเเลนด

Tuesday 17 October 2017

Thailand Teacher Education Symposium

การเสวนา “ทิศบานทางเมืองครุศึกษาไทย”

(Conducted in Thai)

(บรรยายเปนภาษาไทย)

International Symposium “Teacher Education as the Future Molding Factor”, Room Sapphire 206

th

09.00 - 09.45

13.30 - 17.00

Professor Kiyomi AKITA, Ph.D.

“Lesson Studies for Deep Learning in Teacher Education in Japan”

ศาสตราจารย ดร.คิโยมิ อะกิตะ

“การพัฒนาบทเรียนรวมกันเพื่อสรางการเรียนรู อยางลุมลึกในครุศึกษาของญี่ปุน”

09.45 - 10.30

Teacher Education Symposiumการเสวนาพิเศษ “ทิศบานทางเมืองครุศึกษา”

รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยทางการศึกษา มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญ่ีปุน ประธานแหงสมาคมวิจัยการดูแลเด็กปฐมวัยและการศึกษาญ่ีปุน

ชมวีดิทัศน “ทิศบานทางเมืองเรื่องครุศึกษาไทย : โอกาสและความทาทาย”

Vice Dean of Graduate School of Education, University of Tokyo, Japan

President of Japanese Society of Research on Early Children Care and Education, Japan

“Evidence-based Teacher Education in Singapore : What, Why, How and When?”

“หลักฐานเชิงประจักษทางครุศึกษาในสิงคโปร : อะไร ทำไม อยางไร และเมื่อไร”

10.30 - 11.15

ศาสตราจารย ดร. โล อี ลิงProfessor LOW Ee Ling, Ph.D.

Chief Planning Officer-Designate, and Head of Strategic Planning & Academic Quality,National Institute of Education, Nanyang Technological University, Singapore

ประธานเจาหนาที่กำหนดและวางแผน และหัวหนาสำนักวางแผนกลยุทธและคุณภาพวิชาการ สถาบันครุศึกษาแหงชาติสิงคโปร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนันยาง

“Teacher Education in Australia : Most Reviewed and Most Reviled! Trends and Possibilities”

“ครุศึกษาออสเตรเลีย เมื่อครุศึกษาตกเปนจำเลย... ที่สุดแหงการทบทวนและที่สุดเเหงการตั้งคำถาม ! แนวโนมและความเปนไปได”

11.15 - 12.00 Dr. David ZYNGIER

12.00 - 12.30 Q & A Session | ชวงถาม - ตอบ

12.30 - 13.30 Lunch | รับประทานอาหารกลางวัน

อภิปรายเรื่อง “บทเรียนบนเสนทางการเปลี่ยนแปลงครุศึกษาไทย”

สรุปผลการเสวนา

ประเด็นและปญหาครุศึกษาไทย : โอกาสและความทาทายป 2560

การพัฒนาคุณภาพครุศึกษาของไทย

การเปล่ียนแปลงครุศึกษาไทยดวยความคิดเชิงกลยุทธ (Strategic Thinking)

มีบริการหูฟงแปลภาษา อังกฤษ - ไทย - อังกฤษ*Simultaneous translation is provided from English - Thai - English |

Page 6: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ

Ed

uc

at i o

n i s

t he

pr o

ce

ss

of f a

ci l

t he

ac

qu

i si t i o

n o

f kn

ow

l ed

ge

, sk

i l l s, v

tea

ch

ing

, train

ing

โดย โครงการ “EDU - Port JAPAN”, หอง Sapphire 102กระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีญ่ีปุน (MEXT) สถานเอกอัครราชฑูตญ่ีปุนประจำประเทศไทย

Tuesday 17 October 2017

By EDU - Port JAPAN , Room Sapphire 102

Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology (MEXT), JAPAN

JAPAN EMBASSY

Fostering the Mind, Virtues, and Body

(solid academic ability, richness in humanity

and healthy body) in Japanese education

Stimulating New Mode of Learning for

the 21 Century: Building Collaboration for

Better Teaching and Learning

Lunch | พักรับประทานอาหารกลางวัน

Professional development using Lesson Study

based on practices at Bangkok Japanese School

”Mikke" The Japanese style

learning platform

Mr.Hiroshi Moritomo,

Ministry of Education, Culture,

Sports, Science and Technology (MEXT)

National Institute for School Teachers

and Staff Development (NITS), JAPAN

Tokyo Gakugei University

Mikke Project

(The Asahi Shimbun & Hakuhodo)

Time Topic Speaker

th

Special Seminar By Japanการเสวนาพิเศษ โดย ประเทศญี่ปุน

09.00 - 10.30

11.00 - 12.30

12.30 - 13.30

13.30 - 15.00

15.30 - 17.00

( 09.00 - 17.00 )

มีบริการหูฟงแปลภาษา อังกฤษ - ไทย - อังกฤษ*Simultaneous translation is provided from English - Thai - English |

st

Page 7: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ

13.30 - 17.00

“4 Industrial Revolution and Maker Education

(Using 3D printer, coding education)”

“การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 และการศึกษา เพื่อนักสรางนวัตกรรม (การใชเครื่องพิมพ 3 มิติ การศึกษาการเขียนโปรแกรม)”

“Making Class Active by “Flipped Learning”

“สรางหองเรียนใหสนุกดวยการเรียนรูแบบกลับดาน (Flipped Learning)”

Teacher in Busan Metropolitan Office of Education, Busan, Korea Flipped Learning Specialist Curriculum,Center for Teaching & Learning of Office of Academic Affairs in Hallym University

Kaekeum High School, 03/2002 to 02/2009

Manager (1985 - present): Center for Teaching and Learning,

Hallym University

อาจารยมหาวิทยาลัยฮันลิม มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮันลิม และมหาวิทยาลัยแหงชาติกังหวน

ผูจัดการศูนยการเรียนรูและการสอน สำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยฮันลิม ประเทศเกาหลีใต

โรงเรียนมัธยมปลายแคกึม ป พ.ศ. 2545 - 2552

โรงเรียนมัธยมปลายหญิงคยองนัม ป พ.ศ. 2552 - 2556

โรงเรียนมัธยมปลายคยองนัม ป พ.ศ. 2556 ถึงปจจุบัน

หัวหนาสมาคมความรวมมือทางการศึกษาเกาหลี (หลักสูตรผูเชี่ยวชาญดานการเรียนรูแบบกลับดาน)

อาจารยสถาบันฝกอบรมครุศึกษาอูลซาน (การเรียนรูแบบกลับดานและการวางแผนสูความสำเร็จ)

ผูอำนวยการดานการศึกษา (สถาบันสังคมและการศึกษาทางดานมัลติมีเดียเกาหลี)

อดีตรองประธานสมาคมศูนยการเรียนรูและการสอนแหงเกาหลี

Lecturer (2006 - present): Hallym University, Hallym

Polytechnic University, Kangwon National University

Chief Lecturer (2015 - present): Korean Association

of Convergence Education,

(Flipped Learning Specialist Curriculum)

Lecturer(2016 - present): Ulsan Education Training Institute,

(Flipped Learning, Planning to Completion)

Director of Education ( - present, Korea Multimedia

Education & Society)

Vice President(2007), Korean Association of Center

for Teaching and Learning

Gyeongnam Girls High School, 03/2009 to 02/2013

Kyungnam High School, 03/2013 to current

Responsible high school teacher with excellent communication skills

demonstrated by 15 years of teaching experience. Receiving

lots of prizes for ICT contest and Great public speaker lecturing about

‘Makers’. Passion for education policy study being under development

‘Makers class based on the problem solving’ in 2017

อิม บยอง รยูล เปนครูระดับมัธยมปลายท่ีมีความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณการสอนมามากกวา 15 ป เห็นไดจากผลงานรางวัลตางๆ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) และรางวัลผูบรรยายสาธารณะยอดเยี่ยมเกี่ยวกับ “เมกเกอร (Makers)” หรือ “นักสรางนวัตกรรมทางการศึกษา”ในป พ.ศ. 2560 คุณครูอิม บยอง มีความมุงมั่นในการศึกษาเรื่องนโยบายดานการศึกษาที่สอดคลองกับการพัฒนา “เมกเกอรคลาสท่ีใชการแกปญหาเปนฐาน"

ครูจากสำนักงานการศึกษาเมืองปูซาน ประเทศเกาหลีใตผูเช่ียวชาญดานการเรียนรูแบบกลับดาน

ผูจัดการศูนยการเรียนรูและการสอน สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยฮันลิม ประเทศเกาหลีใต

“การสรางหองเรียนแหงนวัตกรรมสูยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม คร้ังที่ 4”, หอง Sapphire 205 โดย ศูนยการศึกษาเกาหลี (KEC) สถานเอกอัครราชฑูตสาธารณรัฐเกาหลีประจำประเทศไทย

Monday 16 October 2017

“Making Class More Innovative for 4 Industrial Revalution Era”, Room Sapphire 205

By Korean Education Center (KEC), KOREA EMBASSY

th

Special Seminar By Koreaการเสวนาพิเศษ โดย ประเทศเกาหลี

IM, BYEONG RYUL Kan Jin Sook, Ph.D.

อิม บยอง รยูล ดร. คัน จิน ซุก

th

th

( 13.30 - 17.00 )

มีการแปลสรุปความเปนภาษาไทย*Consecutive translation is provided from Korean – Thai only |

Page 8: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ

เมื่อการศึกษายุค 4.0 เปดโอกาสใหเด็กไดเรียนรูอยางมีอิสระ และสามารถพัฒนาศักยภาพของตนไดอยางเต็มที่ “ครูใหญ” ในฐานะผูวางรากฐานอนาคตเด็กไทย จึงควรเปนผูริเร่ิมท่ีจะกระตุนสงเสริมใหผูเรียนรูจักแสวงหาความรู ผานกระบวนการคิด วิเคราะหและวางแผน เพ่ือเติมเต็มศักยภาพดวยตนเอง โดยการมุงสงเสริม PLC หรือ การสรางชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ ท่ีมีความสำคัญย่ิงกับการศึกษาแหงศตวรรษที่ 21

การนำนโยบายสูการปฏิบัติการในหองเรียนจะประสบผลสำเร็จอยางแทจริง ผานแนวคิดการพัฒนาชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ที่เปนกลยุทธสงเสริมและพัฒนาศักยภาพของครูในการจัดการเรียนรู เพื่อเสริมสรางผลการเรียนรูของเด็กอยางเต็มประสิทธิภาพ โดยมีหัวใจสำคัญคือ การมุงพัฒนาวิชาชีพครูควบคูไปกับการพัฒนาผูเรียน “ไมละทิ้งใครแมแตคนเดียว” ไมวาเด็กคนน้ันจะมาจากท่ีไหน หรือมีผลการเรียนเปนอยางไร รวมท้ังคุณครูทุกคนในโรงเรียน จะไมมีใครถูกท้ิง (No child left behind.No teacher left behind.)

ครูใหญ คือ ผูเป ยมดวยจิตวิญญาณแหงความเปน “ครู” ควบคูกับบทบาทในการบริหารโรงเรียน สามารถเปนเสาหลักในการผลักดันนโยบาย PLC สูการพัฒนาและสรางสรรคใหเกิดชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพข้ึนในโรงเรียนของตน เพ่ือเปดโอกาสใหครูไดรวมเรียนรู แกปญหา พรอมสรางเครือขายความเขมแข็งทางวิชาชีพ ผานการศึกษาจากตนแบบของโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จในการใชแนวคิด PLC ปฏิรูปโรงเรียน ท้ังระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาในฟอร่ัมครูใหญ: การปฏิรูปการศึกษาในโรงเรียนดวย PLC

อนาคตของเด็กไทยจะเปนอยางไร “ครูใหญ” เทานั้นที่จะใหคำตอบไดดีที่สุด

ฟอร่ัมครูใหญในปนี้ นำทุกทาน...สูการเปนครูใหญผูนำการปฏิรูปการศึกษาในโรงเรียนดวย PLC

ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาวันพุธที่ 18 ตุลาคม 2560

เวลา 9.00 - 12.30 น.หอง SAPPHIRE 202

วันอังคารที่ 17 ตุลาคม 2560 เวลา 9.00 - 12.30 น.หอง SAPPHIRE 203

วันพุธที่ 18 ตุลาคม 2560 เวลา 9.00 - 12.30 น.หอง SAPPHIRE 102

ฟอรั่ม “ครูใหญ” ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ฟอรั่มที่ครูใหญทุกคน…ไมควรพลาด

ครูใหญ ผูนำการปฏิรูปการศึกษาดวย PLC

Principal Forum 2017

จุดเริ่มตนฟอรั่มครูใหญในงาน EDUCA EDUCA ริเร่ิมการจัดฟอร่ัมครูใหญ (Principal Forum) อยางตอเน่ืองมาต้ังแตป 2011 (พ.ศ. 2554) และไดพัฒนารูปแบบการนำเสนอเพ่ือใหครูใหญกาวทันการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จนกระทั่งลวงเขาสูปที่ 7 ในปนี้ไดหยิบเอาเรื่อง “ปฏิรูปการศึกษาในโรงเรียนดวย PLC” มาเปนหัวขอหลัก โดยยังยึดหลักการสำคัญ คือ การสรางเวทีใหครูใหญในแตละระดับ (ทั้งปฐมวัย ประถม และมัธยม) ไดศึกษาแลกเปลี่ยน ทั้งในเรื่ององคความรูท่ีมุงม่ันสูการพัฒนาครูใหญโดยเฉพาะ รวมท้ังถอดบทเรียนจากประสบการณตรงของเพื่อนครูใหญที่บริหารโรงเรียนในระดับเดียวกัน เพื่อใหสามารถนำความรูน้ันมาพัฒนาโรงเรียนใหมีคุณภาพ เพ่ือเด็กไทยทุกคน

สวนคำถามที่วา ทำไมตองเปนครูใหญ? เพราะ ครูใหญ... เปนคำที ่เรียงรอยจิตวิญญาณความเปนครูผูนำโรงเรียน มีความหมายลึกซึ้งยิ่งกวา ผูบริหาร ผูอำนวยการโรงเรียน

“ “

“ครูใหญ” ตองเปนผูมีวิสัยทัศนและเปนหัวใจสำคัญของการปฏิรูปโรงเรียน ดวยหนาที่รับผิดชอบอันยิ่งใหญ คือ "อนาคตของนักเรียนทุกคนในโรงเรียน" ครูใหญทุกคนจึงตองมุงหมายท่ีจะนำพาโรงเรียนใหกาวหนาไปได โดยผสานพลังท่ีหลอมรวมหัวใจของเด็ก ครู ผูปกครอง และชุมชน

Page 9: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ

การประชุมเชิงปฏิบัติการและสัมมนากลุมยอยภายในงานมหกรรมทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาวิชาชีพครู หรือ

EDUCA เปนเบาหลอมในการสรางการเติบโตของเครือขายวิชาชีพครู เปนการนำกลุมผูรวมวิชาชีพ มาพบปะกันเพ่ือเรียนรู และสรางความเขมแข็งทางอัตลักษณของวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู ภายใตกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการและสัมมนากลุมยอยนี้ กลุมครู และผูบริหารสถานศึกษา รวมทั้งนิสิต นักศึกษาครู ที่ไดเขารวมงาน จะมีโอกาสไดพบปะ พูดคุย และเรียนรูจากทั้งผูเชี่ยวชาญ และเพื่อนครูดวยกัน ผานเครือขายการเรียนรูนี้ ผูเขารวมงานจะไดแลกเปลี่ยน ความรู ความคิดซึ่งเปนประเด็นความทาทาย และแนวทาง การแกไขปญหาซึ่งกันและกัน โดยยึดหลักแนวคิดหลัก 3 ประการในการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม คือ

เพ่ิมพูนศักยภาพ และคุณภาพการจัดการเรียนรู (Enriched) หัวขอการประชุมเชิงปฏิบัติการและสัมมนากลุมยอยของ EDUCAจะเปนการมุงเนนการพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะ และเจตคติ ของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อการจัดการเรียนรูที่มีคุณภาพ ผูเรียนไดรับการพัฒนาเติมเต็มตามศักยภาพสูงสุดและเกิดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรูอยางแทจริง

เนนการฝกปฏิบัติจริง (Hands-on) ลักษณะการจัดกิจกรรมในงาน EDUCA

จะเนนการลงมือปฏิบัติจริงเพ่ือใหผูเขารวมไดเรียนรู และพัฒนาทักษะไดอยางยั่งยืน

สามารถนำไปประยุกตใชไดทันที (Practical) เนื้อหา และกิจกรรมที่เรานำเสนอจะสอดคลองกับความตองการ

และปญหาท่ีครูไดประสบในชั้นเรียน เปดโอกาสใหครูสามารถเลือกเขารวมในแตละหัวขอไดตามความสนใจ และสามารถนำความรู เทคนิค หรือทักษะตางๆ ไปใชไดทันที ครอบคลุมเน้ือหาท่ีเกี่ยวของอยางหลากหลาย เนนผลลัพธที่สามารถนำไปประยุกตใชไดจริงสำหรับครู

สามารถติดตามรายละเอียดโปรแกรมการประชุมเชิงปฏิบัติการและสัมมนากลุมยอย (Workshops and Seminars) ในงาน EDUCA 2017 ไดท่ี www.educathai.com

งานมหกรรมทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาวิชาชีพครู ครั้งที่ 10

FROM POLICY TO CLASSROOM

EDUCATION

สำหรับการประชุมเชิงปฏิบัติการและสัมมนากลุมยอย (Workshops and Seminars) ในงาน EDUCA 2017 ภายใตแนวคิดEDUCATION 1.0, 2.0, 3.0, 4.0 : FROM POLICY TO CLASSROOM นั้นทาง EDUCA ไดเตรียมหัวขอที่มีความนาสนใจ พรอมนำเสนอมุมมองใหมจากการนำนโยบายสูการปฏิบัติจริงใหไดผลในช้ันเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรูที ่สรางการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน จากคณะครู ผูบริหาร และผูเชี ่ยวชาญเฉพาะดาน จากโรงเรียน สถาบันการศึกษา และหนวยงานท่ีเก่ียวของ ท่ีใหเกียรติเปนวิทยากร

รวมแลกเปลี่ยน แบงปน และตอยอดความรูรวมกัน

EDUCA ออกแบบและพัฒนาหัวขอการประชุม เพื่อตอบสนองความตองการ และตอบโจทยการแกไขปญหาในการเรียนการสอนในปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ ่งในชั ้นเรียนที ่มีความแตกตางและหลากหลาย มุงการประยุกตใช ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในทันที ครอบคลุมเนื ้อหา ดานหลักสูตร และการสอน การเขียนแผน และการจัดการเรียนรู เทคนิค และการจัดการชั้นเรียน การวิจัยในช ั ้นเร ียน การออกแบบสื ่อ การประเม ินผลการเร ียนร ู และการจัดการกิจกรรมการเรียนรูในระดับปฐมวัย นอกจากนี้ ยังไดรวมกับเครือขายองคกรที ่มีผู เชี ่ยวชาญที ่เกี ่ยวของ

ตองการมีสวนรวมในการแกไขและการศึกษา

Page 10: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ

Ed

uc

at i o

n i s

t he

pr o

ce

ss

of f a

ci l i t a

t i ng

l ea

t he

ac

qu

i si t i o

n o

f kn

ow

l ed

ge

, sk

i l l s, v

al u

es

, be

l i

t ea

ch

i ng

, t r ai n

i ng ขอเชิญ... ผูบริหารสถานศึกษา

ครู ตลอดจนบุคลากรทางการศึกษาเยี่ยมชม นิทรรศการแสดงนวัตกรรมสื่อ เทคโนโลยี บริการทางการศึกษาและหองเรียนตนแบบแหงศตวรรษที่ 21

ในรูปแบบ School Tour

“ลงทะเบียนออนไลนทาง

การเยี่ยมชมงานเปนหมูคณะ

www.educathai.com

อาคารอิมแพ็ค ฟอรั่ม (ฮอลล 9) อิมแพ็ค เมืองทองธานีIMPACT Forum (Hall 9), IMPACT Muang Thong Thani

[email protected] +662 748 7007 Ext.147

School Tour

FROM POLICY TO CLASSROOM

EDUCATION

งานมหกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู ครั้งที่ 10OCTOBER 2017

ตุลาคม 256016-18

Page 11: ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของการใช นวัตกรรม · การศึกษาไทย ทำไมต อง 4.0 หัวใจสำคัญของ

Su

mm

ary

of

Re

gis

tra

tio

n F

ee

s &

En

titl

em

en

tตา

รางเ

ปรียบ

เทียบ

สรุปส

ิทธิปร

ะโยชน

การล

งทะเบ

ียน

ED

UC

A 2

017

Fee

s &

En

titl

em

en

t

16O

CT

17O

CT

17-1

8O

CT

18O

CT

FEESENTITLEMENT

1,10

0 B

aht

Sp

eci

al &

Exc

lusi

ve

Inte

rnat

ion

al C

on

fere

nce

Ear

ly B

ird

Pac

kage

Sp

eci

al &

Exc

lusi

ve

Inte

rnat

ion

al C

on

fere

nce

Pac

kag

e

Wo

rksh

op

P

acka

ge

Incl

ud

ing

Lu

nch

&

Co

ffe

e B

reak

*Lim

ite

d 1

,20

0 S

eat

s

**Li

mit

ed

Se

at**

Lim

ite

d S

eat

Wo

rksh

op

P

acka

ge

Inte

rnati

on

al C

on

fere

nce : ก

ารปร

ะชุมน

านาช

าติE

DU

CA

TIO

N 1

.0, 2

.0, 3

.0, 4

.0

FR

OM

PO

LIC

Y t

o C

LA

SS

RO

OM

Wo

rksh

op

an

d S

em

inar

การป

ระชุม

เชิงป

ฏิบัติก

ารแล

ะสัมม

นากลุ

มยอย

Wo

rksh

op

an

d S

em

inar

การป

ระชุม

เชิงป

ฏิบัติก

ารแล

ะสัมม

นากลุ

มยอย

Wo

rksh

op

an

d S

em

inar

การป

ระชุม

เชิงป

ฏิบัติก

ารแล

ะสัมม

นากลุ

มยอย

“On

e B

oo

k” v

ou

che

r fr

om

th

e “

Bo

oks

fo

r Te

ach

ers

, t

he

life

-lo

ng

lear

nin

g e

xam

pla

rs”

Pro

ject

fre

e!

ฟรี “ห

นังสือ

เพื่อค

รู ตน

แบบก

ารเรีย

นรูตล

อดชีว

ิต”

Cer

tifica

te a

nd D

ocu

men

t D

ow

nlo

ad S

ervi

ceบริ

การด

าวนโ

หลดเ

อกสา

ร แล

ะเกียร

ติบัตร

Co

ffe

e b

reak

an

d lu

nch

“Te

ach

er

Ed

uca

tio

n S

ym

po

siu

m”

ชา ก

าแฟ

และอ

าหาร

กลาง

วัน

Co

ffe

e b

reak

an

d lu

nch

**B

ank

adm

inis

trat

ion

fe

e s

hal

l b

e c

ov

ere

d b

y p

aye

e.

**ED

UCA

สงวน

สิทธิ์ไ

มคืนค

าลงท

ะเบียน

ไมวา

กรณ

ีใดๆ

| EDU

CA re

serv

es th

e rig

ht n

ot to

retu

rn th

e dep

osit.

Ad

d 4

00

Bah

t. P

rov

ide

d f

or

17-1

8 O

ct.

ชา ก

าแฟ

และอ

าหาร

กลาง

วันชำ

ระเพ

ิ่ม 400 บ

าท

สำหรั

บอาห

าร วั

นที่ 17

- 18

ต.ค

.

Ad

d 4

00

Bah

t. P

rov

ide

d f

or

17-1

8 O

ct.

ชำระ

เพิ่ม 400 บ

าท

สำหรั

บอาห

าร วั

นที่ 17

- 18

ต.ค

.

Sim

ult

ane

ou

s tr

ansl

atio

n f

rom

E

ng

lish

- T

hai

is p

rov

ide

d

หูฟงแ

ปลภา

ษาอัง

กฤษ

- ไทย

Sim

ult

ane

ou

s tr

ansl

atio

n f

rom

E

ng

lish

- T

hai

is p

rov

ide

dหูฟ

งแปล

ภาษา

อังกฤ

ษ - ไ

ทย

Re

gis

ter

and

co

mp

lete

pay

me

nt

by

31

Au

gu

st

1,5

00

Bah

t9

00

Bah

tR

eg

iste

r an

d c

om

ple

te p

aym

en

t A

fte

r 3

1 A

ug

ust

O

nly

on

e r

ate

30

0 B

aht

On

ly o

ne

rat

est

st