คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข...

68

Upload: others

Post on 03-Oct-2020

10 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2
Page 2: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

คํานํา

สํานักงานศาลยุติธรรมไดเล็งเห็นความสําคัญในการสรางสมดุลยภาพระหวางชีวิตและ

การทํางาน (Work-Life-Balance) จึงกําหนดไวในแผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม พ.ศ. 2561 – 2564

ยุทธศาสตร E : Excellence Organization เพ่ิมศักยภาพองคกรสูความเปนเลิศ โดยกําหนดตัวช้ีวัดให

ศาลยุติธรรมเปน Happy Workplace ภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อเปนการหาแนวทางการ

ปรับระบบเวลาการทํางานที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตโดยยังสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น

และแนวทางการสรางสํานักงานศาลยุติธรรมใหเปน Happy Workplace ที่เหมาะสมและสอดคลองกับ

ภารกิจและวัฒนธรรมของสํานักงานศาลยุติธรรม รายงานผลการศึกษาฉบับนี้ จึงเปนการสะทอนถึง

ระดับความสุขของบุคลากร ระดับสุขภาวะขององคกร และความตองการปรับระบบเวลาการทํางานเพ่ือ

สรางสมดุลยภาพระหวางชีวิตและการทํางาน เพื่อกาวเขาสูองคกรแหงความสุขในการทํางาน

(Happy Work Place)

ในการนี้ สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์หวังเปนอยางย่ิงวา รายงานผลการศึกษา

ฉบับนี้ จะเปนประโยชนแกผูสนใจและหนวยงานท่ีเกี่ยวของในการนําไปพัฒนาสํานักงานศาลยุติธรรม

สูองคกรแหงความสุขในการทํางานตอไป

สถาบนัวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศกัดิ ์

พฤศจิกายน 2562

Page 3: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

แผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม พ.ศ. 2561 – 2564 ยุทธศาสตร E : Excellence Organization

เพ่ิมศักยภาพองคกรสูความเปนเลิศ ตัวชี้วัดที่ 8 ศาลยุติธรรมเปน Happy Workplace ภายใน

ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 แนวทางการดําเนินงานที่ 10 จัดทําแผนสรางสมดุลภาพระหวางชีวิตและ

การทํางาน (Work-Life-Balance) ประกอบกับผลการศึกษาคุณภาพชีวิตของบุคลากรดานธุรการ

สํานักงานศาลยุติธรรม พ.ศ.2562 ของสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ สํานักงานศาลยุติธรรม

พบวา คุณภาพชีวิตมีความสัมพันธกับจังหวัดที่ตั้งของหนวยงาน โดยบุคลากรดานธุรการสวนใหญไมมี

ความพอใจเลยกับการเดินทางไปไหนมาไหน (หมายถึง การคมนาคม) สวนใหญมีสถานที่ทํางานตั้งอยูใน

กรุงเทพมหานคร รอยละ 66.70 ตางจังหวัด รอยละ 30.30 และปริมณฑล รอยละ 3.00 และมี

ขอเสนอแนะใหผูบริหารพิจารณาจัดเหล่ือมเวลาในการทํางานเพ่ือหลีกเล่ียงการจราจรติดขัดในชั่วโมง

เรงดวน สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนาศักดิ์จึงดําเนินศึกษาวิจัย เรื่อง การสรางองคกรแหงความสุขใน

การทํางาน (Happy Work Place) โดยการสรางสมดุลยภาพระหวางชีวิตและการทํางาน (Work Life

Balance) ดวยการปรับระบบเวลาการทํางาน (Flexible Work Time) เพ่ือหาแนวทางการปรับระบบ

เวลาการทํางานที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตโดยยังสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น และ

แนวทางการสรางสํานักงานศาลยุติธรรมใหเปน Happy Workplace ที่เหมาะสมและสอดคลองกับ

ภารกิจและวัฒนธรรมขององคกรตอไป

วัตถุประสงค

1. เพ่ือศึกษาระดับความสุขของบุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรม

2. เพ่ือศึกษาระดับการเปนองคกรแหงความสุข (Happy Work Place) ของสํานักงาน

ศาลยุติธรรม

3. เพื่อศึกษาขอมูลการปรับระบบการทํางาน (Flexible Work Time) ของสํานักงาน

ศาลยุติธรรม

วิธีดาํเนินการศึกษาวิจัย

ดําเนินการเก็บรวบรวมความคิดเห็นจากแบบสอบถามออนไลน ผานระบบ QR Code

จากบุคลากรในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมสวนกลาง จํานวน 27 หนวยงาน และหนวยงานอื่นท่ีสนใจ

ทั้งหนวยงานไมสังกัดภาคและหนวยงานสังกัดภาค ระหวางวันที่ 9 – 13 สิงหาคม 2562

ขอจํากดัของการศึกษาวิจัย

1. ระยะเวลาในการจัดเก็บขอมูล ระหวางวันท่ี 9 – 13 สิงหาคม 2562

2. มีผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 594 คน

Page 4: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

ข ผลการศึกษา มีดังน้ี

1. ขอมูลท่ัวไป

สอบถามความคิดเห็น การสรางองคกรแหงความสุขในการทํางาน (Happy Work Place)

โดยการสรางสมดุลยภาพระหวางชีวิตและการทํางาน (Work Life Balance) ดวยการปรับระบบเวลา

การทํางาน (Flexible Work Time) ของสํานักงานศาลยุติธรรม มีผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด จํานวน

594 คน แบงเปนขาราชการศาลยุติธรรม จํานวน 484 คน คิดเปนรอยละ 81.48 ลูกจางประจํา จํานวน

1 คน คิดเปนรอยละ 0.17 พนักงานราชการ จํานวน 67 คน คิดเปนรอยละ 11.28 เปนลูกจางชั่วคราว

จํานวน 32 คน คิดเปนรอยละ 5.39 และเปนพนักงานจางเหมา จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 1.68

2. ระดับความสุขของบุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรม

ไดพัฒนาและปรับปรุงขอคําถามจากดัชนีการวัดความสุขดวยตนเอง (Happinometer)

ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ใหเหมาะสมกับบุคลากรของสํานักงานศาล

ยุติธรรม โดยคะแนนเฉล่ียระดับความสุขของบุคลากรสํานักงานศาลยุติธรรมในภาพรวม มีคะแนนเฉล่ีย

อยูในระดับ 59.20 หรือระดับมีความสุข ซึ่งแบงเปน 8 มิติ ดังตอไปนี้

มิติท่ี 1 สุขภาพกายดี (Happy Body) หมายถึง การที่บุคคลมีสุขภาพ รางกาย

แข็งแรง สมสวน มีพฤติกรรมการบริโภคที่ปลอดภัย มีความพึงพอใจสภาวะสุขภาพกายของตนเอง

มีคะแนนเฉล่ียอยูในระดับ 33.50 หรือระดับไมมีความสุข

มิติท่ี 2 ผอนคลายดี (Happy Relax) หมายถึง การที่บุคคลสามารถบริหารเวลา

ในแตละวันเพ่ือการพักผอนไดอยางมีคุณภาพ พอใจกับการบริหารจัดการปญหาของตนเอง และทําชีวิต

ใหงาย มีคะแนนเฉล่ียอยูในระดับ 57.79 หรือระดับมีความสุข

มิติท่ี 3 น้ําใจดี (Happy Heart) หมายถึง การใหความชวยเหลือ สรางประโยชนและ

มีเมตตากับคนรอบขาง มีคะแนนเฉล่ียอยูในระดับ 66.88 หรือระดับมีความสุข

มิติท่ี 4 จิตวิญญาณดี (Happy Soul) หมายถึง มีการดําเนินกิจกรรมที่ตระหนักถึง

คุณธรรม ศีลธรรม และความกตัญู มีคะแนนเฉล่ียอยูในระดับ 51.52 หรือระดับมีความสุข

มิติท่ี 5 ครอบครัวดี (Happy Family) หมายถึง การที่บุคคลมีความรูสึกผูกพัน เชื่อใจ

มั่นใจ และอุนใจกับบุคคลในครอบครัวของตนเอง มีคะแนนเฉล่ียอยูในระดับ 72.73 หรือระดับ

มีความสุข

มิติท่ี 6 สังคมดี (Happy Society) หมายถึง การท่ีบุคคลมีความสัมพันธท่ีดีตอผูอื่น

ไมทําใหผูอื่นเดือดรอน ไมเอาเปรียบผูคนรอบขาง ไมทําใหสังคมเส่ือมถอย มีคะแนนเฉล่ียอยูในระดับ

54.67 หรือระดับมีความสุข

มิติท่ี 7 ใฝรูดี (Happy Brain) หมายถึง การที่บุคคลมีความตื่นตัว กระตือรือรน

ในการเรียนรูส่ิงใหมๆ เพ่ือปรับตัวใหเทาทันและตั้งรับการเปล่ียนแปลงไดตลอดเวลา และพอใจที่จะ

แสดงความทันสมัยอยูเสมอ มีคะแนนเฉล่ียอยูในระดับ 67.76 หรือระดับมีความสุข

Page 5: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

มิติท่ี 8 การงานดี (Happy Work Life) หมายถึง การที่บุคคลมีความสบายใจ

ในที่ทํางาน มีความรัก ความผูกพัน และความภาคภูมิใจในองคกร มีความมั่นใจในอาชีพรายได และมี

ความพึงพอใจกับความกาวหนาของตนเองในองคกร มีคะแนนเฉล่ียอยูในระดับ 62.72 หรือระดับ

มีความสุข

โดยสามารถสรุปไดดังตารางนี้

ตารางระดบัความสุขของบุคลากรในภาพรวม

มิติความสุข คะแนนเฉล่ีย ความหมาย

มิติท่ี 1 สุขภาพกายด ี 33.50

Unhappy : ไมมคีวามสุข

มิติท่ี 2 ผอนคลายด ี 57.79

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 3 น้าํใจด ี 66.88

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 4 จิตวญิญาณด ี 51.52

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 5 ครอบครัวด ี 72.73

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 6 สังคมด ี 54.67

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 7 ใฝรูด ี 67.76

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 8 การงานด ี 62.72

Happy : มีความสุข

ระดับความสุขโดยรวมของบุคลากรทุกมิติ 59.20

Happy : มีความสขุ

3. ระดับการเปนองคกรแหงความสุขของสํานักงานศาลยุติธรรม

ไดพัฒนาและปรับปรุงขอคําถามจากดัชนีการวัดความสุขระดับองคกร (Happy

Workplace Index) ทั้ง 5 มิติ ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)

ใหเหมาะสมกับสํานกังานศาลยุติธรรม ซึ่งเปนวิธีการหนึ่งท่ีจะชวยสรางใหเกิดความเขาใจรวมกันระหวาง

ผูบริหารและบุคลากรในองคกรดวยกันเอง โดยภาพรวมสํานักงานศาลยุติธรรมเปนองคกรแหงความสุข

มีคาคะแนนอยูในระดับ 55.60 หรือระดับยังไมมีอะไรแนนอน สะทอนใหเห็นวา สํานักงานศาลยุติธรรม

ยังไมมีปจจัยการสรางสุขในองคกร ซึ่งสรุปเปนรายมิติไดดังนี้

มิติท่ี 1 สุขดวยการจัดการ (Management) วัดจากระบบบริหารผลตอบแทนที่

เหมาะสม นโยบายการคุมครองบุคลากร ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ระบบการจัดสวัสดิการ ระบบ

การใหรางวัลยกยองบุคลากร และระบบและกลไกในการพัฒนาความกาวหนาในอาชีพตามศักยภาพ

มีคาคะแนนอยูในระดับ 84.00 หรือระดับนาอิจฉาท่ีสุด

มิติท่ี 2 สุขดวยบรรยากาศและสภาพแวดลอมในที่ทํางาน (Atmosphere & Environment)

วัดจากภาวะผูนําองคกร ผูบริหารเปนตนแบบการสรางสุขในองคกร บรรยากาศในที่ทํางานสงเสริม

ความสุขของบุคลากร การสรางเสริมใหเกิดสภาพแวดลอมการทํางานท่ีดี การสรางเสริมความปลอดภัย

Page 6: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

ง ในการทํางาน การสรางเสริมคุณธรรมจริยธรรมในองคกร องคกรดูแลความสุขของครอบครัว การรวม

พัฒนาชุมชน สังคม และการดูแลรักษาส่ิงแวดลอม และการชวยเหลือบุคลากรที่ทุพพลภาพ/พิการ

ใหกลับสูการทํางาน มีคาคะแนนอยูในระดับ 57.95 หรือระดับกําลังกาวหนา

มิติที่ 3 สุขดวยกระบวนการสรางสุข (Process) วัดจากคณะทํางาน/ผูรับผิดชอบ

การกํากับดูแลนโยบายองคกรสรางสุข การสรางชองทางการส่ือสารเรื่องการสรางสุขในองคกร

การเรียนรูเรื่องการสรางสุขในองคกร การสนับสนุนทรัพยากรจากองคกร องคกรความสําคัญเรื่องสุข

ภาวะเปนทุนแบบหนึ่ง การมีสวนรวมในกิจกรรมสรางสุข และคุณภาพของกระบวนการประเมินองคกร

สรางสุข มีคาคะแนนอยูในระดับ 39.39 หรือระดับตองรีบแกไข

มิติท่ี 4 สุขดวยสุขภาพกายและใจ (Health) วัดจากพฤติกรรมเส่ียงดานสุขภาพของ

บุคลากรกิจกรรมสงเสริมการมีสวนรวมและสรางความสัมพันธอันดีในครอบครัว การเกิดอุบัติเหตุ/

เจ็บปวย/เสียชีวิตเนื่องจากการทํางานในสถานท่ีทํางาน รอยละของวันลาที่มีสาเหตุจากอุบัติเหตุ

อันเนื่องจากการทํางาน การออกกําลังกาย รอยละของคาดัชนีมวลกาย (BMI) อยูในระดับปกติ ระดับ

ความสุขของบุคลากร ระดับความพึงพอใจในการทํางาน ระดับความเครียดของบุคลากร และระดับ

ความรูสึกเปนเจาของรวมของบุคลากรในองคกร มีคาคะแนนอยูในระดบั 45.04 หรือระดับตองรีบแกไข

มิติท่ี 5 สุขดวยผลลัพธ (Result) วัดจากความผูกพันในองคกร มีคาคะแนนอยูในระดับ

83.04 หรือระดับนาอิจฉาที่สุด

โดยสามารถสรุปไดดังตารางนี้

ตารางคาดัชนีสุขภาวะองคกรในภาพรวม

สุขภาวะระดับองคกร คาคะแนน ผลการตรวจสอบปจจัยการสรางสุข

มิติท่ี 1 สุขดวยการการจัดการ (Management) 84.00 องคกรนีน้าอิจฉาที่สุด

มิติท่ี 2 สุขดวยบรรยากาศและสภาพแวดลอมในที่ทํางาน

(Atmosphere & Environment) 57.95 องคกรนี้กาํลังกาวหนา

มิติที่ 3 สุขดวยกระบวนการสรางสุข (Process) 39.39 องคกรนีต้องรีบแกไข

มิติท่ี 4 สุขดวยสุขภาพกายและใจ (Health) 45.04 องคกรนีต้องรีบแกไข

มิติท่ี 5 สุขดวยผลลัพธองคกร (Result) 83.04 องคกรนีน้าอิจฉาที่สุด

ระดบัสุขภาวะองคกรในภาพรวม 55.60 องคกรนี้ยังไมมอีะไรแนนอน

Page 7: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

จ 4. ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับระบบเวลาการทํางาน (Flexible Work Time)

สรุปความคิดเห็นไดดังตอไปนี้

4.1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับระบบเวลาการทํางาน (Flexible Work Time)

(1) เห็นดวย รอยละ 81.14

(2) ไมเห็นดวย รอยละ 18.86

4.2 ชวงเวลาทํางานที่ทําใหมีความสุขในการทํางานเพ่ิมมากขึ้น

(1) ชวงเวลา 09.30 – 17.30 น. รอยละ 44.97

(2) ชวงเวลา 07.30 – 15.30 น. รอยละ 44.45

(3) กําหนดเวลาการทํางานครบ 8 ชั่วโมง/วัน รอยละ 6.08

(4) กําหนดเวลาการทํางานนอยกวา 8 ชั่วโมง/วัน รอยละ 3.70

(5) ไมกําหนดชวงเวลาการทํางาน เนนปริมาณงาน รอยละ 0.53

(6) กําหนดเวลาการทํางานมากกวา 8 ชั่วโมง/วัน รอยละ 0.27

แผนภูมิที ่1 ความคดิเหน็ในการปรบัระบบเวลาการทํางาน

แผนภูมิที ่2 ชวงเวลาทาํงานท่ีทําใหมคีวามสุขในการทาํงานเพ่ิมมากขึ้น

Page 8: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

4.3 ระดับความเชื่อมั่นในชวงเวลาท่ีเลือกสามารถทําใหมีความสุขในการทํางานตามที่

คาดหวัง

(1) ระดับมากที่สุด รอยละ 41.08

(2) ระดับมาก รอยละ 44.95

(3) ระดับปานกลาง รอยละ 12.79

(4) ระดับนอย รอยละ 0.67

(5) ระดับนอยที่สุด รอยละ 0.51

5. ขอเสนอแนะ

ดานการบริหารจัดการ

(1) ควรใหมีการส่ือสารแบบสองทางทั้งผูปฏิบัติงานและผูบริหาร เพ่ือใหเกิดการมี

สวนรวมในการปฏิบัติงานองคกร

(2) ผูบริหารระดับตน เชน ผูอํานวยการ หัวหนาสวน ควรมีการถายทอดนโยบายให

ผูปฏิบัติงานทราบ

(3) ควรมีสนับสนุน พัฒนา และประเมินผลการนําดิจิทัลมาใชในการปฏิบัติงาน เพ่ือ

ปรับปรุงการทํางานใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

(4) ควรพิจารณาปรับปรุงระเบียบการปฏิบัติราชการ ใหสอดคลองกับการทํางานยุค

ดิจิทัล เพ่ือการทํางานที่มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น

(5) ความขัดแยงในงานระหวางผูพิพากษาหัวหนาศาลกับผูอํานวยการ สงผลกระทบตอ

ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

ระดับนอยท่ีสุด

ระดับนอย

ระดับปานกลาง

ระดับมาก

ระดับมากท่ีสุด

0.51 %

0.67 %

12.79 %

44.95 %

41.08 %

แผนภูมิที ่3 ระดับความเชือ่มั่นในชวงเวลาท่ีเลือกสามารถทําใหมีความสุข

ในการทํางานตามที่คาดหวัง

Page 9: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

(6) ควรใหความสําคัญกับสมาชิกทุกระดับในองคกร ไดแก ผูพิพากษา และเจาหนาที่

ธุรการมีความเทาเทียมกัน

(7) การติดตามผลการทํางานที่ใกลชิดเกินไปของผูบังคับบัญชา สงผลตอความภูมิใจ

และความเชื่อมั่นในตนเองของผูปฏิบัติงาน กระทบตอความสุขในการทํางาน

(8) ควรใหบุคลากรมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและแนวทางการบริหารงานหรือ

การดําเนินงานขององคกร

(9) นโยบายและขอส่ังการจากสวนกลางสงผลกระทบตอความเครียดและเพ่ิมภาระตอ

การปฏิบัติงานของสวนภูมิภาค

ดานการปรับระบบเวลาทํางาน

(1) ควรมีการปรับเวลาปฏิบัติราชการใหมีความยืดหยุน และเปดโอกาสใหผูปฏิบัติงาน

สามารถเลือกเวลาเขา – ออกท่ีเหมาะสมกับตนเองได

(2) ควรพิจารณาทบทวนระบบการสแกนลายนิ้วมือ เพ่ือลดความกดดันอันสงผล

กระทบตอความสุขในการปฏิบัติงาน

(3) ควรกําหนดใหมีโครงการนํารองเพ่ือทดลองและคนหาวางานประเภทใดสามารถ

ปฏิบัติไดโดยไมตองมาประจําที่สํานักงาน

ดานกระบวนการสรางสขุในองคกร

(1) ผูบริหารควรเปนตนแบบและใหความสําคัญกับกระบวนการสรางสุขในองคกร

(2) ควรสงเสริมและสนับสนุนใหมีกระบวนการสรางความสุขในการทํางานเปนประจํา

และตอเนื่อง

(3) ควรสงเสริมและสนับสนุนใหมีกิจกรรม เพ่ือลดความเครียดและความกดดันภายใน

องคกร

(4) ควรใหบุคลากรมีสวนรวมในการกําหนดแนวทางการสรางสุขในการทํางาน

(5) ควรจัดกิจกรรมออกกําลังกายระหวางเวลาทํางาน 10 – 15 นาที

ดานภาระงาน

(1) ปริมาณงานที่มากเกินไปสงผลใหตองทํางานเกินเวลา

(2) ควรพิจารณาทบทวนหลักเกณฑการกําหนดชั่วโมง IDP ใหเหมาะสมสอดคลองกับ

ภาระงานในแตละหนวยงานท่ีแตกตางกัน เชน สวนกลาง และศาล

(3) การกําหนดระยะเวลาในการพิมพคําพิพากษาภายใน 7 วัน ไมสอดคลองกับการ

ปฏิบัติงานและกระบวนการหรือขั้นตอนที่เกิดขึ้นจริง

(4) ควรลดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ไมจําเปน

Page 10: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

ดานความกาวหนาในอาชพี (การบรรจุแตงตั้ง เล่ือนระดับ และโยกยาย)

(1) ควรทบทวนหลักเกณฑการเล่ือนระดับของขาราชการ เพ่ือเปนขวัญและกําลังใจ

มากขึ้น

(2) ควรพิจารณาทบทวนหลักเกณฑการบรรจุและแตงตั้งขาราชการในระดับหัวหนา

งานขึ้นไป โดยคํานึงถึงประสบการณและความเชี่ยวชาญที่เหมาะสมที่จะแตงตั้ง

(3) การพิจารณาโยกยายควรคํานึงถึงประเด็นของความสัมพันธและความสมบูรณของ

ครอบครัวมาประกอบการพิจารณาโยกยายดวยเพ่ือเปนขวัญและกําลังใจในการทํางาน

(4) ควรจัดใหมีพ่ีเล้ียงใหคําแนะนําและสอนงาน หรือใหคําปรึกษาแกผูปฏิบัติงาน กรณี

ที่มีการโยกยาย หรือบรรจุเขารับตําแหนงใหม

(5) การประเมินผลการปฏิบัติงาน ควรพิจารณาถึงผลการปฏิบัติงานเปนหลักมากกวา

ความสนิทสนมสวนตัว

(6) ควรพิจารณาหลักเกณฑการสอบคัดเลือกเพ่ือฝกอบรมหรือศึกษาดูงาน

ดานสวสัดิการ

(1) ควรพิจารณาคาตอบแทนพิเศษเพ่ิมขึ้น เพ่ือใหเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจใน

ปจจุบัน

(2) ควรพิจารณาทบทวนการอนุมัติใหเบิกเงินคาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา

ราชการในกรณีมีภาระงานมากและจําเปนตองทํางานลวงเวลา

(3) ควรกําหนดหลักเกณฑใหขาราชการสามารถพักอาศัยในบานพักขาราชการตลอด

อายุราชการโดยไมกําหนดระยะเวลา

(4) ควรจัดบานพักขาราชการใหเพียงพอตอจํานวนของบุคลากร

(5) ควรปรับลดคาสวนกลางของบานพักขาราชการ

(6) ควรจัดรถสวัสดิการรับ-สงในเสนทางอื่น นอกเหนือจากปจจุบัน

(7) ควรมีการจัดสาธารณูปโภคเบื้องตน เชน น้ําดื่มสะอาดไวอยางครบถวนและ

เพียงพอ

(8) ควรพิจารณาทบทวนหลักเกณฑการจายเงินคาตอบแทนของลูกจางเหมาบริการให

มีความเหมาะสม และการหักเงินรายได และคาปรับในการลา

ดานสภาพแวดลอมในการทํางาน

(1) ควรปรับปรุงสภาพแวดลอมภายในหองทํางาน เชน หองเก็บสํานวน สงผลกระทบ

ตอสุขภาพของผูปฏิบัติงาน

(2) ควรมีการปรับปรุงซอมแซมอาคาร หองทํางาน ใหมีสภาพที่สมบูรณเหมาะสมอยู

เสมอ

(3) ควรจัดใหมีสถานที่จอดรถอยางเพียงพอตอเจาหนาที่และผูรับบริการ

Page 11: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

สารบัญ

บทสรุปสําหรบัผูบรหิาร ........................................................................................................................... ก

สารบัญ .................................................................................................................................................... ฌ

0สารบญัตาราง0 ......................................................................................................................................... ญ

0สารบญัแผนภูม0ิ ........................................................................................................................................ ฎ

0บทนํา0 ....................................................................................................................................................... 1

01. หลักการและเหตุผล0 ........................................................................................................................ 1

02. วตัถุประสงค0 .................................................................................................................................... 2

03. ประโยชนที่คาดวาจะไดรบั0 .............................................................................................................. 2

04. วิธดีําเนนิการศึกษาวิจัย0 ................................................................................................................... 2

05. ขอจํากัดของการศกึษาวจัิย0 ............................................................................................................. 2

0รายงานผลการศึกษาวิจัย0 ......................................................................................................................... 3

0สวนที ่1 ขอมูลทัว่ไป0 .......................................................................................................................... 3

0สวนที ่2 การประเมินระดบัความสุขของบุคลากรในสํานักงานศาลยุตธิรรม0....................................... 7

0ระดับความสุขในภาพรวมของบุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรม0 .................................................... 8

0มิติท่ี 1 สุขภาพดี (Happy Body)0 .................................................................................................. 8

0มิติท่ี 2 ผอนคลายดี (Happy Relax)0 ........................................................................................... 13

0มิติท่ี 3 น้ําใจด ี(Happy Heart)0 ................................................................................................... 15

0มิติที ่4 จิตวญิญาณด ี(Happy Soul)0 ........................................................................................... 16

0มิติท่ี 5 ครอบครวัด ี(Happy Family)0 ......................................................................................... 17

0มิติท่ี 6 สังคมดี (Happy Society)0 ............................................................................................... 18

0มิติท่ี 7 ใฝรูดี (Happy Brain)0 ....................................................................................................... 20

0มิติท่ี 8 การงานดี (Happy Work Life)0........................................................................................ 21

0สวนที ่3 การประเมินระดบัการเปนองคกรแหงความสุขของสํานักงานศาลยุติธรรม0 ........................ 26

0สุขภาวะองคกรของสํานักงานศาลยุติธรรมในภาพรวม0 .................................................................. 27

0มิติท่ี 1 สุขดวยการจัดการ (Management)0 .................................................................................. 28

0มิติท่ี 2 สุขดวยบรรยากาศและสภาพแวดลอมในที่ทํางาน (Atmosphere & Environment) 0 ...... 32

0มิติท่ี 3 สุขดวยกระบวนการสรางสุข (Process)0 ............................................................................ 37

0มิติท่ี 4 สุขดวยสุขภาพกายและใจ (Health)0 ................................................................................. 41

0มิติท่ี 5 สุขดวยผลลัพธองคกร (Result)0 ......................................................................................... 46

0สวนที ่4 ความคดิเหน็เกี่ยวกับการปรบัชวงเวลาทํางาน0 ................................................................... 48

0ขอเสนอแนะจากการศึกษาวิจัย0 ......................................................................................................... 50

0บรรณานุกรม0 ......................................................................................................................................... 54

Page 12: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

สารบัญตาราง

ตารางที่ 1 ขอมูลทั่วไป0 ........................................................................................................................... 3

ตารางท่ี 2 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขของบุคลากรในภาพรวม0 ........................................................ 8

ตารางท่ี 3 ขอมูลดานรางกาย0 ................................................................................................................. 8

ตารางที่ 4 คาดัชนีมวลกาย (Body mass index : BMI) ....................................................................... 9

ตารางที่ 5 ภาวะเสียงตอโรค0 ................................................................................................................ 10

ตารางที่ 6 ขอมูลดานสุขภาพ0 ............................................................................................................... 11

ตารางท่ี 7 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบคุลากรในองคกร มติิท่ี 1 สุขภาพดี0 ..................... 12

ตารางที่ 8 ขอมูลดานการผอนคลาย0 .................................................................................................... 13

ตารางท่ี 9 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบคุลากรในองคกร มติิท่ี 2 ผอนคลายดี0 ................ 14

ตารางที่ 10 ขอมูลดานการใชความชวยเหลือแกคนรอบขาง0 ................................................................ 15

ตารางที่ 11 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 3 น้ําใจดี 0 ...................... 15

ตารางที่ 12 ขอมูลการปฏิบัติกิจตามศาสนา0 ......................................................................................... 16

ตารางท่ี 13 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 4 จิตวิญญาณดี0 ............ 16

ตารางที่ 14 ขอมูลความสุขกับครอบครัว0 ............................................................................................. 17

ตารางท่ี 15 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 5 ครอบครวัดี0 ............... 17

ตารางที่ 16 ขอมูลดานสังคม0 ................................................................................................................ 18

ตารางที่ 17 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 6 สังคมดี0...................... 19

ตารางที่ 18 ขอมูลการแสวงหาความรู0 .................................................................................................. 20

ตารางท่ี 19 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 7 ใฝรูดี0 ......................... 20

ตารางที่ 20 ขอมูลดานการงาน0 ............................................................................................................ 21

ตารางท่ี 21 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 8 การงานดี0 .................. 25

ตารางที่ 22 คาดัชนีสุขภาวะองคกรในภาพรวม0 ................................................................................... 27

ตารางท่ี 23 ระบบการจัดการ0 ............................................................................................................... 28

ตารางที่ 24 คาดัชนีสุขภาวะองคกร มิติท่ี 1 สุขดวยการจัดการ0 ......................................................... 31

ตารางท่ี 25 บรรยากาศและสภาพแวดลอม0 ......................................................................................... 32

ตารางที่ 26 คาดัชนีสุขภาวะองคกร มิติที ่2 สุขดวยบรรยากาศและสภาพแวดลอมในที่ทํางาน0 .......... 36

ตารางท่ี 27 กระบวนการสรางสุข0 ........................................................................................................ 37

ตารางที่ 28 คาดัชนีสุขภาวะองคกร มิติท่ี 3 สุขดวยกระบวนการสรางสุข0 ........................................... 40

ตารางท่ี 29 สุขภาพกายและใจ0 ............................................................................................................ 41

ตารางที่ 30 คาดัชนีสุขภาวะองคกร มิติท่ี 4 สุขดวยสุขภาพกายและใจ0 ............................................... 45

ตารางที่ 31 ผลลัพธองคกร0 ................................................................................................................... 46

ตารางที่ 32 คาดัชนีสุขภาวะองคกร มิติท่ี 5 สุขดวยผลลัพธองคกร0 ..................................................... 47

Page 13: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

สารบัญแผนภูม ิ

แผนภูมิที ่1 คาดชันีมวลกาย (BMI) ...................................................................................................... 10

แผนภูมิที ่2 ระยะทางระหวางที่พักอาศัยกับสถานที่ทํางาน0 ................................................................. 48

แผนภูมิที ่3 ระยะเวลาในการเดนิทางระหวางท่ีพักอาศยักับสถานที่ทํางาน0 ......................................... 48

แผนภูมิที ่4 พาหนะในการเดินทางมาสถานที่ทํางาน0 ........................................................................... 49

แผนภูมิที ่5 ความคดิเหน็ในการปรบัระบบเวลาการทํางาน0 ................................................................. 49

แผนภูมิที ่6 ชวงเวลาทาํงานที่ทําใหมคีวามสุขในการทาํงานเพ่ิมมากขึ้น0 .............................................. 50

แผนภูมิที ่7 ระดับความเชือ่มั่นในชวงเวลาท่ีเลือกสามารถทําใหมีความสุขในการทาํงาน

ตามที่คาดหวัง0................................................................................................................... 50

Page 14: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

1

การศึกษาวิจัย เร่ือง การสรางองคกรแหงความสุขในการทํางาน (Happy Work Place)

โดยการสรางสมดุลยภาพระหวางชีวิตและการทํางาน (Work Life Balance)

ดวยการปรับระบบเวลาการทํางาน (Flexible Work Time)

บทนํา

1. หลักการและเหตุผล

“คน” ถือเปนทรัพยสินท่ีสําคัญที่สุดในองคกร ผลสําเร็จขององคกรจะขึ้นอยูกับ

ประสิทธิภาพการทํางานของคน ดังนั้น องคกรมีความจําเปนตองหาแนวทางสนับสนุนให “คน” ทํางาน

ไดอยางมีประสิทธิภาพ และปจจัยหนึ่งท่ีสําคัญที่เปนแรงกระตุนให “คน” ทํางานอยางมีประสิทธิภาพ

คือ “ความสุขในการปฏิบัติงาน” ซึ่งเปนปจจัยที่จะทําใหบุคลากรในองคกรตองการทุมเททํางาน

ลดความเครียด รวมทั้งลดความขัดแยงภายในองคกรซึ่งจะสงผลตอการพัฒนาและประสบความสําเร็จ

ขององคกรอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และย่ังยืน1

จากความสําคัญของ “ความสุขในการปฏิบัติงาน” แผนยุทธศาสตรศาลยุติธรรม

พ.ศ.2561 – 2564 ยุทธศาสตร E : Excellence Organization เพ่ิมศักยภาพองคกรสูความเปนเลิศ

จึงมีการกําหนดให “ศาลยุติธรรมเปน Happy Workplace ภายในปงบประมาณ พ.ศ.2564” เปน

ตัวชี้วัดที่ 8 และแนวทางการดําเนินการท่ี 10 จัดทําแผนสรางสมดุลยภาพระหวางชีวิตและการทํางาน

(Work-Life-Balance) ประกอบผลการศึกษาคุณภาพชีวิตของบุคลากรดานธุรการสํานักงาน

ศาลยุติธรรม พ.ศ.2562 ของสถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ สํานักงานศาลยุติธรรม พบวา คุณภาพ

ชีวิตมีความสัมพันธกับจังหวัดที่ตัง้ของหนวยงาน โดยบุคลากรดานธุรการสวนใหญไมมีความพอใจเลยกับ

การเดินทางไปไหนมาไหน (หมายถึง การคมนาคม) สวนใหญมีสถานที่ทํางานตั้งอยูในกรุงเทพมหานคร

รอยละ 66.70 ตางจังหวัด รอยละ 30.30 และปริมณฑล รอยละ 3.00 และมีขอเสนอแนะใหผูบริหาร

พิจารณาจัดเหล่ือมเวลาในการทํางานเพ่ือหลีกเล่ียงการจราจรติดขัดในชั่วโมงเรงดวน

ดังนั้น เพ่ือใหศาลยุติธรรมเปน Happy Workplace ภายในระยะเวลาที่กําหนด และ

เพ่ือความสุขในการปฏิบัติงานตามแนวทางการสรางสมดุลภาพระหวางชีวิตและการทํางาน (Work-Life-

Balance) ใหเปนไปตามผลการศึกษาคุณภาพชีวิตของบุคลากรดานธุรการของสํานักงานศาลยุติธรรม

สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์จึงเห็นสมควรดําเนินโครงการวิจัย เรื่อง “การสรางองคกรแหง

ความสุขในการทํางาน (Happy Work Place) โดยการสรางสมดุลยภาพระหวางชีวิตและการทํางาน

(Work Life Balance) ดวยการปรับระบบเวลาการทํางาน (Flexible Work Time)” เพื่อหาแนวทาง

การปรับระบบเวลาการทํางานที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตโดยยังสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

เพิ่มขึ ้น โดยเปดโอกาสใหขาราชการศาลยุติธรรม พนักงานราชการศาลยุติธรรม ลูกจางประจํา

และลูกจาง...

1 ภัทรดนัย ฉลองบุญ. (2561). ความสุขในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐ.

Page 15: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

2

และลูกจางชั่วคราวทุกคน ในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมเขามามีสวนรวมในการสรางองคกรและแสดง

ความคิดเห็นและใหขอมูลเกี่ยวกับความสุขในท่ีทํางาน รวมสรางศาลยุติธรรมใหเปนองคกรแหงความสุข

ในการทํางานและการปรับเวลาการทํางาน เพ่ือกําหนดเปนแนวทางการสรางสํานักงานศาลยุติธรรม

ใหเปน Happy Workplace ที่เหมาะสมและสอดคลองกับภารกิจและวัฒนธรรมขององคกร

2. วัตถุประสงค

(1) เพ่ือศึกษาระดับความสุขของบุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรม

(2) เพ่ือศึกษาระดับการเปนองคกรแหงความสุข (Happy Work Place) ของสํานักงาน

ศาลยุติธรรม

(3) เพ่ือศึกษาขอมูลการปรับระบบการทํางาน (Flexible Work Time) ของสํานักงาน

ศาลยุติธรรม

3. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

(1) บุคลากรในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมมีความสุขในการทํางานเพ่ิมมากขึ้น

(2) ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมมีประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลอยางแทจริง

(3) มีขอมูลในการจัดทําแผนสรางสมดลุยภาพระหวางชีวิตและการทํางาน (Work-Life-

Balance) ของสํานักงานศาลยุติธรรม

4. วิธีดาํเนินการศึกษาวิจัย

ดําเนินการเก็บรวบรวมความคิดเห็นจากแบบสอบถามออนไลน ผานระบบ QR Code

จากบุคลากรในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมสวนกลาง จํานวน 27 หนวยงาน และหนวยงานอื่นท่ีสนใจ

ทั้งหนวยงานไมสังกัดภาคและหนวยงานสังกัดภาค ระหวางวันที่ 9 – 13 สิงหาคม 2562

5. ขอจํากดัของการศึกษาวิจัย

(1) ระยะเวลาในการจัดเก็บขอมูล ระหวางวันที่ 9 – 13 สิงหาคม 2562

(2) มีผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 594 คน

Page 16: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

3

รายงานผลการศึกษาวิจัย

สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลโดยวิธีออก

แบบสอบถามสํารวจความคิดเห็นตามกรอบแนวทางที่สรางขึ้นจากแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของเพ่ือ

ศึกษาขอมูลตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว โดยขอคําถามที่ไดนํามาใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดพัฒนา

และปรับปรุงขอคําถามของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) จากคูมือการวัด

ความสุขดวยตนเอง (Happinometer) เพ่ือวัดความสุขระดับบุคคล คูมือตรวจสอบสุขภาวะระดับองคกร

(Happy Workplace Index) เพ่ือวัดระดับสุขภาวะในองคกร และการสํารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการ

ปรับระบบเวลาการทํางาน ซึ่งในแตละสวนประกอบดวยจํานวนขอคําถามและผลการวิจัยตาม

วัตถุประสงคของแตละขอ โดยไดจําแนกการนําเสนอผลการศึกษาวิจัยออกเปน 4 สวน ดังนี้

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป

สวนที่ 2 การประเมินระดับความสุขของบุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรม

สวนที่ 3 การประเมินระดับการเปนองคกรแหงความสุขของสํานักงานศาลยุติธรรม

สวนที่ 4 การแสดงความคิดเห็นเพ่ือเปนแนวทางการปรับชวงเวลาการทํางาน

ในการศึกษาครั้งนี้ ไดขอความรวมมือหนวยงานในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรมสวนกลาง

จํานวน 27 หนวยงาน และหนวยงานอื่นที่สนใจทั้งหนวยงานไมสังกัดภาคและหนวยงานสังกัดภาค

มีผูแสดงความคิดเห็นทั้งหมด 594 คน ดังนี้

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป

มีขอคําถามเกี่ยวกบัขอมูลท่ัวไป อาทิ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส จํานวนบุตร

ประเภทบุคลากรในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม ตําแหนง หนวยงานปจจุบัน และระยะเวลาการทํางาน

ในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม

ตารางที่ 1 ขอมูลทั่วไป

จํานวน (คน) รอยละ

เพศ

- ชาย 150 25.25

- หญิง 444 74.75

อายุ

- นอยกวา 25 ป 7 1.18

- อายุ 25 – 35 ป 173 29.13

- อายุ 36 – 45 ป 252 42.42

- อายุ 46 – 60 ป 161 27.10

- มากกวา 60 ปขึ้นไป 1 0.17

Page 17: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

4

ตารางที่ 1 (ตอ) จํานวน (คน) รอยละ

การศึกษา

- ต่ํากวาปริญญาตรี 30 5.05

- ปริญญาตรี 337 56.73

- ปริญญาโท 219 36.87

- สูงกวาปริญญาโท 8 1.35

สถานภาพสมรส

- โสด 272 45.79

- สมรส 260 43.77

- แยกกันอยู 5 0.84

- หยาราง 45 7.58

- หมาย 12 2.02

จํานวนบุตร

- ไมมีบุตร 344 57.91

- มีบุตร 1 คน 122 20.54

- มีบุตร 2 คน 100 16.83

- มีบุตร 3 คน 18 3.03

- มีบุตร 4 คน 7 1.18

- มีบุตร 5 คน 1 0.17

- มีบุตร 6 คน 2 0.34

ประเภทบุคลากรในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม

- ขาราชการศาลยุติธรรม 484 81.48

- ลูกจางประจํา 1 0.17

- พนักงานราชการ 67 11.28

- ลูกจางชั่วคราว 32 5.39

- พนักงานจางเหมาบริการ 10 1.68

ตําแหนง

- คนสวน 1 0.17

- เจาพนักงานการเงินและบญัชี 8 1.35

- เจาพนักงานคด ี 8 1.35

- เจาพนักงานตํารวจศาล 2 0.34

- เจาพนักงานธุรการ 36 6.06

- เจาพนักงานศาลยุตธิรรม 103 17.34

Page 18: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

5

ตารางที่ 1 (ตอ) จํานวน (คน) รอยละ

ตําแหนง (ตอ)

- เจาหนาที่ธรุการ 8 1.35

- เจาหนาที่ศาลยุติธรรม 75 12.63

- นักจัดการงานทั่วไป 42 7.07

- นักจิตวิทยา 11 1.85

- นักทรัพยากรบุคคล 24 4.04

- นักประชาสัมพันธ 3 0.50

- นักวเิคราะหนโยบายและแผน 59 9.93

- นักวิจัยสังคมศาสตร 1 0.17

- นักวชิาการคอมพิวเตอร 13 2.19

- นักวชิาการเงนิและบญัช ี 26 4.38

- นักวชิาการพัสด ุ 9 1.51

- นักวิทยาศาสตรการแพทย 1 0.17

- นักวเิทศสัมพันธ 1 0.17

- นักสังคมสงเคราะห 6 1.01

- นิติกร 92 15.49

- บรรณารักษ 13 2.19

- ผูชวยนักบําบดั 1 0.17

- ผูอํานวยการ 37 6.23

- พนักงานขับรถยนต 3 0.50

- พนักงานคอมพิวเตอร 3 0.50

- พนักงานสถานที ่ 3 0.50

- มัณฑนากร 1 0.17

- อื่นๆ

(ผูพิพากษา 1 คน, ไมระบุ 3 คน)

4 0.67

หนวยงานปจจุบัน

- หนวยงานสวนกลาง 298 50.17

- หนวยงานไมสังกดัภาค 80 13.47

- หนวยงานสังกดัภาค 216 36.36

Page 19: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

6

ตารางที่ 1 (ตอ) จํานวน (คน) รอยละ

ระยะเวลาการทํางานในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม

- นอยกวา 1 ป 45 7.57

- 1 – 5 ป 143 24.07

- 6 – 10 ป 104 17.51

- 11 – 15 ป 110 18.52

- 16 – 20 ป 74 12.46

- 21 – 25 ป 51 8.59

- มากกวา 25 ป 67 11.28

จากตารางที่ 1 พบวา ผูตอบแบบสอบถามเปนเพศชายรอยละ 25.25 และเปนเพศหญิง

รอยละ 74.75 ผูตอบแบบสอบมีอายุ 36 - 45 ป รอยละ 42.42 อายุ 25 – 35 ป รอยละ 29.13 อายุ

46 – 60 ป รอยละ 27.10 อายุนอยกวา 25 ป รอยละ 1.18 และอายุมากกวา 60 ปขึ้นไป รอยละ

0.17 ตามลําดับ

ดานการศึกษา ผูตอบแบบสอบถามจบศึกษาระดับปริญญาตรี รอยละ 56.73 ระดับ

ปริญญาโท รอยละ 36.87 ต่ํากวาระดับปริญญาตรี รอยละ 5.05 และสูงกวาระดับปริญญาโท รอยละ

1.35 ตามลําดับ

สถานภาพสมรส ผูตอบแบบสอบถามมีสถานะโสด รอยละ 45.79 สมรส รอยละ 43.77

หยาราง 7.58 หมาย 2.02 และแยกกันอยู 0.84 ตามลําดับ

จํานวนบุตร ผูตอบแบบสอบถามไมมีบุตร รอยละ 57.91 มีบุตร 1 คน รอยละ 20.54

มีบุตร 2 คน รอยละ 16.83 มีบุตร 3 คน รอยละ 3.03 มีบุตร 4 คน รอยละ 1.18 มีบุตร 6 คน

รอยละ 0.34 และมีบุตร 5 คน รอยละ 0.17 ตามลําดับ

ประเภทบุคลากรในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม ผูตอบแบบสอบถามเปนขาราชการ

ศาลยุติธรรม รอยละ 81.48 เปนพนักงานราชการ รอยละ 11.28 เปนลูกจางชั่วคราว รอยละ 5.39

เปนพนักงานจางเหมา รอยละ 1.68 และเปนลูกจางประจํา รอยละ 0.17 ตามลําดับ

ตําแหนงของบุคลากร ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญตําแหนงเจาพนักงานศาลยุติธรรม

รอยละ 17.34 รองลงมาตําแหนงนิติกร รอยละ 15.49 รองลงมาตําแหนงเจาหนาที่ศาลยุติธรรม

รอยละ 12.63

หนวยงานปจจุบัน ผูตอบแบบสอบถามปฏิบัติงานในหนวยงานสวนกลาง รอยละ 50.17

หนวยงานสังกัดภาค รอยละ 36.36 และหนวยงานไมสังกัดภาค รอยละ 13.47 ตามลําดับ

ระยะเวลาการทํางานในสังกัดสํานักงานศาลยุติธรรม ผูตอบแบบสอบถามมีระยะเวลา

การทํางาน 1 – 5 ป รอยละ 24.07 ระยะเวลา 11 – 15 ป รอยละ 18.52 ระยะเวลา 6 – 10 ป

รอยละ 17.51 ระยะเวลา 16 – 20 ป รอยละ 12.46 ระยะเวลามากกวา 25 ป รอยละ 11.28

ระยะเวลา 21 – 25 ป รอยละ 8.59 และนอยกวา 1 ป รอยละ 7.57 ตามลําดับ

Page 20: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

7

สวนท่ี 2 การประเมินระดบัความสุขของบุคลากรในสํานักงานศาลยตุิธรรม

เครื่องมือที่ใชในการประเมินระดับความสุขครั้งนี้ ไดนําขอคําถามมาจากแบบสํารวจความสุข

ดวยตนเอง (HAPPINOMETER) ความสุขวัดเองได ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ

(สสส.) รวมกับสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ไดศึกษาและพัฒนาตัวชี้วัด

ความสุข โดยนําขอคําถามมาปรับปรุงเพ่ือใหเหมาะสมกับบุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรม ซึ่งสอบถาม

เกี่ยวกับความสุขในการทํางาน ทั้ง 8 มิติ จํานวน 27 ขอ และใหคะแนนคําตอบจากขอคําถาม ดังนี้

ตอบ (1) ไดคาน้ําหนกั 0 คะแนน

ตอบ (2) ไดคาน้ําหนกั 25 คะแนน

ตอบ (3) ไดคาน้ําหนกั 50 คะแนน

ตอบ (4) ไดคาน้ําหนกั 75 คะแนน

ตอบ (5) ไดคาน้ําหนกั 100 คะแนน

วิธีการคํานวณ ใหนําคะแนนทีไ่ดในแตละขอของแตละมิตมิารวมกนัแลวหารดวยจํานวนขอในมติิ

นั้นๆ จะไดคาคะแนนเฉล่ีย ระดับความสุข ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย ความหมาย

0.00 – 24.99

ไมมีความสุขอยางยิ่ง : Very Unhappy

สะทอนใหเหน็วา คนทํางานในองคกรของทานอยูในระดบั

“ไมมีความสุขเลย” ผูบริหารตองดาํเนนิการแกไขอยางเรงดวน

25.00 – 49.99

ไมมีความสุข : Unhappy

สะทอนใหเหน็วา คนทํางานในองคกรของทานอยูในระดบั

“ไมมีความสุข” ผูบริหารตองดําเนนิการแกไขอยางจรงิจัง

50.00 – 74.99

มีความสุข : Happy

สะทอนใหเหน็วา คนทํางานในองคกรของทานอยูในระดบั

“มีความสุข” ผูบรหิารตองสนับสนนุใหมคีวามสุขย่ิงขึน้ไป

75.00 – 100.00

มีความสุขอยางยิ่ง : Very Happy

ซึ่งสะทอนใหเหน็วา คนทํางานในองคกรของทานอยูในระดับ

“มีความสุขมาก” ผูบริหารควรสนับสนุน และยกยองเปนแบบอยาง

คะแนนเฉลีย่

Page 21: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

8

ระดับความสุขในภาพรวมของบุคลากรในสํานักงานศาลยตุิธรรม

จากการเก็บขอมูลระดับความสุขของบุคลากรในภาพรวม ทั้ง 8 มิติ มีคาคะแนนเฉล่ีย

59.20 ซึ่งอยูในระดับที่มีความสุข (Happy) ยกเวนมิติที่ 1 มิติสุขภาพดี อยูที่ระดับไมมีความสุข (Unhappy)

โดยมีคาคะแนนเฉล่ีย 33.50 เนื่องจากบุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรมสวนใหญมีน้ําหนักมากกวาปกติ

หรือมีภาวะเส่ียงตอโรค รอยละ 51.35 ออกกําลังกายนอยกวา 3 วันตอสัปดาหและไมออกกําลังกายเลย

ถึงรอยละ 75.09 และไมพึงพอใจกับสุขภาพของตนเองและพอใจนอย รอยละ 39.90 ดังตารางที่ 2

ตารางที ่2 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขของบุคลากรในภาพรวม

มิติความสุข คะแนนเฉล่ีย ความหมาย

มิติท่ี 1 สุขภาพกายด ี 33.50

Unhappy : ไมมคีวามสุข

มิติท่ี 2 ผอนคลายด ี 57.79

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 3 น้าํใจด ี 66.88

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 4 จิตวญิญาณด ี 51.52

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 5 ครอบครัวด ี 72.73

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 6 สังคมด ี 54.67

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 7 ใฝรูด ี 67.76

Happy : มีความสุข

มิติท่ี 8 การงานด ี 62.72

Happy : มีความสุข

ระดับความสุขโดยรวมของบุคลากรทุกมิติ 59.20

Happy : มีความสขุ

โดยมีรายละเอียดในแตละมิติดังนี้

มิติท่ี 1 สขุภาพดี (Happy Body)

หมายถึง การที่บุคคลมีสุขภาพรางกายแข็งแรง สมสวน มีพฤติกรรมการบริโภคที่ดี/เหมาะสม

มีความพึงพอในสภาวะสุขภาพกายของตนเอง

ตารางที่ 3 ขอมูลดานรางกาย

ชาย หญิง

น้ําหนักปจจุบัน (กิโลกรัม)

- น้ําหนักมากสุด 110 120

- น้ําหนักนอยสุด 50 32

- น้ําหนักเฉล่ีย 72.80 58.82

Page 22: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

9

ตารางที่ 3 (ตอ) ชาย หญิง

สวนสูงปจจุบัน (เซนติเมตร)

- สวนสูงมากสุด 185 178

- สวนสูงนอยสุด 159 142

- สวนสูงเฉล่ีย 171.13 158.16

เสนรอบเอว (เซนติเมตร)

- เสนรอบเอวมากสุด 177 134

- เสนรอบเอวนอยสุด 65 56

- เสนรอบเอวเฉล่ีย 87 78

ตารางที่ 3 พบวาผูตอบแบบสอบถามเพศชาย มีน้ําหนักระหวาง 50 – 110 กิโลกรัม

มีสวนสูงระหวาง 159 – 185 เซนติเมตร มีเสนรอบเอว ระหวาง 65 – 177 เซนติเมตร และเพศหญิง

มีน้ําหนักระหวาง 32 – 120 กิโลกรัม มีสวนสูงระหวาง 142 – 178 เซนติเมตร และมีเสนรอบเอวระหวาง

56 – 134 เซนติเมตร

ผูศึกษาไดนําขอมลูน้ําหนักปจจุบันและสวนสูงปจจุบันของผูตอบแบบสอบถามแตละราย

มาคํานวณหาคาดัชนีมวลกาย (Body mass index : BMI) ซึ่งเปนคาความสัมพันธระหวางสวนสูง และ

น้ําหนักตัว โดยคํานวณจากน้ําหนักตัว (กิโลกรัม) หารดวยความสูง (เมตรยกกําลังสอง) ดังนี้

ตารางที่ 4 คาดัชนีมวลกาย (Body mass index : BMI)

BMI (กิโลกรัม เมตร2) น้ําหนัก ภาวะเส่ียงตอโรค

< 18.5 น้ําหนักนอย ต่ํา

18.5 – 22.9 น้ําหนักปกต ิ ปกต ิ

23 – 24.9 น้ําหนักเกิน มากกวาปกต ิ

25 – 29.9 โรคอวน สูง

> 30 อวนมาก อยูในชวงอนัตราย

Page 23: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

10

ตารางที่ 5 ภาวะเสียงตอโรค

จํานวน (คน) รอยละ

ภาวะเส่ียงตอโรค

(1) ต่ํา (น้ําหนักนอย) 36 6.06

(2) ปกต ิ(น้ําหนกัปกติ) 253 42.59

(3) มากกวาปกต ิ(น้ําหนกัเกนิ) 121 20.37

(4) สูง (โรคอวน) 137 23.07

(5) อยูในชวงอนัตราย (อวนมาก) 47 7.91

จากตารางที่ 5 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีคาดัชนีมวลกายในระดับน้ําหนักปกติ

หรือไมมีภาวะเส่ียงตอโรค รอยละ 42.59 มีคาดัชนีมวลกายในระดับโรคอวนหรือมีภาวะเส่ียงตอโรคสูง

รอยละ 23.07 มีคาดัชนีมวลกายในระดับน้ําหนักเกินหรือมีภาวะเส่ียงตอโรคมากกวาปกติ รอยละ

20.37 มีคาดัชนีมวลกายในระดับอวนมากหรือมีภาวะเส่ียงตอโรคที่อยูในชวงอันตราย รอยละ 7.91

และมีคาดัชนีมวลกายในระดับน้ําหนักนอยหรือมีภาวะเส่ียงตอโรคต่ํา รอยละ 6.06 ตามลําดับ

ดังแผนภูมิที่ 1

น้ําหนักปกต ิ

โรคอวน

น้ําหนักเกิน

อวนมาก

น้ําหนักนอย

แผนภูมิที ่1 คาดชันีมวลกาย (BMI)

42.59

23.07

20.37

7.91

6.06

Page 24: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

11

ตารางที่ 6 ขอมูลดานสุขภาพ

จํานวน (คน) รอยละ

การออกกําลังกายโดยเฉล่ียตอสัปดาห (วัน)

(1) ไมออกกําลังกาย 200 33.67

(2) นอยกวา 3 วันตอสัปดาห 246 41.42

(3) จํานวน 3 วันตอสัปดาห 83 13.97

(4) มากกวา 3 วนัตอสัปดาห 43 7.24

(5) ทุกวัน 22 3.70

ระดับความพึงพอใจกับสุขภาพของตนเอง

(1) ไมพอใจเลย/พอใจนอยที่สุด 96 16.16

(2) พอใจนอย 141 23.74

(3) พอใจปานกลาง 260 43.77

(4) พอใจมาก 86 14.48

(5) พอใจมากที่สุด 11 1.85

จากตารางที่ 6 พบวา ผูตอบแบบสอบถามออกกําลังกายนอยกวา 3 วันตอสัปดาห

รอยละ 41.42 ไมออกกําลังกาย รอยละ 33.67 ออกกําลังกาย 3 วันตอสัปดาห รอยละ 13.97

ออกกําลังกายมากกวา 3 วันตอสัปดาห รอยละ 7.24 และออกกําลังกายทุกวัน รอยละ 3.70

ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจกับสุขภาพของตนเอง ในระดับปานกลาง รอยละ

43.77 พอใจนอย รอยละ 23.74 ไมพอใจเลยหรือพอใจนอยท่ีสุด รอยละ 16.16 พอใจมาก รอยละ

14.48 และพอใจมากที่สุด รอยละ 1.85 ตามลําดับ

Page 25: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

12

วิธีการประมวลผล

นําผลรวมจํานวนคนที่ตอบคาคําตอบ (a) ของแตละระดับ ตั้งแต (1) ถึง (5) มาคูณกับ

คาน้ําหนัก (b) ซึ่งมีคาเทากับ 0 25 50 75 และ 100 ตามลําดับ และนําผลคูณในทุกระดับตั้งแต (1)

ถึง (5) มาบวกกัน และหารดวยจํานวนผูตอบแบบสอบถามคูณกับจํานวนขอ จะไดคาคะแนนเฉล่ียระดับ

ความสุขของบุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรมในภาพรวมมิติที่ 1 สุขภาพดี ดังนี้

ตารางที่ 7 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบคุลากรในองคกร มติิท่ี 1 สุขภาพดี

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบ (a)

296 387 343 129 33

(200+96) (246+141) (83+260) (43+86) (22+11)

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 9,675 17,150 9,675 3,300

ผลรวม 0 + 9,675 + 17,150 + 9,675 + 3,300 39,800

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 2) หาร 1,188

คาคะแนนเฉลี่ยระดับความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มิติท่ี 1 สขุภาพดี = 33.50

จากตารางที่ 7 พบวาความสุขรวมของบุคลากรสํานักงานศาลยุติธรรม มิติท่ี 1 สุขภาพดี

(Happy Body) อยูในระดับไมมีความสุข : Unhappy ซึ่งสะทอนใหเห็นวา บุคลากรในสํานักงาน

ศาลยุติธรรมอยูในระดับไมมีความสุข ผูบริหารตองดําเนินการแกไขอยางจริงจัง

โดยมีขอเสนอแนะจากผูตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับมิติที่ 1 สุขภาพดี ดังนี้

Page 26: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

13

มิติท่ี 2 ผอนคลายดี (Happy Relax)

หมายถึง การที่บุคคลสามารถบริหารเวลาในแตละวันเพ่ือการพักผอนไดอยางมีคุณภาพ พอใจ

กับการบริหารจัดการปญหาของตนเองและทําชีวิตใหงาย สบายๆ

ตารางที่ 8 ขอมูลดานการผอนคลาย

จํานวน (คน) รอยละ

การดํารงชีวิตเปนไปตามที่คาดหวัง

(1) ไมเปนไปตามที่คาดหวังเลย 40 6.73

(2) เปนไปตามท่ีคาดหวังเล็กนอย 94 15.82

(3) เปนไปตามที่คาดหวังปานกลาง 304 51.18

(4) เปนไปตามที่คาดหวังมาก 140 23.57

(5) เปนไปตามท่ีคาดหวังมากที่สุด 16 2.70

ความสามารถในการจัดการปญหาในชีวิต

(1) ไมสามารถจัดการไดเลย 3 0.50

(2) จัดการไดนอยมาก 26 4.38

(3) จัดการไดปานกลาง 209 35.19

(4) จัดการไดมาก 308 51.85

(5) จัดการไดมากที่สุด 48 8.08

จากตารางที่ 8 พบวา ผูตอบแบบสอบถามดํารงชีวิตเปนไปตามที่คาดหวังในระดับ

ปานกลาง รอยละ 51.18 เปนไปตามท่ีคาดหวังมาก รอยละ 23.57 เปนไปตามที่คาดหวังเล็กนอย รอย

ละ 15.82 ไมเปนไปตามที่คาดหวังเลย รอยละ 6.73 และเปนไปตามท่ีคาดหวังมากที่สุด รอยละ 2.70

ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความสามารถในการจัดการปญหาในชีวิตไดมาก รอยละ 51.85

จัดการไดปานกลาง รอยละ 35.19 จัดการไดมากท่ีสุด รอยละ 8.08 จัดการไดนอยมาก รอยละ 4.38

และไมสามารถจัดการไดเลย รอยละ 0.50 ตามลําดับ

Page 27: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

14

วิธีการประมวลผล

นําผลรวมจํานวนคนท่ีตอบคาคําตอบของแตละระดับ ตั้งแต (1) ถึง (5) มาคูณกับคา

น้ําหนัก และนําผลคูณในทุกระดับตั้งแต (1) ถึง (5) มาบวกกัน และหารดวยจํานวนผูตอบแบบสอบถาม

คูณกับจํานวนขอ จะไดคาคะแนนเฉล่ียระดับความสุขของบุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรมในภาพรวม

มิติท่ี 2 ผอนคลายดี ดังนี้

ตารางที่ 9 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบคุลากรในองคกร มติิท่ี 2 ผอนคลายดี

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบ (a)

43 120 513 448 64

(40+3) (94+26) (304+209) (140+308) (16+48)

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 3,000 25,650 33,600 6,400

ผลรวม 0 + 3,000 + 25,650 + 33,600 + 6,400 68,650

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 2) หาร 1,188

คาคะแนนเฉลี่ยระดับความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มิติท่ี 2 ผอนคลายดี = 57.79

จากตารางที่ 9 พบวาความสุขรวมของบุคลากรสํานักงานศาลยุติธรรม มิติที่ 2

ผอนคลายดี (Happy Relax) อยูในระดับมีความสุข : Happy ซึ่งสะทอนใหเห็นวา บุคลากรในสํานักงาน

ศาลยุติธรรมอยูในระดับมีความสุข ผูบริหารตองสนับสนุนใหมีความสุขย่ิงขึ้นไป

Page 28: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

15

มิติท่ี 3 นํ้าใจดี (Happy Heart)

หมายถึง การท่ีบุคคลมีจิตสาธารณะมีสวนรวมในการสรางประโยชนใหกับสวนรวม และมีเมตตา

กับคนรอบขาง

ตารางที่ 10 ขอมูลดานการใชความชวยเหลือแกคนรอบขาง

จํานวน (คน) รอยละ

การใหความชวยเหลือแกคนรอบขาง

(1) ไมเคย/แทบจะไมเคยชวย 2 0.34

(2) นานๆ ครั้ง 26 4.38

(3) ชวยบางบางครัง้ 223 37.54

(4) ชวยแทบทุกครั้ง 255 42.93

(5) ชวยทุกครั้ง 88 14.81

จากตารางที่ 10 พบวา ผูตอบแบบสอบถามใหความชวยเหลือแกคนรอบขางแทบทุก

ครั้ง รอยละ 42.93 ชวยบางบางครั้ง รอยละ 37.54 ชวยทุกครั้ง รอยละ 14.81 นานๆ ครั้ง รอยละ

4.38 และไมเคยหรือแทบจะไมเคยชวยเหลือ รอยละ 0.34 ตามลําดับ

วิธีการประมวลผล

ตารางที่ 11 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 3 น้ําใจดี

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบ (a) 2 26 223 255 88

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 650 11,150 19,125 8,800

ผลรวม 0 + 650 + 11,150 + 19,125 + 8,800 39,725

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 1) หาร 594

คาคะแนนเฉลี่ยระดับความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มิติท่ี 3 นํ้าใจดี = 66.88

จากตารางที่ 11 พบวาความสุขรวมของบุคลากรสํานักงานศาลยุติธรรม มิติท่ี 3 น้ําใจดี

(Happy Heart) อยูในระดับมีความสุข : Happy ซึ่งสะทอนใหเห็นวา บุคลากรในสํานักงาน

ศาลยุติธรรมอยูในระดับมีความสุข ผูบริหารตองสนับสนุนใหมีความสุขย่ิงขึ้นไป

Page 29: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

16

มิติท่ี 4 จิตวิญญาณดี (Happy Soul)

หมายถึง การท่ีบุคคลมีความตระหนักถึงคุณธรรม และศีลธรรม รูจักให และมีความกตัญูรูคุณ

ตารางที่ 12 ขอมูลการปฏิบัติกิจตามศาสนา

จํานวน (คน) รอยละ

การปฏิบัติกิจตามศาสนาเพ่ือใหจิตใจสงบ

(1) ไมปฏิบตัิ/ปฏิบตัินอยที่สุด 42 7.07

(2) นอย 107 18.01

(3) ปานกลาง 264 44.44

(4) มาก 135 22.73

(5) มากที่สุด 46 7.75

จากตารางที่ 12 พบวา ผูตอบแบบสอบถามปฏิบัตกิิจตามศาสนาเพ่ือใหจิตใจสงบระดับ

ปานกลาง รอยละ 44.44 ปฏิบัติมาก รอยละ 22.73 ปฏิบัตินอย รอยละ 18.01 ปฏิบัติมากที่สุด

รอยละ 7.75 และไมปฏิบัติหรือปฏิบัตินอยท่ีสุด รอยละ 7.07 ตามลําดับ

วิธีการประมวลผล

ตารางที่ 13 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 4 จิตวิญญาณด ี

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบ (a) 42 107 264 135 46

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 2,675 13,200 10,125 4,600

ผลรวม 0 + 2,675 + 13,200 + 10,125 + 4,600 30,600

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 1) หาร 594

คาคะแนนเฉลี่ยระดับความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มิติท่ี 4 จิตวิญญาณดี = 51.52

จากตารางที่ 13 พบวาความสุขรวมของบุคลากรสํานักงานศาลยุติธรรม มิติที่ 4

จิตวิญญาณดี (Happy Soul) อยูในระดับมีความสุข : Happy ซึ่งสะทอนใหเห็นวา บุคลากรในสํานักงาน

ศาลยุติธรรมอยูในระดับมีความสุข ผูบริหารตองสนับสนุนใหมีความสุขย่ิงขึ้นไป

Page 30: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

17

มิติท่ี 5 ครอบครัวดี (Happy Family)

หมายถึง การท่ีบุคคลมีความรูสึกผูกพัน เชื่อใจ มั่นใจ และอุนใจกับบุคคลในครอบครัวของ

ตนเอง

ตารางที่ 14 ขอมูลความสุขกับครอบครัว

จํานวน (คน) รอยละ

ระดับความสุขกับครอบครัว

(1) ไมมี/นอยท่ีสุด 10 1.68

(2) นอย 41 6.90

(3) ปานกลาง 120 20.20

(4) มาก 245 41.25

(5) มากที่สุด 178 29.97

จากตารางที่ 14 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความสุขกับครอบครัวระดับมาก รอยละ

41.25 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 29.97 ระดับปานกลาง รอยละ 20.20 ระดับนอย รอยละ 6.90 และ

ระดับนอยหรือไมมีความสุข รอยละ 1.68 ตามลําดับ

วิธีการประมวลผล

ตารางที่ 15 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 5 ครอบครวัดี

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบ (a) 10 41 120 245 178

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 1,025 6,000 18,375 17,800

ผลรวม 0 + 1,025 + 6,000 + 18,375 + 17,800 43,200

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 1) หาร 594

คาคะแนนเฉลี่ยระดับความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มิติท่ี 5 ครอบครัวดี = 72.73

จากตารางที่ 15 พบวาความสุขรวมของบุคลากรสํานักงานศาลยุติธรรม มิติที่ 5

ครอบครัวดี (Happy Family) อยูในระดับมีความสุข : Happy ซึ่งสะทอนใหเห็นวา บุคลากรใน

สํานักงานศาลยุติธรรมอยูในระดับมีความสุข ผูบริหารตองสนับสนุนใหมีความสุขย่ิงขึ้นไป

Page 31: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

18

มิติท่ี 6 สังคมดี (Happy Society)

หมายถึง การท่ีบุคคลมีความสัมพันธท่ีดีตอเพ่ือนบาน ไมทําใหผูอื่นเดือดรอน ไมเอาเปรียบผูคน

รอบขาง ไมทําใหสังคมเส่ือมถอย

ตารางที่ 16 ขอมูลดานสังคม

จํานวน (คน) รอยละ

ระดับความรูสึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

(1) ไมรูสึก/รูสึกนอยที่สุด 10 1.68

(2) นอย 42 7.07

(3) ปานกลาง 281 47.31

(4) มาก 219 36.87

(5) มากที่สุด 42 7.07

ระดับความสุขในการใชชีวิตโดยรวม

(1) ไมมี/มนีอยท่ีสุด 11 1.85

(2) นอย 29 4.88

(3) ปานกลาง 248 41.75

(4) มาก 245 41.25

(5) มากที่สุด 61 10.27

ระดับความรูสึกในความสงบสุขของสังคมไทย

(1) ไมมี/มนีอยท่ีสุด 51 8.59

(2) นอย 177 29.80

(3) ปานกลาง 314 52.86

(4) มาก 49 8.25

(5) มากที่สุด 3 0.50

จากตารางที่ 16 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความรูสึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน

ในระดับปานกลาง รอยละ 47.31 ระดับมาก รอยละ 36.87 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 7.07 ระดับนอย

รอยละ 7.07 และระดับรูสึกนอยที่สุดหรือไมรูสึกปลอดภัย รอยละ 1.68 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความสุขในการใชชีวิตโดยรวม อยูในระดับปานกลาง รอยละ

41.75 ระดับมาก รอยละ 41.25 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 10.27 ระดับนอย รอยละ 4.88 และระดับ

นอยที่สุดหรือไมมีความสุข รอยละ 1.85 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความรูสึกวาสังคมไทยทุกวันนี้มีความสงบสุขในระดับปานกลาง

รอยละ 52.86 ระดับนอย รอยละ 29.80 ระดับนอยที่สุดหรือไมมีความสงบสุข รอยละ 8.59 ระดับมาก

รอยละ 8.25 และระดับมากที่สุด รอยละ 0.50 ตามลําดับ

Page 32: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

19

วิธีการประมวลผล

ตารางที่ 17 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 6 สังคมดี

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบ (a)

72 248 843 513 106

(10+11+51) (42+29+177) (281+248+314) (219+245+49) (42+61+3)

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 6,200 42,150 38,475 10,600

ผลรวม 0 + 6,200 + 42,150 + 38,475 + 10,600 97,425

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 3) หาร 1,782

คาคะแนนเฉลี่ยระดับความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มิติท่ี 6 สังคมดี = 54.67

จากตารางที่ 17 พบวาความสุขรวมของบุคลากรสํานักงานศาลยุติธรรม มิติท่ี 6 สังคมดี

(Happy Society) อยูในระดับมีความสุข : Happy ซึ่งสะทอนใหเห็นวา บุคลากรในสํานักงานศาล

ยุติธรรมอยูในระดับมีความสุข ผูบริหารตองสนับสนุนใหมีความสุขย่ิงขึ้นไป

Page 33: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

20

มิติท่ี 7 ใฝรูดี (Happy Brain)

หมายถึง การท่ีบุคคลมีความตื่นตัวกระตือรือรนในการเรียนรูส่ิงใหมๆ เพ่ือปรับตัวใหเทาทันและ

ตั้งรับการเปล่ียนแปลงไดตลอดเวลา และพอใจที่จะแสดงความทันสมัยอยูเสมอ

ตารางที่ 18 ขอมูลการแสวงหาความรู

จํานวน (คน) รอยละ

ระดับความสนใจในการแสวงหาความรูใหมๆ เพ่ิมเติมจากแหลงความรู

(1) ไมสนใจ/สนใจนอยท่ีสุด 2 0.34

(2) นอย 25 4.21

(3) ปานกลาง 205 34.51

(4) มาก 273 45.96

(5) มากที่สุด 89 14.98

จากตารางท่ี 18 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความสนใจในการแสวงหาความรูใหมๆ

เพ่ิมเติมจากแหลงความรูตางๆ ในระดับมาก รอยละ 45.96 ระดับปานกลาง รอยละ 34.51 ระดับมากที่สุด

รอยละ 14.98 ระดับนอย รอยละ 4.21 และระดับนอยท่ีสุดหรือไมสนใจ รอยละ 0.34 ตามลําดับ

วิธีการประมวลผล

ตารางที่ 19 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 7 ใฝรูดี

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบ (a) 2 25 205 273 89

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 625 10,250 20,475 8,900

ผลรวม 0 + 625 + 10,250 + 20,475 + 8,900 40,250

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 1) หาร 594

คาคะแนนเฉลี่ยระดับความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มิติท่ี 7 ใฝรูดี = 67.76

จากตารางที่ 19 พบวาความสุขรวมของบุคลากรสํานักงานศาลยุติธรรม มิติที่ 7 ใฝรูดี

(Happy Brain) อยูในระดับมีความสุข : Happy ซึ่งสะทอนใหเห็นวา บุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรม

อยูในระดับมีความสุข ผูบริหารตองสนับสนุนใหมีความสุขย่ิงขึ้นไป

Page 34: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

21

มิติท่ี 8 การงานดี (Happy Work Life)

หมายถึง การที่บุคคลมีความสบายใจในที่ทํางาน มีความรัก ความผูกพัน และความภาคภูมิใจใน

องคกร มีความมั่นใจในอาชีพรายได และมีความพึงพอใจกับความกาวหนาของตนเองในองคกร

ตารางที่ 20 ขอมูลดานการงาน

จํานวน (คน) รอยละ

การไดรับการดูแลดานสุขภาพที่ดีจากองคกร

(1) ไมไดรบั/ไดรับนอยท่ีสุด 68 11.45

(2) นอย 156 26.26

(3) ปานกลาง 274 46.13

(4) มาก 82 13.80

(5) มากที่สุด 14 2.36

การไดรับการปฏิบัติอยางถูกตองตามพระราชบัญญัติขาราชการและ

ระเบียบที่เกี่ยวของ

(1) ไมไดเลย/ไดรับนอยที่สุด 10 1.68

(2) ไดรบันอย 64 10.78

(3) ไดรบัปานกลาง 250 42.09

(4) ไดรบัมาก 240 40.40

(5) ไดรบัมากที่สุด 30 5.05

การพิจารณาเล่ือนขั้น เล่ือนตําแหนง/ปรบัเงนิเดือน คาจางประจําปที่ผาน

มามีความเหมาะสม

(1) ไมเหมาะสม/เหมาะสมนอยที่สุด 30 5.05

(2) นอย 53 8.92

(3) ปานกลาง 242 40.74

(4) มาก 217 36.53

(5) มากที่สุด 52 8.76

ระดับความมั่นคงในอาชีพ

(1) ไมมัน่คง/มัน่คงนอยที่สุด 11 1.85

(2) มั่นคงนอย 37 6.23

(3) มั่นคงปานกลาง 174 29.29

(4) มั่นคงมาก 269 45.29

(5) มั่นคงมากที่สุด 103 17.34

Page 35: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

22

ตารางที่ 20 (ตอ) จํานวน (คน) รอยละ

การไดรับคาตอบแทนคุมคากับความเส่ียงท่ีอาจเกิดจากการทํางาน

(1) ไมคุมคา/คุมคานอยที่สุด 57 9.60

(2) คุมคานอย 106 17.84

(3) คุมคาปานกลาง 290 48.82

(4) คุมคามาก 118 19.87

(5) คุมคามากที่สุด 23 3.87

การตัดสินใจทํางานตอหรือลาออก เมื่อมีโอกาสไดศึกษาตอและสําเร็จ

การศึกษาระหวางอยูในองคกรนี ้

(1) ลาออกแนนอน 14 2.36

(2) อาจจะลาออก 47 7.91

(3) นาจะลาออก 27 4.54

(4) ไมลาออก 329 55.39

(5) ไมลาออกแนนอน 177 29.80

การตัดสินใจเมื่อมีโอกาสเปล่ียนสถานท่ีทํางานหรือองคกรอื่นชวน/ติดตอไป

ทํางาน

(1) ไปแนนอน/ไปทันท ี 34 5.72

(2) คิดวาจะไป 61 10.27

(3) ไมแนใจ 216 36.36

(4) ไมไป 171 28.79

(5) ไมไปแนนอน 112 18.86

การแสดงความคิดเห็นและมีสวนรวมในขอเสนอแนะกับหัวหนางานหรือ

ผูบริหาร

(1) ไมสวนรวม/มนีอยที่สุด 80 13.47

(2) มีสวนรวมบางเล็กนอย 141 23.74

(3) มีสวนรวมปานกลาง 220 37.03

(4) มีสวนรวมมาก 134 22.56

(5) มีสวนรวมมากที่สุด 19 3.20

Page 36: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

23

ตารางที่ 20 (ตอ) จํานวน (คน) รอยละ

ความถูกตองของการจายคาจาง คาลวงเวลา ฯลฯ ที่ไดรับจากองคกร

(1) ไมถกูตองทุกครั้ง 10 1.68

(2) ไมถกูตองบอยครั้ง 8 1.35

(3) ถูกตองเปนบางครั้ง 60 10.10

(4) ถูกตองเกอืบทุกครั้ง 153 25.76

(5) ถูกตองทุกครั้ง 363 61.11

ความตรงตอเวลาของการจายคาจาง คาลวงเวลา ฯลฯ ที่ไดรับจากองคกร

(1) ไมตรงเวลาทกุครัง้ 13 2.19

(2) ไมตรงเวลาบอยครัง้ 21 3.53

(3) ตรงเวลาบางเปนบางครั้ง 72 12.12

(4) ตรงเวลาเกือบทุกครั้ง 189 31.82

(5) ตรงเวลาทกุครัง้ 299 50.34

ระดับความภาคภูมิใจที่ไดเปนบุคลากร/ทํางานในองคกร

(1) ไมภาคภูมิใจ/ภาคภูมิใจนอยที่สุด 12 2.02

(2) นอย 11 1.85

(3) ปานกลาง 112 18.85

(4) มาก 238 40.07

(5) มากที่สุด 221 37.21

ระดับความรูสึกเปนเจาขององคกรในปจจุบัน

(1) ไมรูสึก/รูสึกนอยที่สุด 71 11.95

(2) นอย 49 8.25

(3) ปานกลาง 215 36.20

(4) มาก 175 29.46

(5) มากที่สุด 84 14.14

ระดับความสุขโดยรวมในการทํางานกับองคกร

(1) นอยที่สุด 28 4.71

(2) นอย 59 9.93

(3) ปานกลาง 243 40.91

(4) มาก 219 36.87

(5) มากที่สุด 45 7.58

Page 37: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

24

จากตารางที่ 20 พบวา ผูตอบแบบสอบถามไดรับการดูแลดานสุขภาพที่ดีจากองคกร

ในระดับปานกลาง รอยละ 46.13 ระดับนอย รอยละ 26.26 ระดับมาก รอยละ 13.80 ระดับนอยที่สุด

หรือไมไดรับ รอยละ 11.45 และระดับมากท่ีสุด รอยละ 2.36 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามไดรับการปฏิบัติอยางถูกตองตามพระราชบัญญัติขาราชการและ

ระเบียบท่ีเกี่ยวของในระดับปานกลาง รอยละ 42.09 ระดับมาก รอยละ 40.40 ระดับนอย รอยละ

10.78 ระดับมากที่สุด รอยละ 5.05 และระดับนอยที่สุดหรือไมไดรับเลย รอยละ 1.68 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามไดรับการพิจารณาเล่ือนขั้น เล่ือนตําแหนง/ปรับเงินเดือน คาจาง

ประจําปที่ผานมามีความเหมาะสมในระดับปานกลาง รอยละ 40.74 ระดับมาก รอยละ 36.53 ระดับนอย

รอยละ 8.92 ระดับมากที่สุด รอยละ 8.76 และระดับนอยท่ีสุดหรือไมเหมาะสม รอยละ 5.05

ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความมั่นคงในอาชีพระดับมาก รอยละ 45.29 มั่นคงปานกลาง

รอยละ 29.29 มั่นคงมากที่สุด รอยละ 17.34 มั่นคงนอย รอยละ 6.23 และมั่นคงนอยที่สุดหรือ

ไมมั่นคง รอยละ 1.85 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามไดรับคาตอบแทนคุมคากับความเส่ียงท่ีอาจเกิดจากการทํางาน

ในระดับปานกลาง รอยละ 48.82 คุมคามาก รอยละ 19.87 คุมคานอย รอยละ 17.84 คุมคานอยที่สุด

หรือไมคุมคา รอยละ 9.60 และคุมคามากที่สุด รอยละ 3.87 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามตัดสินใจไมลาออก เมื่อมีโอกาสไดศึกษาตอและสําเร็จการศึกษา

ระหวางอยูในสํานักงานศาลยุติธรรม รอยละ 55.39 ตัดสินใจไมลาออกแนนอน รอยละ 29.80 อาจจะ

ลาออก รอยละ 7.91 นาจะลาออก 4.54 และตัดสินใจลาออกแนนอน รอยละ 2.36 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามตัดสินใจเปล่ียนสถานที่ทํางาน หากมีโอกาสหรือองคกรอื่นชวน/

ติดตอไปทํางาน ระดับยังไมแนใจ รอยละ 36.36 ตัดสินใจไมไป รอยละ 28.79 ตัดสินใจไมไปแนนอน

รอยละ 18.86 คิดวาจะไป รอยละ 10.27 และตัดสินใจเปล่ียนสถานท่ีทํางานแนนอนหรือไปทันที

รอยละ 5.72 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามสามารถแสดงความคิดเห็นและมีสวนรวมในขอเสนอแนะกับหัวหนางาน

หรือผูบริหาร ในระดับปานกลาง รอยละ 37.03 มีสวนรวมบางเล็กนอย รอยละ 23.74 มีสวนรวมมาก

รอยละ 22.56 มีสวนรวมนอยที่สุดหรือไมมีสวนรวม รอยละ 13.47 และมีสวนรวมมากท่ีสุด รอยละ

3.20 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามไดรับคาจาง คาลวงเวลา ฯลฯ เปนไปอยางถูกตองทุกครั้ง รอยละ

61.11 ถูกตองเกือบทุกครั้ง รอยละ 25.76 ถูกตองเปนบางครั้ง รอยละ 10.10 ไมถูกตองทุกครั้ง รอย

ละ 1.68 และไมถูกตองบอยครั้ง รอยละ 1.35 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามไดรับคาจาง คาลวงเวลา ฯลฯ ตรงตามเวลาที่กําหนดทุกครั้ง รอยละ

50.34 ตรงเวลาเกือบทุกครั้ง รอยละ 31.82 ตรงเวลาบางเปนบางครั้ง รอยละ 12.12 ไมตรงเวลา

บอยครั้ง รอยละ 3.53 และไมตรงเวลาทุกครั้ง รอยละ 2.19 ตามลําดับ

Page 38: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

25

ผูตอบแบบสอบถามมีความภาคภูมิใจที่ไดเปนบุคลากรหรือไดทํางานในสํานักงาน

ศาลยุติธรรมระดับมาก รอยละ 40.07 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 37.21 ระดับปานกลาง รอยละ 18.85

ระดับนอยที่สุดหรือไมภาคภูมิใจ รอยละ 2.02 และระดับนอย รอยละ 1.85 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความรูสึกเปนเจาขององคกรในระดับปานกลาง รอยละ 36.20

ระดับมาก รอยละ 29.46 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 14.14 ระดับนอยที่สุดหรือไมรูสึกเปนเจาขององคกร

รอยละ 11.95 และระดับนอย รอยละ 8.25 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความสุขโดยรวมในการทํางานระดับปานกลาง รอยละ 40.91

ระดับมาก รอยละ 36.87 ระดับนอย รอยละ 9.93 ระดับมากที่สุด รอยละ 7.58 และระดับนอยที่สุด

รอยละ 4.71 ตามลําดับที่

วิธีการประมวลผล

ตารางที่ 21 คาคะแนนเฉล่ียระดบัความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มติิท่ี 8 การงานดี

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบ (a)

438 813 2,395 2,534 1,542 (68+10+30+11+

57+14+34+80+

10+13+12+71+

28)

(156+64+53+

37+106+47+61+

141+8+21+11+

49+59)

(274+250+242+

174+290+27+

216+220+60+72

+112+215+243)

(82+240+217+

269+118+329+

171+134+153+

189+238+175+

219)

(14+30+52+103

+23+177+112+

19+363+299+

221+84+45)

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 20,325 119,750 190,050 154,200

ผลรวม 0 + 20,325 + 119,750 + 190,050 + 154,200 484,325

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 13) หาร 7,722

คาคะแนนเฉลี่ยระดับความสุขรวมของบุคลากรในองคกร มิติท่ี 8 การงานดี = 62.72

จากตารางที่ 21 พบวาความสุขรวมของบุคลากรสํานักงานศาลยุติธรรม มิติที่ 8

การงานดี (Happy Work Life) อยูในระดับมีความสุข : Happy ซึ่งสะทอนใหเห็นวา บุคลากรใน

สํานักงานศาลยุติธรรมอยูในระดับมีความสุข ผูบริหารตองสนับสนุนใหมีความสุขย่ิงขึ้นไป

Page 39: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

26

สวนท่ี 3 การประเมินระดบัการเปนองคกรแหงความสุขของสาํนักงานศาลยตุิธรรม

การตรวจสอบสุขภาวะระดับองคกร (Happy Workplace Index) เปนดัชนีท่ีสะทอน

สภาวะปจจัยที่เกื้อกูลตอความสุขของคนในองคกร ซึ่งองคกรสามารถใชเปนเครื่องมือตรวจสอบระดับสุข

ภาวะในองคกรไดดวยตนเอง โดยสํานักสนับสนุนสุขภาวะองคกร สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสราง

เสริมสุขภาพ (สสส.) และคณะวิจัยไดพัฒนาเครื่องมือนี้ขึ้นมา จึงไดนําขอคําถามมาปรับปรุงเพ่ือให

เหมาะสมกับบุคลากรในสํานักงานศาลยุติธรรม ทั้ง 5 มิติ จํานวน 32 ขอ และใหคะแนนคําตอบจากขอ

คําถาม ดังนี้

ตอบ (1) ไดคาน้ําหนกั 0 คะแนน

ตอบ (2) ไดคาน้ําหนกั 25 คะแนน

ตอบ (3) ไดคาน้ําหนกั 50 คะแนน

ตอบ (4) ไดคาน้ําหนกั 75 คะแนน

ตอบ (5) ไดคาน้ําหนกั 100 คะแนน

วิธีการประมวลผลและแปลความหมาย นําผลรวมจํานวนขอของแตละระดับและคูณกับ

คาน้ําหนัก และนําผลคูณในทุกระดับตั้งแต 1 – 5 มาบวกกัน และนํามาคํานวณเปนคารอยละ โดยหาร

ดวยจํานวนขอยอย จะไดคารอยละของความสําเร็จในภาพรวม เพ่ือแสดงผลการตรวจสอบสุขภาวะของ

องคกรรายมิติ ดังนี้

ระดบัคะแนน ปจจัยการสรางสุขในองคกร

0 – 48 ตองรีบแกไข

49 – 56 ยังไมมีอะไรแนนอน

57 – 73 กําลังกาวหนา

74 – 100 นาอิจฉาที่สุด

Page 40: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

27

สุขภาวะองคกรของสํานักงานศาลยตุิธรรมในภาพรวม

จากผลการตรวจสอบสุขภาวะองคกรของสํานักงานศาลยุติธรรมในภาพรวม มีคาดัชนี

สุขภาวะแตละมิติที่แตกตางกัน โดยสามารถสรุปไดดังนี้

ตารางที่ 22 คาดัชนีสุขภาวะองคกรในภาพรวม

สุขภาวะระดับองคกร คาคะแนน ผลการตรวจสอบ

มิติท่ี 1 สุขดวยการการจัดการ (Management) 84.00 ปจจัยการสรางสุขในองคกรนี้

นาอิจฉาที่สุด

มิติท่ี 2 สุขดวยบรรยากาศและสภาพแวดลอมในที่

ทํางาน (Atmosphere & Environment) 57.95

ปจจัยการสรางสุขในองคกรนี้

กําลังกาวหนา

มิติที่ 3 สุขดวยกระบวนการสรางสุข (Process) 39.39 ปจจัยการสรางสุขในองคกรนี้

ตองรีบแกไข

มิติท่ี 4 สุขดวยสุขภาพกายและใจ (Health) 45.04 ปจจัยการสรางสุขในองคกรนี้

ตองรีบแกไข

มิติท่ี 5 สุขดวยผลลัพธองคกร (Result) 83.04 ปจจัยการสรางสุขในองคกรนี้

นาอิจฉาที่สุด

ระดบัสุขภาวะองคกรในภาพรวม 55.60 ปจจัยการสรางสุขในองคกรนี้

ยังไมมีอะไรแนนอน

จากตารางที่ 22 ระดับสุขภาวะของสํานักงานศาลยุติธรรมในภาพรวม มีคาคะแนน

เทากับ 55.60 ซึ่งสามารถสรุปไดวาปจจัยการสรางสุขของสํานักงานศาลยุติธรรมยังไมมีอะไรแนนอน

โดยเฉพาะมิติท่ีตองรีบดําเนินการแกไขท้ัง 2 มิติ ไดแก มิติที่ 3 สุขดวยกระบวนการสรางสุข (Process)

ซึ่งวัดจากคณะทํางาน/ผูรับผิดชอบการกํากับดูแลนโยบายองคกรสรางสุข การสรางชองทาง การส่ือสาร

เรื่องการสรางสุขในองคกร การเรียนรูเรื่องการสรางสุขในองคกร การสนับสนุนทรัพยากรจากองคกร

องคกรความสําคัญเรื่องสุขภาวะเปนทุนแบบหนึ่ง การมีสวนรวมในกิจกรรมสรางสุข และคุณภาพของ

กระบวนการประเมินองคกรสรางสุข และมิติท่ี 4 สุขดวยสุขภาพกายและใจ (Health) วัดจากพฤติกรรม

เส่ียงดานสุขภาพของบุคลากรกิจกรรมสงเสริมการมีสวนรวมและสรางความสัมพันธอันดี ในครอบครัว

การเกิดอุบัติเหต/ุเจ็บปวย/เสียชีวิตเนือ่งจากการทํางานในสถานที่ทํางาน รอยละของวันลาที่มีสาเหตจุาก

อุบัติเหตุอันเนื่องจากการทํางาน การออกกําลังกาย รอยละของคาดัชนีมวลกาย (BMI) อยูในระดับปกติ

ระดับความสุขของบุคลากร ระดับความพึงพอใจในการทํางาน ระดับความเครียดของบุคลากร และ

ระดับความรูสึกเปนเจาของรวมของบุคลากรในองคกร โดยมีรายละเอียดในแตละมิติดังนี้

Page 41: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

28

มิติท่ี 1 สขุดวยการจัดการ (Management)

วัดจากระบบบริหารผลตอบแทนท่ีเหมาะสม นโยบายการคุมครองบุคลากร ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ระบบการจัดสวัสดิการ ระบบการใหรางวัลยกยองบุคลากร และระบบและกลไกในการพัฒนาความกาวหนาในอาชีพตามศักยภาพ ดังนี้

ตารางที่ 23 ระบบการจัดการ

จํานวน (คน) รอยละ

ระบบบริหารผลตอบแทนที่เหมาะสมตามกฎหมาย

(1) ไมมีระบบบรหิารผลตอบแทนตามกฎหมาย 9 1.51

(2) มีระบบบริหารผลตอบแทนตามกฎหมาย 2 0.34

(3) มีการจายคาตอบแทนตามกฎหมาย 54 9.09

(4) มีการตรวจสอบระบบบริหารผลตอบแทนตามกฎหมาย 56 9.43

(5) มีการนําผลการตรวจสอบมาปรับปรุงระบบบริหารผลตอบแทน 473 79.63

นโยบายคุมครองบุคลากรตามกฎหมาย

(1) ไมมนีโยบายคุมครองบุคลากรตามกฎหมาย ไดแก หลักเกณฑ

การลา การเลิกจาง การจายคาชดเชย และการรกัษาบคุลากร

17 2.86

(2) มีนโยบายคุมครองบุคลากรตามกฎหมาย 14 2.36

(3) มีการควบคุมการจัดการใหเปนไปตามนโยบายและกฎหมาย 99 16.67

(4) มีนโยบายคุมครองบุคลากรเพ่ิมเติมจากที่กฎหมายกําหนด 67 11.28

(5) มีการปรับปรุงนโยบายคุมครองบคุลากรที่เอื้อตอการสรางความสุข

ในองคกร

397 66.83

ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานเปนที่ยอมรับ

(1) ไมมีระบบประเมนิผลการปฏิบัติงานของบุคลากร 25 4.21

(2) มีระบบประเมินผลการปฏิบตัิงานของบุคลากร 23 3.87

(3) บุคลากรยอมรบัระบบประเมินผลการปฏิบตัิงาน 49 8.25

(4) มีการตรวจสอบระบบประเมินผลการปฏิบตัิงาน 42 7.07

(5) มีการนําผลการตรวจสอบมาปรับปรุงระบบประเมินผลการปฏิบตัิงาน 455 76.6

ระบบจัดสวัสดิการ

(1) ไมมีระบบการจัดสวัสดกิาร 29 4.88

(2) มีระบบการจัดสวัสดิการ 8 1.35

(3) มีระบบการจัดสวัสดิการตามกฎหมายกําหนด 81 13.64

(4) มีระบบการจัดสวัสดิการที่เพ่ิมเติมจากที่กฎหมายกําหนด 54 9.09

(5) มีการตรวจสอบและปรับปรงุระบบการจัดสวัสดิการ 422 71.04

Page 42: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

29

ตารางที่ 23 (ตอ) จํานวน (คน) รอยละ

ระบบการใหรางวัลและยกยองบุคลากร

(1) ไมมีระบบ/แนวทางการใหรางวัลยกยองบุคลากร 125 21.04

(2) มีระบบ/แนวทางการใหรางวัลยกยองบุคลากร 9 1.52

(3) บุคลากรยอมรบัระบบ/แนวทางการใหรางวัลยกยองบคุลากร 19 3.20

(4) มีการใหรางวัลยกยองบุคลากรตามที่กําหนดตามระบบ/แนวทาง 64 10.77

(5) มีการตรวจสอบและปรับปรงุระบบแนวทางการใหรางวลัยกยอง

บุคลากร

377 63.47

ระบบและกลไกในการพัฒนาความกาวหนาในอาชีพตามศักยภาพของ

บุคลากร

(1) ไมมีระบบ/กลไกในการพัฒนาความกาวหนาในอาชีพตามศักยภาพ 62 10.44

(2) มีระบบ/กลไกในการพัฒนาความกาวหนาในอาชีพตามศักยภาพ 12 2.02

(3) มีการกําหนดเสนทางในการพัฒนาความกาวหนาในอาชพีตาม

ศักยภาพ

33 5.55

(4) มีการปฏิบัติใหบุคลากรกาวสูตําแหนงที่สูงขึ้นอยางเหมาะสม 56 9.43

(5) มีการตรวจสอบและปรับปรงุระบบ/กลไกในการพัฒนา

ความกาวหนาในอาชีพตามศักยภาพ

431 72.56

จากตารางที่ 23 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรจายผลตอบแทนท่ี

เหมาะสมตามกฎหมาย มีการตรวจสอบและนําผลการตรวจสอบมาปรับปรุงระบบบริหารผลตอบแทน

รอยละ 79.63 มีการตรวจสอบระบบบริหารผลตอบแทนตามกฎหมายแตไมไดนํามาปรับปรุง รอยละ

9.43 มีการกําหนดคาตอบแทนตามกฎหมายแตไมไดมีการตรวจสอบระบบบริหารผลตอบแทน รอยละ

9.09 ไมมีระบบบริหารผลตอบแทนตามกฎหมาย รอยละ 1.51 และมีเพียงระบบบริหารผลตอบแทน

ตามกฎหมายแตไมไดรับคาตอบแทนตามกฎหมาย รอยละ 0.34 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรมีนโยบายคุมครองและปรับปรุงนโยบายที่เอื้อ

ตอการสรางสุขในองคกร รอยละ 66.83 มีการควบคุมการจัดการใหเปนไปตามนโยบายและกฎหมาย

แตไมมีการเพ่ิมเติม รอยละ 16.67 มีนโยบายคุมครองเพ่ิมเติมจากที่กฎหมายกําหนด รอยละ 11.28 ไมมี

นโยบายคุมครองบุคลากรตามกฎหมาย 2.86 และมีเพียงนโยบายคุมครองตามกฎหมายแตไมมีการ

ควบคุมจัดการใหเปนไปตามนโยบายและกฎหมาย รอยละ 2.36 ตามลําดับ

Page 43: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

30

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานและ

มีการนําผลการตรวจสอบมาปรับปรุงระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน รอยละ 76.6 บุคลากรยอมรับ

ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานแตไมมีการตรวจสอบระบบฯ รอยละ 8.25 มีการตรวจสอบระบบ

ประเมินผลการปฏิบัติงานแตไมไดมีการนําผลมาปรับปรุงระบบฯ รอยละ 7.07 ไมมีระบบประเมินผล

การปฏิบัติงานของบุคลากร รอยละ 4.21 และมีเพียงระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร

แตไมเปนที่ยอมรับ รอยละ 3.87 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรจัดระบบสวัสดิการ มีการตรวจสอบและ

ปรับปรุงระบบสวัสดิการ รอยละ 71.04 มีระบบการจัดสวัสดิการตามกฎหมายแตไมมีเพ่ิมเติม รอยละ

13.64 มีระบบการจัดสวัสดิการท่ีเพ่ิมเติมจากที่กฎหมายกําหนด รอยละ 9.09 ไมมีระบบการจัด

สวัสดิการ รอยละ 4.88 และมีเพียงระบบการจัดสวัสดิการเทานั้น รอยละ 1.35 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเหน็วาองคกรมรีะบบการใหรางวลัและยกยองบุคลากร มีการ

ตรวจสอบและปรับปรุงระบบแนวทางการใหรางวัลยกยองบุคลากร รอยละ 63.47 องคกรไมมีระบบ

หรือแนวทางการใหรางวัลยกยองบุคลากร รอยละ 21.04 มีการใหรางวัลยกยองบุคลากรตามที่กําหนด

แตไมมีการตรวจสอบและปรับปรุงระบบ รอยละ 10.77 บุคลากรยอมรับระบบหรือแนวทางการให

รางวัลยกยองบุคลากร แตไมมีการใหรางวัลยกยองตามที่กําหนด รอยละ 3.20 และมีเพียงระบบหรือ

แนวทางการใหรางวัลยกยองบุคลากร แตไมเปนที่ยอมรับ รอยละ 1.52 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรมีระบบและกลไกในการพัฒนาความกาวหนา

ในอาชีพตามศักยภาพของบุคลากร และมีการตรวจสอบและปรับปรุงระบบ รอยละ 72.56 ไมมีระบบ

หรือกลไกในการพัฒนาความกาวหนาในอาชีพตามศักยภาพ รอยละ 10.44 มีการปฏิบัติใหบุคลากร

กาวสูตําแหนงท่ีสูงขึ้นอยางเหมาะสม แตไมมีการตรวจสอบและปรับปรุงระบบ รอยละ 9.43 มีการ

กําหนดเสนทางในการพัฒนาความกาวหนาในอาชีพตามศักยภาพ แตไมไดนํามาปฏิบัติอยางเหมาะสม

รอยละ 5.55 และมีเพียงระบบหรือกลไกในการพัฒนาความกาวหนาในอาชีพตามศักยภาพ แตไมได

กําหนดเสนทางในการพัฒนาไว รอยละ 2.02 ตามลําดับ

Page 44: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

31

วิธีการประมวลผล

นําผลรวมจํานวนคนท่ีตอบคาคําตอบสูงสุด (a) ของแตละระดับ ตั้งแต (1) ถึง (5) มา

คูณกับคาน้ําหนัก (b) ซึ่งมีคาเทากับ 0 25 50 75 และ 100 ตามลําดับ และนําผลคูณในทุกระดับ

ตั้งแต (1) ถึง (5) มาบวกกัน และหารดวยจํานวนผูตอบแบบสอบถามคูณกับจํานวนขอ จะไดคาดัชนีสุข

ภาวะองคกร สํานักงานศาลยุติธรรม มิติที่ 1 สุขดวยการจัดการ ดังนี้

ตารางที ่24 คาดัชนีสุขภาวะองคกร มติิที่ 1 สุขดวยการจัดการ

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบสูงสุด (a)

267 (9+ 17+25+

29+125+62)

68 (2+14+23+

8+9+12)

355 (54+99+49+

81+19+33)

339 (56+67+42+

54+64+56)

2,555 (473+397+

455+422+

377+431)

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 1,700 16,750 25,425 255,500

ผลรวม 0 + 1,700 + 16,750 + 25,425 + 255,500 299,375

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 6) หาร 3,564

คาดัชนีสุขภาวะมิติท่ี 1 สุขดวยการการจัดการ = 84.00

จากตารางที่ 24 พบวาคาดัชนีสุขภาวะองคกร สํานักงานศาลยุติธรรม มิติที่ 1 สุขดวย

การจัดการ (Management) มีคาเทากับ 84.00 ซึ่งสะทอนใหเห็นวา ปจจัยการสรางสุขดวยการจัดการ

ของสํานักงานศาลยุติธรรมนาอิจฉาท่ีสุด

Page 45: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

32

มิติท่ี 2 สขุดวยบรรยากาศและสภาพแวดลอมในท่ีทํางาน (Atmosphere & Environment)

วัดจากภาวะผูนําองคกร ผูบริหารเปนตนแบบการสรางสุขในองคกร บรรยากาศ ในที่ทํางานสงเสริมความสุขของบุคลากร การสรางเสริมใหเกิดสภาพแวดลอมการทํางานที ่ดี การสรางเสริมความปลอดภัยในการทํางาน การสรางเสริมคุณธรรมจริยธรรมในองคกร องคกรดูแลความสุขของครอบครัว การรวมพัฒนาชุมชน สังคม และการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม และการชวยเหลือบุคลากรที่ทุพพลภาพ/พิการใหกลับสูการทํางาน ดังนี้

ตารางที่ 25 บรรยากาศและสภาพแวดลอม

จํานวน (คน) รอยละ

ภาวะผูนําองคกร

(1) ผูนําสูงสุดไมมีแนวคิดและทิศทางการสรางสุขในองคกร 150 25.25

(2) ผูนําสูงสุดมแีนวคดิและทิศทางการสรางสุขในองคกร 24 4.04

(3) ผูนําสูงสุดมีการถายทอดแนวคิดและทิศทางการสรางสุขในองคกร

สูบุคลากรทุกระดบั

24 4.04

(4) ผูนําสูงสุดมีบทบาท/แสดงออกอยางชดัเจนตอการสรางสุขใน

องคกร

31 5.22

(5) ผูนําสูงสุดพัฒนาแนวคิด/แนวทางการสรางสุขในองคกรอยาง

ตอเนื่อง

365 61.45

ผูบริหารเปนตนแบบการสรางสุขในองคกร

(1) ผูบริหารยังไมเปนตนแบบการสรางสุขในองคกร 133 22.39

(2) ผูบริหารบางสวนเปนตนแบบการสรางสุขในองคกร 84 14.14

(3) ผูบริหารสวนใหญเปนตนแบบการสรางสุขในองคกร 29 4.88

(4) ผูบริหารทุกระดับเปนตนแบบการสรางสุขในองคกร 9 1.52

(5) ผูบริหารเปนตนแบบการสรางสุขเปนท่ียอมรับท้ังภายในและ

ภายนอกองคกร

339 57.07

บรรยากาศในที่ทํางานสงเสริมความสุขของบุคลากร เชน ความสัมพันธ

ระหวางบุคคล

(1) ไมมแีนวทางการสรางบรรยากาศสงเสริมความสุขของบคุลากร 200 33.67

(2) มีแนวทางการสรางบรรยากาศสงเสริมความสุขของบุคลากร 25 4.21

(3) มีกิจกรรมสรางบรรยากาศสงเสริมความสุขของบุคลากร 64 10.77

(4) มีการประเมินกิจกรรมสรางบรรยากาศสงเสริมความสุขของ

บุคลากร

9 1.52

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุ/พัฒนาการสรางบรรยากาศ

สงเสริมความสุขของบุคลากร

296 49.83

Page 46: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

33

ตารางที่ 25 (ตอ) จํานวน (คน) รอยละ

การเสริมสรางใหเกิดสภาพแวดลอมการทํางานท่ีดี (เชน การจัดสถานที่ให

เอื้อตอการทํางาน)

(1) ไมมแีนวทางสรางเสริมใหเกดิสภาพแวดลอมการทํางานที่ด ี 187 31.48

(2) มีแนวทางสรางเสรมิใหเกดิสภาพแวดลอมการทํางานทีด่ ี 51 8.59

(3) มีกิจกรรมสรางเสริมใหเกิดสภาพแวดลอมการทํางานทีด่ ี 39 6.56

(4) มีการประเมินผลการสรางเสริมใหเกิดสภาพแวดลอมการทํางานทีด่ ี 14 2.36

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุ/พัฒนาแนวทางและกิจกรรม

การสรางเสริมใหเกิดสภาพแวดลอมการทํางานท่ีด ี

303 51.01

การสรางเสริมความปลอดภัยในการทํางาน

(1) ไมมแีนวทางสรางเสริมความปลอดภัยในการทํางาน 134 22.56

(2) มีแนวทางสรางเสรมิความปลอดภัยในการทํางาน 15 2.52

(3) มีการดําเนินการสรางเสริมความปลอดภัยในการทํางาน 67 11.28

(4) มีการประเมินผลการดําเนนิการสรางเสริมความปลอดภัยในการ

ทํางาน

21 3.54

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุ/พัฒนาแนวทางและกิจกรรม

ดําเนินการสรางเสริมความปลอดภัยในการทํางาน

357 60.10

การสรางเสริมคุณธรรม จริยธรรม ในองคกร

(1) ไมมแีนวทางสรางเสริมคุณธรรม จริยธรรมในองคกร 85 14.31

(2) มีแนวทางสรางเสรมิคุณธรรม จริยธรรมในองคกร 80 13.47

(3) มีการดําเนินการยกยองเชดิชูใหรางวัลบคุคลท่ีมคีุณธรรม จริยธรรม 26 4.38

(4) มีการประเมินแนวทางสรางเสริมคุณธรรม จริยธรรมในองคกร 27 4.54

(5) นําผลการประเมนิมาปรบัปรุง/พัฒนาแนวทางการสรางเสริม

คุณธรรม จริยธรรมในองคกร

376 63.30

องคกรดูแลความสุขของครอบครัวบุคลากรเปนอยางดี

(1) ไมมแีนวทางในการดแูลความสุขของครอบครัวบุคลากร 313 52.69

(2) มีแนวทางในการดแูลความสุขของครอบครวับคุลากร 47 7.91

(3) มีกิจกรรมการดูแลความสุขของครอบครัวบุคลากรเปนอยางดี 21 3.54

(4) มีการประเมินแนวทางการดแูลความสุขของครอบครวับคุลากร 5 0.84

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุ/พัฒนาแนวทางและกิจกรรม

ดูแลความสุขของครอบครวับุคลากร

208 35.02

Page 47: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

34

ตารางที่ 25 (ตอ) จํานวน (คน) รอยละ

การรวมพัฒนาชุมชนสังคมและดูแลรักษาส่ิงแวดลอม

(1) ไมมแีนวทางรวมพัฒนาชุมชนและดแูลรักษาส่ิงแวดลอม 231 38.89

(2) มีแนวทางรวมพัฒนาชุมชนและดูแลรักษาส่ิงแวดลอม 16 2.69

(3) มีกิจกรรมรวมพัฒนาชมุชนและดูแลรักษาส่ิงแวดลอม 74 12.46

(4) มีการประเมินผลกิจกรรมรวมพัฒนาชุมชนและดแูลรักษา

ส่ิงแวดลอม

9 1.52

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุ/พัฒนาแนวทางและกิจกรรม

รวมพัฒนาชมุชนและดแูลรกัษาส่ิงแวดลอม

264 44.44

การชวยเหลือบุคลากรที่ทุพพลภาพ/พิการใหกลับสูงาน

(1) ไมมแีนวทางการชวยเหลือบคุลากรที่ทุพพลภาพ/พิการใหกลับสูงาน 333 56.06

(2) มีแนวทางการชวยเหลือบคุลากรที่ทุพพลภาพ/พิการใหกลับสูงาน 8 1.35

(3) มีการปฏิบัตติามแนวทางการชวยเหลือบคุลากรที่ทุพพลภาพ/พิการ

ใหกลับสูงาน

29 4.88

(4) มีการประเมินผลแนวทางการชวยเหลือบคุลากรที่ทุพพลภาพ/

พิการใหกลับสูงาน

6 1.01

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุ/พัฒนาแนวทางการชวยเหลือ

บุคลากรท่ีทุพพลภาพ/พิการใหกลับสูงาน

218 36.70

จากตารางที่ 25 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาผูนําสูงสุดมีการพัฒนาแนวคิด

หรือแนวทางการสรางสุขในองคกรอยางตอเนื่อง รอยละ 61.45 ผูนําสูงสุดไมมีแนวคิดและทิศทางการ

สรางสุขในองคกร รอยละ 25.25 ผูนําสูงสุดมีบทบาทหรือแสดงออกอยางชัดเจนตอการสรางสุข

ในองคกรแตขาดความตอเนื่อง รอยละ 5.22 ผูนําสูงสุดมีการถายทอดแนวคิดและทิศทางการสรางสุข

ในองคกรสูบุคลากรทุกระดับ แตไมไดแสดงออกอยางชัดเจน รอยละ 4.04 และผูนําสูงสุดมีเพียงแนวคิด

และทิศทางการสรางสุขในองคกร แตไมไดนํามาถายทอด รอยละ 4.04 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาผูบริหารเปนตนแบบการสรางสุขเปนท่ียอมรับ

ทั้งภายในและภายนอกองคกร รอยละ 57.07 ผูบริหารยังไมเปนตนแบบการสรางสุขในองคกร รอยละ

22.39 ผูบริหารบางสวนเปนตนแบบการสรางสุขในองคกร รอยละ 14.14 ผูบริหารสวนใหญเปน

ตนแบบการสรางสุขในองคกร รอยละ 4.88 และผูบริหารทุกระดับเปนตนแบบการสรางสุขในองคกร

รอยละ 1.52 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรมีกิจกรรมสรางบรรยากาศในท่ีทํางานสงเสริม

ความสุขของบุคลากร และมีการประเมินผล นําผลการประเมินมาปรับปรุงหรือพัฒนาการสราง

บรรยากาศในที่ทํางาน รอยละ 49.83 ไมมีแนวทางการสรางบรรยากาศสงเสริมความสุขของบุคลากร

Page 48: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

35

รอยละ 33.67 มีกิจกรรมสรางบรรยากาศสงเสริมความสุขของบุคลากร แตไมมีการประเมินผล รอยละ

10.77 มีแนวทางการสรางบรรยากาศสงเสริมความสุขของบุคลากรแตไมไดดําเนินกิจกรรม รอยละ 4.21

และมีการประเมินกิจกรรมสรางบรรยากาศสงเสริมความสุขของบุคลากร แตไมไดนําผลมาปรับปรุง รอย

ละ 1.52 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรมีการประเมินผลกิจกรรมการเสริมสราง

สภาพแวดลอมการทํางานที่ดี และมีการนําผลมาปรับปรุงหรือพัฒนาแนวทางและกิจกรรม รอยละ

51.01 ไมมีแนวทางสรางเสริมใหเกิดสภาพแวดลอมการทํางานที่ดี รอยละ 31.48 มีแนวทางสรางเสริม

ใหเกิดสภาพแวดลอมการทํางานที่ดี แตไมไดดําเนินการ รอยละ 8.59 มีกิจกรรมสรางเสริมใหเกิด

สภาพแวดลอมการทํางานท่ีดี แตไมมีการประเมินผล รอยละ 6.56 และมีการประเมินผลการสรางเสริม

ใหเกิดสภาพแวดลอมการทํางานที่ดี แตไมไดนํามาปรับปรุง รอยละ 2.36 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรมีการสรางเสริมความปลอดภัยในการทํางาน

และมีการประเมินผลการดําเนินการ และปรับปรุงหรือพัฒนาแนวทางและกิจกรรมดําเนินการสรางเสริม

ความปลอดภัยในการทํางาน รอยละ 60.10 ไมมีแนวทางสรางเสริมความปลอดภัยในการทํางาน รอยละ

22.56 มีการดําเนินการสรางเสริมความปลอดภัยในการทํางาน แตไมมีการประเมินผล รอยละ 11.28

มีการประเมินผลการดําเนินการสรางเสริมความปลอดภัยในการทํางาน แตไมไดนํามาปรับปรุง รอยละ

3.54 และมีแนวทางสรางเสริมความปลอดภัยในการทํางาน แตไมไดดําเนินการ รอยละ 2.52

ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรมีการประเมินผลแนวทางการสรางเสริม

คุณธรรม จริยธรรมในองคกร และนําผลการประเมินมาปรับปรุงหรือพัฒนาแนวทาง รอยละ 63.30

ไมมีแนวทางสรางเสริมคุณธรรม จริยธรรมในองคกร รอยละ 14.31 มีแนวทางสรางเสริมคุณธรรม

จริยธรรมในองคกร แตไมมีการดําเนินการยกยองเชิดชูใหรางวัลบุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม รอยละ

13.47 มีการประเมินแนวทางสรางเสริมคุณธรรม จริยธรรมในองคกร แตไมมีการนํามาปรับปรุงหรือ

พัฒนาแนวทาง รอยละ 4.54 และมีการดําเนินการยกยองเชิดชูใหรางวัลบุคคลท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม

แตไมมีการประเมินผลแนวทาง รอยละ 4.38 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรไมมีแนวทางในการดูแลความสุขของครอบครัว

บุคลากร รอยละ 52.69 มีแนวทางการดูแลความสุขของครอบครัวบุคลากร และมีการประเมินผล

นําผลการประเมินมาปรับปรุงหรือพัฒนาแนวทาง รอยละ 35.02 มีแนวทางในการดูแลความสุขของ

ครอบครัวบุคลากรแตไมไดดําเนินการ รอยละ 7.91 มีกิจกรรมการดูแลความสุขของครอบครัวบุคลากร

เปนอยางดีแตไมมีการประเมินแนวทาง รอยละ 3.54 มีการประเมินแนวทางการดูแลความสุขของ

ครอบครัวบุคลากรแตไมไดนํามาปรับปรุง รอยละ 0.84 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรมีการประเมินกิจกรรมรวมพัฒนาชุมชนและ

ดูแลรักษาส่ิงแวดลอม และมีการนําผลการประเมินมาปรับปรุงหรือพัฒนาแนวทาง รอยละ 44.44 ไมมี

แนวทางรวมพัฒนาชุมชนและดูแลรักษาส่ิงแวดลอม รอยละ 38.89 มีกิจกรรมรวมพัฒนาชุมชนและ

Page 49: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

36

ดูแลรักษาส่ิงแวดลอมแตไมมีการประเมิลผลกิจกรรม รอยละ 12.46 มีแนวทางรวมพัฒนาชุมชนและ

ดูแลรักษาส่ิงแวดลอม แตไมไดดําเนินกิจกรรม รอยละ 2.69 มีการประเมินผลกิจกรรมรวมพัฒนาชุมชน

และดูแลรักษาส่ิงแวดลอมแตไมไดนํามาปรับปรุง รอยละ 1.52 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรไมมีแนวทางการชวยเหลือบุคลากรที่ทุพพลภาพ

หรือพิการใหกลับสูงาน รอยละ 56.06 มีการประเมินผลแนวทางและนําผลการประเมินมาปรับปรุง รอยละ

36.70 มีการปฏิบัติตามแนวทางการชวยเหลือบุคลากรท่ีทุพพลภาพหรือพิการใหกลับสูงาน

แตไมมีการประเมินผลแนวทาง รอยละ 4.88 มีแนวทางการชวยเหลือบุคลากรท่ีทุพพลภาพหรือพิการ

ใหกลับสูงานแตไมไดดําเนินการ รอยละ 1.35 มีการประเมินผลแนวทางการชวยเหลือบุคลากรที่ทุพพลภาพ

หรือพิการใหกลับสูงานแตไมไดนําผลมาปรับปรุง รอยละ 1.01 ตามลําดับ

วิธีการประมวลผล

ตารางที่ 26 คาดัชนีสุขภาวะองคกร มิติที ่2 สุขดวยบรรยากาศและสภาพแวดลอมในที่ทํางาน

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบสูงสุด (a)

1,766 350 373 131 2,726

(150+133+

200+187+

134+85+313+

231+333)

(24+84+25+

51+15+80+

47+16+8)

(24+29+64+

39+67+26+

21+74+29)

(31+9+9+14+

21+27+5+9+6)

(365+339+

296+303+

357+376+

208+264+218)

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 8,750 18,650 9,825 272,600

ผลรวม 0 + 8,750 + 18,650 + 9,825 + 272,600 309,825

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 9) หาร 5,346

คาดัชนีสุขภาวะมิติท่ี 2 สุขดวยบรรยากาศและสภาพแวดลอมในท่ีทํางาน = 57.95

จากตารางที่ 26 พบวาคาดัชนีสุขภาวะองคกร สํานักงานศาลยุติธรรม มิติท่ี 2 สุขดวย

บรรยากาศและสภาพแวดลอมในที่ทํางาน (Atmosphere & Environment) มีคาเทากับ 57.95

ซึ่งสะทอนใหเห็นวา ปจจัยการสรางสุขดวยบรรยากาศและสภาพแวดลอมในท่ีทํางานของสํานักงาน

ศาลยุติธรรมกําลังกาวหนา

Page 50: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

37

มิติท่ี 3 สขุดวยกระบวนการสรางสุข (Process)

วัดจากคณะทํางาน/ผูรับผิดชอบการกํากับดูแลนโยบายองคกรสรางสุข การสรางชองทาง การส่ือสารเรื่องการสรางสุขในองคกร การเรียนรูเรื่องการสรางสุขในองคกร การสนับสนุนทรัพยากรจากองคกร องคกรความสําคัญเรื่องสุขภาวะเปนทุนแบบหนึ่ง การมีสวนรวมในกิจกรรมสรางสุข และคุณภาพของกระบวนการประเมินองคกรสรางสุข ดังนี้

ตารางที่ 27 กระบวนการสรางสุข

จํานวน (คน) รอยละ

คณะทํางาน/ผูรับผิดชอบการกํากับดูแลนโยบายองคกรสรางสุข

(1) ไมมีคณะทํางาน/ผูรบัผิดชอบกํากบันโยบายองคกรสรางสุข 371 62.46

(2) มีคณะทํางาน/ผูรับผิดชอบกาํกับนโยบายองคกรสรางสุข 4 0.67

(3) คณะทํางาน/ผูรบัผิดชอบมแีนวทางการทํางานที่ชดัเจน 6 1.01

(4) มีการประเมินการทํางานของคณะทํางาน/ผูรับผิดชอบกาํกับนโยบาย

องคกรสรางสุข

3 0.51

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุและพัฒนาการทํางานของ

คณะทํางาน/ผูรบัผิดชอบกาํกับนโยบายองคกรสรางสุข

210 35.35

การสรางชองทางการส่ือสารเรื่องการสรางสุขในองคกร

(1) ไมมีชองทางการส่ือสารเรื่องการสรางสุขในองคกร 328 55.22

(2) มีชองทางการส่ือสารเรื่องการสรางสุขในองคกรอยางนอยหนึ่งชองทาง 27 4.55

(3) มีชองทางการส่ือสารเรื่องการสรางสุขในองคกรหลายชองทาง 17 2.86

(4) มีการประเมินชองทางการส่ือสารเรือ่งการสรางสุขในองคกร 5 0.84

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุ/พัฒนาชองทางการส่ือสารเรือ่ง

การสรางสุขในองคกร

217 36.53

การเรียนรูการสรางสุขในองคกร

(1) ไมมแีนวทางการเรียนรูการสรางสุขในองคกร 332 55.89

(2) มีแนวทางการเรียนรูการสรางสุขในองคกร 22 3.70

(3) มีการรวบรวมและจัดเก็บความรูเรื่องการสรางสุขในองคกร 10 1.68

(4) มีการแลกเปล่ียนเรียนรูถายทอดเรือ่งการสรางสุขในองคกร 8 1.35

(5) มีการแลกเปล่ียนเรียนรูถายทอดเรือ่งการสรางสุขในองคกรกบั

ภายนอกองคกร

222 37.38

Page 51: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

38

ตารางที่ 27 (ตอ) จํานวน (คน) รอยละ

การสนับสนุนทรัพยากรจากองคกร

(1) ไมมีการสนับสนนุทรัพยากรเพ่ือการสรางสุขจากองคกร 315 53.03

(2) มีการสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการสรางสุขจากองคกร 23 3.87

(3) องคกรสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการสรางสุขในองคกรอยางตอเนื่อง 22 3.71

(4) มีการประเมินการสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการสรางสุขจากองคกร 5 0.84

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุ/พัฒนาการสนับสนนุทรัพยากร

เพ่ือการสรางสุขจากองคกร

229 38.55

องคกรใหความสําคัญเรื่องสุขภาวะวาเปนทุนแบบหนึ่ง

(1) องคกรใหความสําคัญวาการสรางสุขเปนทุนแบบหนึง่ 341 57.41

(2) บุคลากรมองเหน็ความสําคญัวาการสรางสุขเปนทุนแบบหนึง่ 16 2.69

(3) ฝายบุคลากรใหความสําคัญวาการสรางสุขเปนทนุแบบหนึ่ง 8 1.35

(4) ผูนําองคกรใหความสําคัญวาการสรางสุขเปนทุนแบบหนึ่ง 21 3.53

(5) บุคลากรทุกระดบัใหความสําคัญวาเรือ่งสุขภาวะเปนทุนแบบหนึง่ 208 35.02

การมีสวนรวมในกิจกรรมสรางสุข

(1) ทานไมมีสวนรวมในการกําหนดกิจกรรมสรางสุขในองคกร 333 56.06

(2) ทานมีสวนรวมในการกําหนดกิจกรรมสรางสุขในองคกร 5 0.84

(3) ทานมีสวนรวมในการวางแผนกิจกรรมสรางสุขในองคกร 7 1.18

(4) ทานมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมสรางสุขในองคกร 21 3.54

(5) ทานมีสวนรวมในการพัฒนา/ปรับปรุงกิจกรรมสรางสุขในองคกร 228 38.38

คุณภาพของกระบวนการประเมินองคกรสรางสุข

(1) ไมมแีนวทางประเมนิคุณภาพกระบวนการสรางสุขในองคกร 368 61.95

(2) มีแนวทางประเมนิคุณภาพกระบวนการสรางสุขในองคกร 6 1.01

(3) มีการประเมินคุณภาพกระบวนการสรางสุขในองคกร 5 0.84

(4) มีการรายงานผลการประเมนิคุณภาพกระบวนการสรางสุขในองคกร

ตอผูบริหาร/บุคลากร

6 1.01

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุ/พัฒนาคุณภาพกระบวนการ

สรางสุขในองคกร

209 35.19

Page 52: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

39

จากตารางที่ 27 พบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรไมมีคณะทํางานหรือ

ผูรับผิดชอบกํากับนโยบายองคกรสรางสุข รอยละ 62.46 มีการประเมินผลการทํางาน และนําผลการ

ประเมินมาปรับปรุง รอยละ 35.35 มีคณะทํางานหรือผูรับผิดชอบมีแนวทางการทํางานที่ชัดเจนแตไมมี

การประเมินผลการทํางาน รอยละ 1.01 มีคณะทํางานหรือผูรับผิดชอบกํากับนโยบายองคกรสรางสุข

แตไมมีแนวทางที่ชัดเจน รอยละ 0.67 และมีการประเมินการทํางานของคณะทํางานหรือผูรับผิดชอบ

กํากับนโยบายองคกรสรางสุขแตไมมีการนําผลมาปรับปรุง รอยละ 0.51 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรไมมีชองทางการส่ือสารเรื่องการสรางสุข รอยละ

55.22 มีการประเมินชองทางการส่ือสารเรื่องการสรางสุขในองคกรและนําผลการประเมินมาปรับปรุง

รอยละ 36.53 มีชองทางการส่ือสารเรื่องการสรางสุขในองคกรอยางนอยหนึ่งชองทาง รอยละ 4.55

มีชองทางการส่ือสารเรื่องการสรางสุขในองคกรหลายชองทางแตไมมีการประเมิน รอยละ 2.86 และ

มีการประเมินชองทางการส่ือสารเรื่องการสรางสุขในองคกร แตไมมีการนําผลการประเมินมาปรับปรุง

รอยละ 0.84 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรไมมีแนวทางการเรียนรูการสรางสุขในองคกร

รอยละ 55.89 มีการแลกเปล่ียนเรียนรูถายทอดเรื่องการสรางสุขในองคกรกับภายนอกองคกร รอยละ

37.38 มีแนวทางการเรียนรูการสรางสุขในองคกร แตไมมีการรวบรวมและจัดเก็บความรู รอยละ 3.70

มีการรวบรวมและจัดเก็บความรูเรื่องการสรางสุขในองคกรแตไมมีการแลกเปล่ียนเรียนรูและถายทอด

รอยละ 1.68 มีการแลกเปล่ียนเรียนรูถายทอดเรื่องการสรางสุขภายในองคกรเทานั้น รอยละ 1.35

ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรไมมีการสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการสรางสุข

จากองคกร รอยละ 53.03 มีการประเมินการสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการสรางสุขจากองคกรและมีการ

นําผลการประเมินมาปรับปรุง รอยละ 38.55 มีการสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการสรางสุขจากองคกรแบบ

ไมตอเนื่อง รอยละ 3.87 มีการสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการสรางสุขในองคกรอยางตอเนื่อง รอยละ 3.71

มีการประเมินการสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการสรางสุขจากองคกรแตไมไดนํามาปรับปรุง รอยละ 0.84

ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรใหความสําคัญวาการสรางสุขเปนทุนแบบหนึ่ง

รอยละ 57.41 บุคลากรทุกระดับใหความสําคัญวาเรื่องสุขภาวะเปนทุนแบบหนึ่ง รอยละ 35.02 ผูนํา

องคกรใหความสําคญัวาการสรางสุขเปนทุนแบบหนึ่ง รอยละ 3.53 บุคลากรมองเห็นความสําคัญวาการ

สรางสุขเปนทุนแบบหนึ่ง รอยละ 2.69 และฝายบุคลากรใหความสําคัญวาการสรางสุขเปนทุนแบบหนึ่ง

รอยละ 1.35 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาตนเองไมมีสวนรวมในการกําหนดกิจกรรมสรางสุขใน

องคกร รอยละ 56.06 มีสวนรวมในการพัฒนาหรือปรับปรุงกิจกรรมสรางสุขในองคกร รอยละ 38.38

มีสวนรวมในการจัดกิจกรรมสรางสุขในองคกร รอยละ 3.54 มีสวนรวมในการวางแผนกิจกรรมสรางสุข

Page 53: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

40

ในองคกร รอยละ 1.18 และมีสวนรวมในการกําหนดกิจกรรมการสรางสุขในองคกร รอยละ 0.84

ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเหน็วาองคกรไมมแีนวทางประเมนิคุณภาพกระบวนการสราง

สุขในองคกร รอยละ 61.95 มีการประเมินคุณภาพกระบวนการสรางสุขในองคกรและนําผลการ

ประเมินมาปรบัปรงุ รอยละ 35.19 มีการรายงานผลการประเมินคุณภาพกระบวนการสรางสุขในองคกร

ตอผูบริหารหรือบุคลากร รอยละ 1.01 มีแนวทางประเมินคุณภาพกระบวนการสรางสุขในองคกร

แตไมไดดําเนินการ รอยละ 1.01 และมีการประเมินคุณภาพกระบวนการสรางสุขในองคกรแตไมได

รายงานผล รอยละ 0.84 ตามลําดับ

วิธีการประมวลผล

ตารางที่ 28 คาดัชนีสุขภาวะองคกร มิติที ่3 สุขดวยกระบวนการสรางสุข

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบสูงสุด (a)

2,388 103 75 69 1,523

(371+328+

332+315+341

+333+368)

(4+27+22+23+

16+5+6)

(6+17+10+22+

8+7+5)

(3+5+8+5+21

+21+6)

(210+217+

222+229+208

+228+209)

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 2,575 3,750 5,175 152,300

ผลรวม 0 + 2,575 + 3,750 + 5,175 + 152,300 163,800

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 7) หาร 4,158

คาดัชนีสุขภาวะมิติท่ี 3 สุขดวยกระบวนการสรางสุข = 39.39

จากตารางที่ 28 พบวาคาดัชนีสุขภาวะองคกร สํานักงานศาลยุติธรรม มิติท่ี 3 สุขดวย

กระบวนการสรางสุข (Process) มีคาเทากับ 39.39 ซึ่งสะทอนใหเห็นวา ปจจัยการสรางสุขดวย

กระบวนการสรางสุขของสํานักงานศาลยุติธรรมตองรีบแกไข

Page 54: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

41

มิติท่ี 4 สขุดวยสุขภาพกายและใจ (Health)

วัดจากพฤติกรรมเส่ียงดานสุขภาพของบุคลากร กิจกรรมสงเสริมการมีสวนรวมและสรางความสัมพันธอันดีในครอบครัว การเกิดอุบัติเหตุ/เจ็บปวย/เสียชีวิตเนื่องจากการทํางานในสถานที่ทํางาน รอยละของวันลาที่มีสาเหตุจากอุบัติเหตุอันเนื่องจากการทํางาน การออกกําลังกาย รอยละของคาดัชนีมวลกาย (BMI) อยูในระดับปกติ ระดับความสุขของบุคลากร ระดับความพึงพอใจในการทํางาน ระดับความเครียดของบุคลากร และระดับความรูสึกเปนเจาของรวมของบุคลากรในองคกร ดังนี้

ตารางที่ 29 สุขภาพกายและใจ

จํานวน (คน) รอยละ

พฤติกรรมเส่ียงดานสุขภาพ (การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา ฯลฯ)

(1) ไมมขีอมูลบคุลากรที่มีพฤตกิรรมเส่ียงดานสุขภาพ 346 58.25

(2) มีขอมูลบุคลากรที่มีพฤติกรรมเส่ียงดานสุขภาพ 67 11.28

(3) มีกิจกรรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมที่เส่ียงตอสุขภาพ 24 4.04

(4) มีการประเมินผลการแกไขปญหาพฤติกรรมเส่ียงตอสุขภาพ 7 1.18

(5) มีการนําผลการประเมินมาปรับปรงุ/พัฒนากิจกรรมปรับเปล่ียน

พฤติกรรมที่เส่ียงตอสุขภาพ

150 25.25

กิจกรรมสงเสริมการมีสวนรวมและสรางความสัมพันธอันดีในครอบครัว

(1) ไมมีการจัดกิจกรรมสรางความสัมพันธที่ดีในครอบครวั 392 65.99

(2) มีการจัดกิจกรรมสรางความสัมพันธทีด่ีในครอบครัว 6 1.01

(3) ครอบครัวและบุคลากรมีสวนรวมในกิจกรรมสรางสุข 21 3.54

(4) มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมสรางสัมพันธท่ีดีในครอบครวั 4 0.67

(5) มีการนําผลประเมินมาปรับปรุง/พัฒนาแนวทางและกจิกรรม 171 28.79

การเกิดอุบัติเหตุ/เจ็บปวย/เสียชีวิต เนื่องจากการทํางาน

(1) มีผูปฏิบัตหินาที่ไดรบัอุบตัิเหตุจนถึงขั้นเสียชีวติจากการทํางาน - 0.00

(2) รอยละของการเกดิอุบตัิเหต ุ(ครัง้) เพ่ิมมากขึ้นกวาในปที่ผานมา 41 6.90

(3) รอยละของการเกดิอุบตัิเหต ุ(ครัง้) มีจํานวนเทากับปท่ีผานมา - 0.00

(4) รอยละของการเกดิอุบตัิเหต ุ(ครัง้) มีจํานวนลดลงกวาในปที่ผานมา 44 7.41

(5) ไมมีการเกิดอบุัตเิหตุเนือ่งจากการทํางานเกดิขึน้ 509 85.69

Page 55: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

42

คําตอบในภาพรวม

การลาของบุคลากรที่มีสาเหตุจากอุบัติเหตุอันเนื่องจากการทํางาน

(1) ไมมีการบนัทึกขอมูลวันลาทีม่ีสาเหตุจากอุบตัิเหตุเนื่องจากการ

ทํางาน

- 0.00

(2) รอยละของวนัลาทีม่ีสาเหตจุากอุบตัิเหตุ อันเนื่องจากการทํางาน

เพ่ิมขึ้นกวาปท่ีผานมา

25 4.21

(3) รอยละของวนัลาทีม่ีสาเหตจุากอุบตัิเหตุ อันเนื่องจากการทํางาน

เทากับปที่ผานมา

- 0.00

(4) รอยละของวนัลาทีม่ีสาเหตจุากอุบตัิเหตุ อันเนื่องจากการทํางาน

ลดลงกวาปท่ีผานมา

41 6.90

(5) ไมมีการลางานดวยอุบตัิเหตอุันเนือ่งจากการทํางาน 528 88.89

การออกกําลังกายในภาพรวม

(1) บุคลากรไมมีกิจกรรมออกกาํลังกายในบริเวณองคกร

(2) บุคลากรออกกําลังกาย นอยกวารอยละ 25

(3) บุคลากรออกกําลังกาย นอยกวารอยละ 50

(มีบุคลากรออกกําลังกาย รอยละ 48.99 และไมมีกิจกรรมออกกําลังกาย รอยละ 51.01)

/

(4) บุคลากรออกกําลังกาย นอยกวารอยละ 75

(5) บุคลากรออกกําลังกาย รอยละ 75 ขึน้ไป

รอยละของคาดัชนีมวลกาย (BMI) ของบุคลากรในภาพรวมที่อยูในระดับปกติ

(1) ไมมีการคาํนวณคา BMI ของบุคลากร หรือไมมีการบันทึกภาวะอวนลงพุง

(2) คาดัชนีมวลกาย (BMI) อยูในระดับปกติหรอืไมมีภาวะอวนลงพุง รอยละ 1 – 24

(3) คาดัชนีมวลกาย (BMI) อยูในระดับปกติหรอืไมมีภาวะอวนลงพุง รอยละ 25 – 49

(ขอมูลมาจากตารางท่ี 4 คาดัชนีมวลกาย (BMI) อยูในระดับปกติหรือไมมีภาวะ

อวนลงพุง รอยละ 48.65 และมีคา BMI มากกวาปกติ รอยละ 51.35)

/

(4) คาดัชนีมวลกาย (BMI) อยูในระดับปกติหรอืไมมีภาวะอวนลงพุง รอยละ 50 – 74

(5) คาดัชนีมวลกาย (BMI) อยูในระดับปกติหรอืไมมีภาวะอวนลงพุง รอยละ 75 ขึน้ไป

Page 56: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

43

คําตอบในภาพรวม

ระดับความสุขของบุคลากรในองคกรภาพรวม

(1) ไมมีการสํารวจระดับความสุขของบุคลากรในองคกร

(2) ความสุขของบคุลากรอยูในระดบัสูง นอยกวารอยละ 25

(ความสุขของบุคลากรอยูในระดับสูง รอยละ 12.79 อยูในระดับปานกลาง รอยละ

69.53 และอยูในระดับต่ํา รอยละ 17.68)

/

(3) ความสุขของบคุลากรอยูในระดบัสูง รอยละ 25 – 49

(4) ความสุขของบคุลากรอยูในระดบัสูง รอยละ 50 – 74

(5) ความสุขของบคุลากรอยูในระดบัสูง รอยละ 75 ขึน้ไป

ระดับความพึงพอใจในการทํางานของบุคลากรภาพรวม

(1) ไมมีการสํารวจระดับความพึงพอใจในการทํางานของบุคลากร

(2) ความพึงพอใจในการทํางานอยูในระดับสูง นอยกวารอยละ 25

(ความพึงพอใจในการทํางานของบุคลากรอยูในระดับสูง รอยละ 17.00

อยูในระดับปานกลาง รอยละ 72.06 และอยูในระดับต่ํา รอยละ 10.94)

/

(3) ความพึงพอใจในการทํางานอยูในระดับสูง รอยละ 25 – 49

(4) ความพึงพอใจในการทํางานอยูในระดับสูง รอยละ 50 – 74

(5) ความพึงพอใจในการทํางานอยูในระดับสูง รอยละ 75 ขึน้ไป

ระดับความเครียดของบุคลากรภาพรวม

(1) ไมมีการสํารวจระดับความเครียดของบุคลากร

(2) บุคลากรมีความเครียดในระดับสูง รอยละ 15 ขึน้ไป

(ความเครียดของบุคลากรอยูในระดับสูง รอยละ 22.73 อยูในระดับปานกลาง

รอยละ 56.06 และอยูในระดับต่ํา รอยละ 21.21)

/

(3) บุคลากรมีความเครียดในระดับสูง รอยละ 10 – 14

(4) บุคลากรมีความเครียดในระดับสูง รอยละ 5 – 9

(5) บุคลากรมีความเครียดในระดับสูง นอยกวารอยละ 5

ระดับความรูสึกเปนเจาขององคกรในภาพรวม

(1) ไมมีการสํารวจระดับความรูสึกเปนเจาของรวมของบคุลากรในองคกร

(2) บุคลการมีความรูสึกเปนเจาของรวมในระดับสูง นอยกวารอยละ 25

(ความรูสึกเปนเจาของรวมของบุคลากรในระดับสูง รอยละ 17.51

อยูในระดับปานกลาง รอยละ 56.56 และอยูในระดับต่ํา รอยละ 25.93)

/

(3) บุคลการมีความรูสึกเปนเจาของรวมในระดับสูง นอยกวารอยละ 25 – 49

(4) มีบุคลการมคีวามรูสึกเปนเจาของรวมในระดับสูง นอยกวารอยละ 50 – 74

(5) บุคลการมีความรูสึกเปนเจาของรวมในระดับสูง รอยละ 75 ขึ้นไป

Page 57: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

44

จากตารางที่ 29 พบวาผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรไมมีขอมูลบุคลากรที่มี

พฤติกรรมเส่ียงดานสุขภาพ รอยละ 58.25 มีขอมูลบุคลากรท่ีมีพฤติกรรมเส่ียงดานสุขภาพ และมี

กิจกรรมปรับเปล่ียนและประเมินผลกิจกรรมและปรับปรุงกิจกรรม รอยละ 25.25 มีขอมูลบุคลากรที่มี

พฤติกรรมเส่ียงดานสุขภาพแตไมมีกิจกรรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมนั้น รอยละ 11.28 มีกิจกรรม

ปรับเปล่ียนพฤติกรรมที่เส่ียงตอสุขภาพแตไมมีการประเมินผลกิจกรรม รอยละ 4.04 และมีการ

ประเมินผลกิจกรรมแตไมไดนําผลมาปรับปรุง รอยละ 1.18 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาองคกรไมมีการจัดกิจกรรมสรางความสัมพันธท่ีดี

ในครอบครัว รอยละ 65.99 มีการจัดกิจกรรมและประเมินผลกิจกรรมและนําผลประเมินมาปรับปรุง

รอยละ 28.79 ครอบครัวและบุคลากรมีสวนรวมในกิจกรรมสรางสุขแตไมมีการประเมินผลกิจกรรม

รอยละ 3.54 มีการจัดกิจกรรมสรางความสัมพันธที่ดีในครอบครัวแตครอบครัวและบุคลากรไมมีสวนรวม

ในกิจกรรมสรางสุข รอยละ 1.01 และมีการประเมินผลการจัดกิจกรรมสรางสัมพันธที่ดีในครอบครัว

แตไมไดนําผลการประเมินมาปรับปรุง รอยละ 0.67 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามไมไดประสบอุบัติเหตุหรือพบวามีผูปฏิบัติหนาที่คนใดไดรับอุบัติเหตุ

เนื่องจากการทํางาน รอยละ 85.69 มีการเกิดอุบัติเหตุลดลงกวาปที่ผานมา รอยละ 7.41 และมีการ

การเกิดอุบัติเหตุมากกวาปที่ผานมา รอยละ 6.90 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามไมเคยลางานเพราะประสบอุบัติเหตุอันเนื่องจากการทํางาน รอยละ

88.89 มีการลางานที่มีสาเหตุจากอุบัติเหตุอันเนื่องจากการทํางานลดลงกวาปที่ผานมา รอยละ 6.90

และมีการลางานที่มีสาเหตุจากอุบัติเหตุอันเนื่องจากการทํางานเพ่ิมขึ้นกวาปผานมา รอยละ 4.21

ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามไมมีกิจกรรมออกกําลังกาย รอยละ 51.01 และมีกิจกรรมออกกําลังกาย

รอยละ 48.99 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีคาดัชนีมวลกาย (BMI) อยูในระดับมากกวาปกติ รอยละ 51.35

และมีคา BMI อยูในระดับปกติหรือไมมีภาวะอวนลงพุง รอยละ 48.65 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความสุขอยูในระดับปานกลาง รอยละ 69.53 อยูในระดับต่ํา รอยละ

17.68 และอยูในระดับสูง รอยละ 12.79 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจในการทํางานอยูในระดับปานกลาง รอยละ 72.06

อยูในระดับสูง รอยละ 17.00 และอยูในระดับต่ํา รอยละ 10.94 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความเครียดอยูในระดับปานกลาง รอยละ 56.06 อยูในระดับสูง

รอยละ 22.73 และอยูในระดับต่ํา รอยละ 21.21 ตามลําดับ

ผูตอบแบบสอบถามมีความรูสึกเปนเจาของรวมกับองคกรอยูในระดับปานกลาง รอยละ

56.56 อยูในระดับต่ํา รอยละ 25.93 และอยูในระดับสูง รอยละ 17.51 ตามลําดับ

Page 58: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

45

วิธีการประมวลผล

ตารางที่ 30 คาดัชนีสุขภาวะองคกร มิติที ่4 สุขดวยสุขภาพกายและใจ

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบสูงสุด (a)

738 2,515 1,233 96 1,358

(346+392) (67+6+41+25+

594+594+594

+594)

(24+21+

594+594)

(7+4+44+41) (150+171+

509+528)

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 62,875 61,650 7,200 135,800

ผลรวม 0 + 62,875 + 61,650 + 7,200 + 135,800 267,525

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 10) หาร 5,940

คาดัชนีสุขภาวะมิติท่ี 4 สุขดวยสุขภาพกายและใจ = 45.04

จากตารางที่ 30 พบวาคาดัชนีสุขภาวะองคกร สํานักงานศาลยุติธรรม มิติท่ี 4 สุขดวย

สุขภาพกายและใจ (Health) มีคาเทากับ 45.04 ซึ่งสะทอนใหเห็นวา ปจจัยการสรางสุขดวยสุขภาพกาย

และใจของสํานักงานศาลยุติธรรมตองรีบแกไข

Page 59: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

46

มิติท่ี 5 สขุดวยผลลัพธองคกร (Result)

วัดจากความเช่ือมั่นในการยอมรบัเปาหมายและคานยิมองคกรของบุคลากร ความเต็มใจ

ที่จะทุมเทความพยายามอยางเต็มที่ในการทํางานเพ่ือประโยชนขององคกร พรอมรับความเปล่ียนแปลง

และความตองการที่จะเปนสมาชิกขององคกร ดังนี้

ตารางที่ 31 ผลลัพธองคกร

จํานวน (คน) รอยละ

ความผูกพันในองคกร

ก. บุคลากรมีความเชื่อมัน่ในการยอมรับเปาหมายและคานยิมขององคกร

ข. บุคลากรมีความเตม็ใจที่จะทุมเทความพยายามอยางเตม็ที่ในการทํางาน

เพ่ือประโยชนขององคกร พรอมรบัความเปล่ียนแปลง

ค. บุคลากรมีความตองการที่จะเปนสมาชกิขององคกร

(1) ไมมีทัง้สามขอ 60 10.10

(2) มีขอใดขอหนึ่ง 17 2.86

(3) มีขอ ก และ ข หรือ ขอ ก และ ค 35 5.89

(4) มีขอ ข และ ค 42 7.07

(5) มีครบทัง้สามขอ 440 74.08

จากตารางที่ 31 พบวาผูตอบแบบสอบถามมีความตองการท่ีจะเปนสมาชิกขององคกร

มีความเต็มใจที่จะทุมเทเพ่ือประโยชนขององคกร พรอมรับความเปล่ียนแปลง และมีความเชื่อมั่นในการ

ยอมรับเปาหมายและคานิยมขององคกร รอยละ 74.08 ไมมีความผูกพันในองคกรเลย รอยละ 10.10

ไมมีความเชื่อมั่นในการยอมรับเปาหมายและคานิยมขององคกรแตเต็มใจที่จะทํางานพรอมรับความ

เปล่ียนแปลงและตองการเปนสมาชิกขององคกร รอยละ 7.07 มีความเชื่อมั่นในการยอมรับเปาหมาย

และคานิยมขององคกรและมีความเต็มใจในการทํางานพรอมรับความเปล่ียนแปลงหรือมีความเชื่อมั่นใน

การยอมรับเปาหมายและคานิยมขององคกรและมีความตองการที่จะเปนสมาชิกขององคกร รอยละ

5.89 มีความเชื่อมั่นในองคกรหรือมีความเต็มใจในการทํางานหรือมีความตองการท่ีจะเปนสมาชิกของ

องคกรเพียงขอใดขอหนึ่ง รอยละ 2.86 ตามลําดับ

Page 60: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

47

วิธีการประมวลผล

ตารางที่ 32 คาดัชนีสุขภาวะองคกร มิติที ่5 สุขดวยผลลัพธองคกร

คาคําตอบสูงสุด (1) (2) (3) (4) (5)

จํานวนคนที่ตอบ

คาคําตอบสูงสุด (a) 60 17 35 42 440

น้ําหนัก (b) 0 25 50 75 100

ผลคูณ (a x b) 0 425 1,750 3,150 44,000

ผลรวม 0 + 425 + 1,750 + 3,150 + 44,000 49,325

หาร

จํานวนผูตอบแบบสอบถาม x จํานวนขอ

(594 x 1) หาร 594

คาดัชนีสุขภาวะมิติท่ี 5 สุขดวยผลลัพธองคกร = 83.04

จากตารางที่ 32 พบวาคาดัชนีสุขภาวะองคกร สํานักงานศาลยุติธรรม มิติท่ี 5 สุขดวย

ผลลัพธองคกร (Result) มีคาเทากับ 83.04 ซึ่งสะทอนใหเห็นวา ปจจัยการสรางสุขดวยผลลัพธองคกร

ของสํานักงานศาลยุติธรรมตองรีบแกไข

Page 61: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

48

สวนท่ี 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับชวงเวลาทํางาน

ดําเนินการจัดทําแบบสอบถามเกี่ยวกับการเดินทางมาทํางานในชีวิตประจําวัน ท้ังดาน

ระยะทาง ระยะเวลา พาหนะในการเดินทาง โดยผูตอบแบบสอบถามไดแสดงความคิดเห็นดังนี้

ผูตอบแบบสอบถามมีท่ีพักอาศัยหางจากสถานที่ทํางานระยะทางนอยกวา 1 กิโลเมตร

รอยละ 16.67 ระยะทาง 1 – 5 กิโลเมตร รอยละ 28.45 ระยะทาง 6 – 10 กิโลเมตร รอยละ 13.47

ระยะทาง 11 – 20 กิโลเมตร รอยละ 15.15 และระยะทางมากกวา 20 กิโลเมตร รอยละ 26.26

ดังแผนภูมิที่ 2

แผนภูมิที ่2 ระยะทางระหวางที่พักอาศัยกับสถานที่ทํางาน

ผูตอบแบบสอบถามใชระยะเวลาในการเดินทางจากที่พักอาศัยถึงสถานที่ทํางานไมเกิน

30 นาที รอยละ 50.84 ระยะเวลา 30 นาทีถึง 1 ชั่วโมง รอยละ 21.72 ระยะเวลา 1 – 2 ชั่วโมง รอยละ

21.04 และมากกวา 2 ชั่วโมง รอยละ 6.40 ดังแผนภูมิที่ 3

แผนภูมิที ่3 ระยะเวลาในการเดนิทางระหวางที่พักอาศยักับสถานที่ทํางาน

นอยกวา 1 กม. 1 - 5 กม. 6 - 10 กม. 11 - 20 กม. มากกวา 20 กม.

16.67 %

28.45 %

13.47 % 15.15 %

26.26 %

ไมเกิน 30 นาที 30 นาที - 1 ชม. 1 - 2 ชม. มากกวา 2 ชม.

50.84 %

21.72 % 21.04 %

6.40 %

Page 62: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

49

ผูตอบแบบสอบถามเดินทางจากที่พักอาศัยมาสถานท่ีทํางานโดยการเดินหรือจักรยาน

รอยละ 15.15 เดินทางโดยรถยนตหรอืรถจักรยานยนตสวนตวั รอยละ 67.68 เดินทางโดยรถสวสัดกิาร

รอยละ 1.35 เดินทางโดยรถรับจาง รอยละ 3.70 เดินทางโดยขนสงสาธารณะ รอยละ 11.45 และ

เดินทางมากกวาพาหนะใดพาหนะหนึ่ง รอยละ 0.67 ดังแผนภูมิที่ 4

แผนภูมิที ่4 พาหนะในการเดินทางมาสถานที่ทํางาน

ผูตอบแบบสอบถามเห็นดวยกับการปรับระบบเวลาการทํางาน รอยละ 81.14 และ

ไมเห็นดวย รอยละ 18.86 ดังแผนภูมิที่ 5

แผนภูมิที ่5 ความคดิเหน็ในการปรบัระบบเวลาการทํางาน

อ่ืนๆ/มากกวาพาหนะใดพาหนะหนึ่ง

ขนสงสาธารณะ

รถรับจาง

รถสวัสดิการ

รถยนต/รถจักรยานยนตสวนตัว

เดิน/จักรยาน

0.67 %

11.45 %

3.70 %

1.35 %

67.68 %

15.15 %

Page 63: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

50

ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นวาชวงเวลาทํางานที่ทําใหมีความสุขในการทํางาน

เพ่ิมมากขึ้นจากเวลาเดิม คือ ชวงเวลา 09.30 – 17.30 น. รอยละ 44.97 ชวงเวลา 07.30 – 15.30 น.

รอยละ 44.45 กําหนดเวลาการทํางานครบ 8 ชั่วโมงตอวัน รอยละ 6.08 กําหนดเวลาการทํางาน

นอยกวา 8 ชั่วโมงตอวัน รอยละ 3.70 ไมกําหนดชวงเวลาการทํางาน เนนปริมาณงาน รอยละ 0.53

และกําหนดเวลาการทํางานมากกวา 8 ชั่วโมงตอวัน รอยละ 0.27 ตามลําดับ ดังแผนภูมิที่ 6

แผนภูมิที ่6 ชวงเวลาทาํงานท่ีทําใหมคีวามสุขในการทาํงานเพ่ิมมากขึ้น

ผูตอบแบบสอบถามมีความเชื่อมั่นวาชวงเวลาที่เลือกสามารถทําใหมีความสุขในการ

ทํางานตามที่คาดหวังในระดับมาก รอยละ 44.95 ระดับมากที่สุด รอยละ 41.08 ระดับปานกลาง รอยละ

12.79 ระดับนอย รอยละ 0.67 และระดับนอยท่ีสุด รอยละ 0.51 ตามลําดับ ดังแผนภูมิที่ 7

แผนภูมิที ่7 ระดับความเชือ่มั่นในชวงเวลาท่ีเลือกสามารถทําใหมีความสุขในการทาํงานตามท่ีคาดหวัง

ระดับนอยท่ีสุด

ระดับนอย

ระดับปานกลาง

ระดับมาก

ระดับมากท่ีสุด

0.51 %

0.67 %

12.79 %

44.95 %

41.08 %

Page 64: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

51

ขอเสนอแนะ

ดานการบริหารจัดการ

(1) ควรใหมีการส่ือสารแบบสองทางทั้งผูปฏิบัติงานและผูบริหาร เพ่ือใหเกิดการมี

สวนรวมในการปฏิบัติงานองคกร

(2) ผูบริหารระดับตน เชน ผูอํานวยการ หัวหนาสวน ควรมีการถายทอดนโยบาย

ใหผูปฏิบัติงานทราบ

(3) ควรมีสนับสนุน พัฒนา และประเมินผลการนําดิจิทัลมาใชในการปฏิบัติงาน เพ่ือ

ปรับปรุงการทํางานใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

(4) ควรพิจารณาปรับปรุงระเบียบการปฏิบัติราชการ ใหสอดคลองกับการทํางาน

ยุคดิจิทัล เพ่ือการทํางานที่มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น

(5) ความขัดแยงในงานระหวางผูพิพากษาหัวหนาศาลกับผูอํานวยการ สงผลกระทบตอ

ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

(6) ควรใหความสําคัญกับสมาชิกทุกระดับในองคกร ไดแก ผูพิพากษา และเจาหนาที่

ธุรการมีความเทาเทียมกัน

(7) การติดตามผลการทํางานที่ใกลชิดเกินไปของผูบังคับบัญชา สงผลตอความภูมิใจ

และความเชื่อมั่นในตนเองของผูปฏิบัติงาน กระทบตอความสุขในการทํางาน

(8) ควรใหบุคลากรมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและแนวทางการบริหารงานหรือ

การดําเนินงานขององคกร

(9) นโยบายและขอส่ังการจากสวนกลางสงผลกระทบตอความเครียดและเพ่ิมภาระตอ

การปฏิบัติงานของสวนภูมิภาค

ดานการปรับระบบเวลาทํางาน

(1) ควรมีการปรับเวลาปฏิบัติราชการใหมีความยืดหยุน และเปดโอกาสใหผูปฏิบัติงาน

สามารถเลือกเวลาเขา – ออกท่ีเหมาะสมกับตนเองได

(2) ควรพิจารณาทบทวนระบบการสแกนลายนิ้วมือ เพ่ือลดความกดดันอันสงผล

กระทบตอความสุขในการปฏิบัติงาน

(3) ควรกําหนดใหมีโครงการนํารองเพ่ือทดลองและคนหาวางานประเภทใดสามารถ

ปฏิบัติไดโดยไมตองมาประจําที่สํานักงาน

ดานกระบวนการสรางสขุในองคกร

(1) ผูบริหารควรเปนตนแบบและใหความสําคัญกับกระบวนการสรางสุขในองคกร

(2) ควรสงเสริมและสนับสนุนใหมีกระบวนการสรางความสุขในการทํางานเปนประจํา

และตอเนื่อง

Page 65: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

52

(3) ควรสงเสริมและสนับสนุนใหมีกิจกรรม เพ่ือลดความเครียดและความกดดันภายใน

องคกร

(4) ควรใหบุคลากรมีสวนรวมในการกําหนดแนวทางการสรางสุขในการทํางาน

(5) ควรจัดกิจกรรมออกกําลังกายระหวางเวลาทํางาน 10 – 15 นาที

ดานภาระงาน

(1) ปริมาณงานที่มากเกินไปสงผลใหตองทํางานเกินเวลา

(2) ควรพิจารณาทบทวนหลักเกณฑการกําหนดชั่วโมง IDP ใหเหมาะสมสอดคลองกับ

ภาระงานในแตละหนวยงานท่ีแตกตางกัน เชน สวนกลาง และศาล

(3) การกําหนดระยะเวลาในการพิมพคําพิพากษาภายใน 7 วัน ไมสอดคลองกับการ

ปฏิบัติงานและกระบวนการหรือขั้นตอนที่เกิดขึ้นจริง

(4) ควรลดขั้นตอนการปฏิบัติงานท่ีไมจําเปน

ดานความกาวหนาในอาชพี (การบรรจุแตงตั้ง เล่ือนระดับ และโยกยาย)

(1) ควรทบทวนหลักเกณฑการเล่ือนระดับของขาราชการ เพ่ือเปนขวัญและกําลังใจ

มากขึ้น

(2) ควรพิจารณาทบทวนหลักเกณฑการบรรจุและแตงตั้งขาราชการในระดับหัวหนา

งานขึ้นไป โดยคํานึงถึงประสบการณและความเชี่ยวชาญท่ีเหมาะสมท่ีจะแตงตั้ง

(3) การพิจารณาโยกยายควรคํานึงถึงประเด็นของความสัมพันธและความสมบูรณของ

ครอบครัวมาประกอบการพิจารณาโยกยายดวยเพ่ือเปนขวัญและกําลังใจในการทํางาน

(4) ควรจัดใหมีพ่ีเล้ียงใหคําแนะนําและสอนงาน หรือใหคําปรึกษาแกผูปฏิบัติงาน กรณี

ที่มีการโยกยาย หรือบรรจุเขารับตําแหนงใหม

(5) การประเมินผลการปฏิบัติงาน ควรพิจารณาถึงผลการปฏิบัติงานเปนหลักมากกวา

ความสนิทสนมสวนตัว

(6) ควรพิจารณาหลักเกณฑการสอบคัดเลือกเพ่ือฝกอบรมหรือศึกษาดูงาน

ดานสวสัดิการ

(1) ควรพิจารณาคาตอบแทนพิเศษเพ่ิมขึ้น เพ่ือใหเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจใน

ปจจุบัน

(2) ควรพิจารณาทบทวนการอนุมัติใหเบิกเงินคาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา

ราชการในกรณีมีภาระงานมากและจําเปนตองทํางานลวงเวลา

(3) ควรกําหนดหลักเกณฑใหขาราชการสามารถพักอาศัยในบานพักขาราชการตลอด

อายุราชการโดยไมกําหนดระยะเวลา

(4) ควรจัดบานพักขาราชการใหเพียงพอตอจํานวนของบุคลากร

(5) ควรปรับลดคาสวนกลางของบานพักขาราชการ

Page 66: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

53

(6) ควรจัดรถสวัสดิการรับ-สงในเสนทางอื่น นอกเหนือจากปจจุบัน

(7) ควรมีการจัดสาธารณูปโภคเบื้องตน เชน น้ําดื่มสะอาดไวอยางครบถวนและ

เพียงพอ

(8) ควรพิจารณาทบทวนหลักเกณฑการจายเงินคาตอบแทนของลูกจางเหมาบริการให

มีความเหมาะสม และการหักเงินรายได และคาปรับในการลา

ดานสภาพแวดลอมในการทํางาน

(1) ควรปรับปรุงสภาพแวดลอมภายในหองทํางาน เชน หองเก็บสํานวน สงผลกระทบ

ตอสุขภาพของผูปฏิบัติงาน

(2) ควรมีการปรับปรุงซอมแซมอาคาร หองทํางาน ใหมีสภาพที่สมบูรณเหมาะสม

อยูเสมอ

(3) ควรจัดใหมีสถานที่จอดรถอยางเพียงพอตอเจาหนาที่และผูรับบริการ

Page 67: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2

54

บรรณานุกรม

ภัทรดนัย ฉลองบุญ. (2561). ความสุขในการปฏิบตัิงานของบคุลากรภาครฐั. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก:

file:///C:/Users/PC/Downloads/116468-Article%20Text-327007-1-10-

20180523%20(2).pdf. (วนัที่คนขอมูล : 25 กรกฎาคม 2562)

สถาบนัวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศกัดิ์. (2562). รายงานผลการศกึษาคุณภาพชวีิตของบุคลากรดานธุรการ

สํานักงานศาลยุตธิรรม พ.ศ. 2562. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: https://rabi.coj.go.th/th/

content/category/detail/id/10/cid/21/iid/131076. (วันทีค่นขอมูล : 26 กรกฎาคม

2562)

สํานักงานกองทนุสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ. (2555). คูมือการวดัความสุขดวยตนเอง

HAPPYNOMETER. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://resource.thaihealth.or.th/

library/musthave/14887. (วนัที่คนขอมูล : 30 กรกฎาคม 2562)

สํานักงานกองทนุสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ. (2555). คูมือตรวจสอบสุขภาวะระดับองคกรดวย

Happy Workplace Index. [ออนไลน]. เขาถงึไดจาก: http://resource.thaihealth.or.th/

hilight/13377. (วันที่คนขอมูล : 30 กรกฎาคม 2562)

Page 68: คํานํา · 1. ระยะเวลาในการจัดเก็บข อมูล ระหว างวันที่ 9 13 สิงหาคม 2562 – 2