รายงาน เรื่อง เห็ดขี้ควาย psliocybe...

35
รายงาน เรื่อง เห็ดขี้ควาย (Psliocybe cubensis (Earle) Sing.) เสนอ อาจารยดร.อุราภรณ สอาดสุด จัดทําโดย นางสาววรรณวิณี ผิวเผือก 490531062 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาBIOLOGY OF MUSHROOM 215411 ภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2549 คณะวิทยาศาสตร สาขาวิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Upload: others

Post on 29-Jan-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

รายงาน เรื่อง เห็ดขี้ควาย (Psliocybe cubensis (Earle) Sing.)

เสนอ อาจารยดร.อุราภรณ สอาดสุด

จัดทําโดย

นางสาววรรณวิณี ผิวเผือก 490531062

รายงานนี้เปนสวนหน่ึงของวิชาBIOLOGY OF MUSHROOM 215411 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549

คณะวิทยาศาสตร สาขาวิชาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม

2

Psliocybe cubensis (Earle) Sing.

ชื่อสามัญ เห็ดขี้ควาย บางแหงเรียกเห็ดโอรถลวงจิต หรือ Golden top หรือ Psilocybe mushroom หมวก รูปกระทะคว่ําแลวแบนลง เสนผาศูนยกลาง 6.5-8.8 เซนติเมตรผิวสีฟางขาวอมเหลือง กลาง

หมวกสีนํ้าตาลอมเหลือง มีเกล็ดเล็กๆ กระจายออกไปยังขอบหมวก ขอบมีร้ิวสั้นๆ โดยรอบ ครีบสีนํ้าตาลดํา สวนกลางกวางกวา ปลายทั้งสองขางไมยึดติดกับกาน

กาน ยาว 4.5-8 เซนติเมตร ใหญ 8-12 มิลลิเมตร โคนใหญกวาเล็กนอย สีฟางขาวอมเหลืองออน เน้ือสีขาว ผิวและเนื้อเม่ือช้ําเปนแผลจะเปลี่ยนเปนสีนํ้าเงิน หรือปนเปอนนํ้าเงินทันที

สปอร รูปรี หรือมะนาว สีนํ้าตาลดํา ผนังหนา ผิวเรียบ ดานบนมีปลายตัดเปนรูเล็ก ๆ เห็ดชนิดน้ีชอบขึ้นเปนดอกเด่ียวกลุมละ 4-5 ดอก บนพ้ืนดินที่มีมูลสัตว พวกมูลวัว มูลควาย

สรุปลักษณะโดยทั่วไปของเห็ดข้ีควาย

เห็ดขี้ควาย เปนเห็ดพิษซึ่งขึ้นอยูตามกองมูลควายแหง สีของเห็ดจะมีสีเหลืองซีดคลายสีฟางแหง บนหัวของรมจะมีสีนํ้าตาลเข็มจนถึงสีดํา บริเวณกาน (Stalk) ที่ใกลจะถึงตัวรม จะมีแผนเน้ือเยื่อบางๆ สีขาวแผขยายออกรอบกาน แผนน้ีมีลักษณะคลายวงแหวนเห็ดขี้ควายมีขึ้นอยูทั่วไปแทบทุกภาคของประเทศ ลักษณะของเห็ดตัวสมบูรณและโตเต็มที่ ตรงบริเวณหมวกจะมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 6.5 - 8.8 เซนติเมตร ความสูงของลําตนประมาณ 5.5 - 8.0 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลางประมาณ 0.8 - 1.0 เซนติเมตร เห็ดขี้ควาย เปนที่รูจักกันทั่วไปในบรรดานักทองเที่ยววา "Magic Mushroom" มีการแพรระบาดอยูในกลุมนักทองเท่ียวบางกลุม และในบางพื้นที่ของประเทศ เชน ภาคใต

3

จัดเปนกลุมที่สรางสารพษิ Psilocybin และ Psilocin เห็ดพิษที่มีสารพิษกลุมน้ีมีอาการทางประสาทหลอนฝนหรือมึนเมา อาจถึงขั้นวิกลจริต กลาวกันวามีอาการเห็นอะไรเปนสีเขียวหมด (พูนพิไล 2541) ตอมาอาการจะหายเปนปกติ แตก็มีรายงานมาวาอาจรับประทานมากอาจถึงตายได ถารับประทานมากอาจมีฤทธิ์แบบกัญชา จึงเปนที่ตองการของตลาดและซื้อกันอยางลับๆ แตในประเทศไทยในแหลงทองเท่ียวหลายแหงที่มีชื่อ จัดเปนเห็ดประเภทยาเสพติด ซ่ึงมีอยูดวยกันหลายชนิดเชน

1. Copelandia ctandscens (Berk. & Br.) Sing. 2. Psliocybe cubensis (Earle) Sing. (เห็ดขี้ควาย บางแหงเรียกเห็ดโอรถลวงจิต) 3. Gymnopilus aeruginosus (Peck) Sing. (เห็ดขอนสีทองเกล็ดแดง)

เห็ดผิดที่ผิดกฎหมาย (เห็ดพิษที่มีสาร Psilocybin และ Psilocin)

รศ.ดร.สุมาลี พิชญางกูร ภาควิชาจุลชีววทิยา คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั

เห็ดพิษที่ผิดกฎหมายน้ีไมใชเร่ืองใหมเปนเรื่องที่รูจักกันมานานแลวตั้งแตพ.ศ.2513 ใชในชื่อเห็ดมหัศจรรย (magic mushroom) แตเห็ดกลุมน้ีกําลังจะกลายเปนเห็ดที่ไดรับความสนใจของนักปลูกเห็ดที่ขาดความรูทั้งดานจรรยายรรณและจิตสํานึกที่ถูกตอง บางทานอาจยังไมทราบวาเห็ดกลุมน้ีเปนเห็ดที่บานเมืองไทย ไดออกกฎหมายถือเปนสิ่งที่ใหสารกลอมประสาทอาจเสพติด กฎหมายไดออกมาเม่ือเดือนธันวาคม พ.ศ. 2532 ผูที่มีเห็ดเมาหือเห็ดพิษที่มีสาร Psilocybin และ Psilocin จําหนายอยูในครอบครองและหรือซ้ือขาย ถือเปนผูทําผิดกฎหายมีโทษถึงขั้นจําคุก

กฎหมายเก่ียวกับเห็ดที่มีสาร Psilocybin และ Psilocin มิไดมีในเฉพาะในเมืองไทย ในตางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกาก็มีเชนกัน

เพ่ือเปนความรูพ้ืนฐานจึงขอเขียนเลาเร่ืองเห็ดกลุมน้ีมาเปนเพ่ือความเขาใจ จะเรียกวาเห็ดพิษหรือเห็ดเมา เห็ดขี้วัว เห็ดขี้ควาย เห็ดมหัศจรรย เห็ดไขเจียว เห็ดพิเศษ เห็ดมีผลตอประสาทหลอน และอ่ืนๆ อะไรก็ตามถามีการเก็บรวมเพื่อการคา หรือถาปลูกเพ่ือการผลิต หรือเตรียมหัวเชื่อเพ่ือการผลิตเปนจํานวนมาก ถือวาเปนการทําผิดกฎหมายทั้งสิ้น

Paul Stamets ไดเขียนหนังสืออนุกรมวิชาของเห็ดสกุล Psilocybin ไวตามที่ไดมีผูจําแนกไวประมาณ 95 ชนิด และเขาคาดวาในโลกนี้อาจมีมากกวา 180 ชนิด ในขณะที่คนแสวงหาเห็ดที่มีสาร Psilocybin แตความผิดพลาดยอมเกิดขึ้นไดเสมอ เม่ือเก็บเห็ดพิษชนิดอ่ืนที่ออกฤทธิ์ทําใหเสียชีวิตเพราะความเขาใจผิด

การเก็บเห็ดพิษชนิด ทั้งนักวิทยาศาสตรและนักราวิทยา ไดพยายามตีพิมพหนังสือเร่ืองของเห็ดเมา และเห็ดพิษอ่ืนๆ ที่มีผลถึงตายออกเผยแพรแตก็ยังมีความผิดพลาดอยูเชนเคย

4

ในป พ.ศ.2524 ในประเทศสหรัฐอเมริกา และรัฐวอชิงตัน ไดมีผูเก็บเห็ดสกุล Galerinas (deadly mushroom) ซ่ึงเขาใจวาเปนเห็ดสกุล Psilocybe กินเห็ดเขาไปประมาณ 6 ชั่วโมง มีอาการคลื่นไส อาเจียน อาการติดตอกัน 2 วัน ตอมาวันที่ 6 ก็เสียชีวิต เห็ดสกุล Galerinas เชน G. autumnalis G. mariginata, G. venenata เปนเห็ดที่มีพิษเหมือนเห็ดสกุล Amanita ที่มีพิษชนิด Cyclopeptide เหมือนใน A. Phalloides, A. verna ซ่ึงเปนสารพิษที่ทําลายเซลลในตับและไต ทําใหเกิดอาการตับวายและไตวายหรือลมเหลว

ถาผาศพดูจะพบวาผนังลําไสและลําไส อักเสบ เกิด hyperplasia ที่ตอมนํ้าเหลืองและเยื่อเซลลระบบนํ้าเหลือง ไขมันบริเวณหัวใจถูกทําลาย ตับและไตมีจุดของเซลลที่ตาย สมงบวม สมองบางแหงมีเลือดออก มีการทําลายของเสนปราสาท แตการตายเกิดจากการลมเหลวของตับและไต

สารพิษที่อยูในเห็ดสกุล Psilocybe sp. ประกอบดวยสาร 3 ชนิดคือ psilocybin, psilocin และ baeocystin เปนสารกลอมประสาทที่อยูในจําพวก alkaloidal indole ซ่ึงจัดเปน hallucinogenic agents พวกเดียวกับยา LSD (Lysergicacid diethylamine) หรือเรียกว“recreation drugs” ถารับประทานมากจะมีผลตอระบบประสาท และเปนอันตราย

การจําแนกเห็ดที่มีสาร Psilocybin และ Psilocin แบงไดเปน 2 กลุม

1. กลุมที่สรางสาร Psilocybin ในปริมาณที่ต่ํา ไดแก เห็ดสกุล Conocybe, Gymnopilus, Inocybe, Pluteus, Enyoloma และ Hebeloma

2. กลุมที่สรางปริมาณสาร Psilocybin ไดสูงเปนสกุลที่สรางสาร 3 อยางดังกลาวไดแก สกุล Psilocybe ซ่ึงมีประมาณ 95 ชนิด ที่ไดจําแนกและตั้งชื่อแลว คือสกุล Panaeolus, Coprinus, และ Psilocybe สวนที่เห็ดมีรูปรางคลายสกุล Psilocybe น้ันไดแก Galerina, Pholiotina ซ่ึงกินแลวมีพิษถึงชีวิต

สกุล Psilocybe จะมีลักษณะคลายสกุล Hypholoma และ Stropharia มีลักษณะใกลกัน ยากที่จะแยกจากกันได ตองอาศัยศึกษาใตกลองจุลทรรศน ทั้ง 3 สกุล อยูใน Family Strophariaceae เปนกลุมที่มีนิเวศนกวางมาก ชอบขึ้นอยูในมูลสัตว (coprophilic fungi) ใตมอส ดิน สนามหญา เศษไมผุพัง เม่ือมีความชื้นสูงพวกเห็ดจะชอบมาก ลักษณะชื้น จะมีหมวกสีนํ้าตาลแดง นํ้าตาลเหลือง เม่ือทําใหแหงจะมีสีนํ้าตาลอมเหลือง

John W. Allen ไดเขามาสํารวจเห็ดเมา Psilocybe sp. ในประเทศไทย พ.ศ. 2513 –2536 จนกระทั่งปจจุบัน เขาพบเห็ดสกุล Psilocybe 4 สกุล คือ P. cubensis,P. subcubensis, P. cyanescens และ P. samvieusis และอีกสกุลหน่ึงคือ Copelandia sp. ซ่ึงมีลักษณะสําคัญที่ควรรูจักดังน้ี

5

1. P. cubensis บางครั้งมีชื่อวา Golden top (เห็ดขี้ควาย)

หมวก มีขนาด 5 – 8 เซนติเมตร รูปกรวย เม่ือออนยอดจะแหลม เม่ือบานจะเปน นํ้าตาลอมเหลือง ขอบลางจะขาว ตัวหมวกจะเหลือง

กานดอก ขนาด 40 – 150 มิลลิเมตร หนา 5 – 15 มิลลิเมตร

ครีบกานดอก มีติดอยู

สปอร สีดําอมมวง รูปรางวงรี 11.5- 17 x 8 – 11 ไมโครเมตร บนเบสิเดียม2 – 4 สปอร Plurocystidia เปนรูปรี ขนาด 18 –30 x 8 –13 ไมโครเมตร cleilocystidia หัวแหลม ปลายทายมน 17 – 33 x 6 – 10 ไมโครเมตร

นิเวศน ชอบขึ้นบนมูลสัตวของจามรี วัว ควาย มา ชาง

ความแรงของพิษ ของ Psilocybe ขึ้นอยูกับนิเวศน

2. P. Subcubensis

ลักษณะเหมือนกับ P.cubensis ตางกันที่ขนาดดอกเล็กกวา และ ขนาดสปอร

11 –13 x 6 –7 ไมโครเมตร Pleurocystidia เล็กกวา พบไดทั่วไปและทั่วโลก

3. P. cyanescens เรียกวา helos, wavy – capped

หมวก ขนาด 2 – 5 เซนติเมตร ยอดตรงกลางหมวกแหลมมนกอนบาน จะแหลม

เม่ือบานแลว ปลายหมวกจะเปนคลื่น มีเมือก

ครีบหมวก ติดแบบ adnate

กานดอก ขนาด 20 – 80 x 2.5 – 5 มิลลิเมตร เม่ือถูกแรงกระแทกจะมีสีนํ้าเงิน มีขน

เล็กนอย และโคนกานจะมี Rhizomorph กานดอกติดกันหลายดอก

สปอร มีสีดํา – อมมวง ขนาด 5 – 8 ไมโครเมตร หัวทายแหลม Pleurocystidia

มีขนาด 17 – 33 x 5 –8.8 ไมโครเมตร ที่ของฐาน cystidia จะมนใหญ

นิเวศน ชอบขึ้นตามดินที่มีฮิวมัส หรือเศษก่ิงไม ขี้เลื่อย หือบริเวณที่มีก่ิงไมหลาย

ชนิดปะปนกันขางๆรอบสนามหญา

4. P. samvieusis ตามขอมูลที่ได John Allen พบที่เกาะสมุย มีลักษณะไมเหมือน

กับอีก 95 ชนิด ตาม Paul Stamets ไดรวบรวมไว และยังไมมีการยืนยันเปนทางการในหนังสือเลมน้ี แตมีรูปวาพบที่เกาะสมุยในหนังสือ P. Stamets

สกุล Copelandia sp. เปนอีกชนิดหน่ึงที่ John Allen ไดทําการสํารวจพบในเมืองไทยแตยังไมทราบชนิดที่มีสาร Psilocybin

6

การจําแนก Psilocybe sp. เพ่ือใหไกสารที่ตองการน้ัน คอนขางยาก นอกจาก ตองอาศัยความชํานาญ และเห็ดสกุล Galerina น้ัน ชอบขึ้นบนมูลสัตวเชนเดียวกับ Psilocybe sp. นอกจากการหัดสังเกตจากนักราวิทยาแลว ยังตองอาศัยการศึกษาใตกลองจุลทรรศนเปรียบเทียบกับความรูที่เรียนมากอนและหลังจากนั้นมาทดสอบวามี psilocybin หรือไม มีความแรงเทาไร อยางไรก็ตาม เน่ืองจากกลุมน้ีมีเห็ดชนิดอ่ืนที่มีลักษณะใกลเคียงกันและถากินอาจถึงตาย จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองศึกษาใตกลองจุลทรรศน และการทํารอยพิมพสปอรเพ่ือสังเกตสีสปอร

นอกจากจะใชสปอรเปนสิ่งสําคัญในการรูจักกับเห็ดสกุลน้ีแลว การสังเกตสีนํ้าเงินในบริเวณเนื้อเยื่อสดเม่ือไดรับความกระทบกระเทือนแลวจะบอกวาเปน Psilocybe sp น้ันคงไมพอ การใหสีนํ้าเงินมากจะมี psilocybin มากอาจไมใช เพราะมีเห็ดอีกหลายสกุลที่ใชสีนํ้าเงินตามกานดอกและหมวกแตไมมีสาร psilocybin เรื่องของสีสปอรก็เปนสิ่งหน่ึงที่สําคัญ ไมควรมีสีดําอมน้ําตาล เพราะน่ันคือสปอรของ Galerina sp. ซ่ึงใหพิษแบบถึงตาย

ปฏิกริยาสีนํ้าเงินมีหลายชนิดในสกุล Psilocybe และ Panaeolus จะใหสีนํ้าเงินอมเขียวสีนํ้าเงินที่เกิดขึ้นเปนการสลายของPsilocinซึ่งเปนสารไมคงทนสลายงาย (dephosphorylated psilocybin) ยังเปนสารประกอบที่ยังไมทราบวามรสูตรโครงสรางของสีเปนอยางไร แตสามารถสลายตัวเอมไซมในเซลลของเห็ด ยังพบวาเห็ดมีสารสีนํ้าเงินจะมีความแรงของ สูง แตก็ไมแนนอนเสมอไป เพราะมี Psilocybe sp. หลายชนิดที่ไมใหสีนํ้าเงิน แตมีความแรงของสารสูงเชนกัน

เห็ดบางชนิดเชน Hygrophorus conicus ใหสนํ้ีาเงิน เม่ือช้ํา แตเห็ดชนิดน้ีไมมีสาร

Psilocybin แตมีสารชนิดอ่ืนที่ทําใหทองรวงอยางแรง

Inocybe calamistrata กานดอกใหสีนํ้าเงินดําเชนกัน ไมพบสาร Psilocybin แตพบสารพวก muscarine กลุมของ Inocybe จําแนกยากมากสําหรับนักราวิทยา ที่จะแยกเห็ดสกุลเหลาน้ีไดดวยตาเปลา จึงตองพ่ึงกลองจุลทรรศน

Mycena chlorophos เปนเห็ดเรืองแสงในประเทศมาเลเซีย เม่ือตัดกานดอกจะใหสีนํ้าเงิน แตตรวจไมพบสาร Psilocybin, Psilosin และ baeosystin ในเห็ดชนิดน้ี

ดังไดกลาวแลววา Psilocybin เปนสารพวก indole alkaloids ชนิด Hydroxyltryptamine drivertives ที่เก่ียวของกับ bufotenin และ serotonin

Alk. Phosplotuse

Psilocybin psilocin blue color substance

Mamalian tissue oxidation

7

นักทองเที่ยวชาวตางประเทศ นําความรูเร่ืองการเสพสารเมาจากเห็ดกลุมน้ีมาใหคนไทยพื้นบาน แตไมไดนําความเขาใจในเชิงลบมาดวย พวกที่มาหาความสําราญจากเห็ด (recreation mushroom) มิใชแตในประเทศไทยเทาน้ัน อินโดนีเซีย บาหลี อินเดีย ประเทศทางเอเชีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยจะมาหาส่ิงตองหาม เชน กัญชา ฝนเห็ดมหัศจรรย (Magic mushroom) เพ่ือความสําคัญ พยายามสงเสริมการปลูกเห็ดสกุลน้ีจําหนายใหแกพวกเขา

ภาคใตของไทยมีอาหารพิเศษ ไขเจียวที่ผสมเห็ด ตามสถานที่ทองเท่ียวและที่พักตางอากาศ ตามเกาะแกงตางๆ ที่เจาหนาที่เขาไปไมถึง เปนสภาพท่ีเหมาะสมแกการเสพเห็ดกลุมน้ี ตามที่รายงานวามีมาตั้งแตป พ.ศ.2532 อยางไรก็ตาม ถาสมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแหงประเทศไทย เล็งเห็นถึงความสําคัญและควบคุมการเพาะเห็ดกลุมน้ีใหอยูภายใตกฎหมาย ก็จะเปนอานิสงสแกเยาวชน และเปนอีกเร่ืองหน่ึงที่สมาคมฯ ควรจะรวมกันพิจารณา เม่ือวิชาการทางดานเทคโนโลยีชีวภาพเจริญมากขึ้นการปลูกเห็ดสกุลน้ีในโรงเรือนไมเหนือความสามารถของคนไทย ซ่ึงเปนเรื่องที่นาเปนหวง ที่คงจะตองชวยกันดูแลใหเปนไปตามกฎหมายบานเมืองในอนาคต

อาการผูเสพ :

ขึ้นอยูกับสภาพรางกายของแตละบุคคล สําหรับคนไทยสวนใหญไมนิยมบริโภคเห็นชนิดน้ีเลย เพราะ

ทราบวาเปนเห็ดพิษ กินเขาไปแลวจะรูสกึรอนวูบวาบตามเนื้อตามตัว แนนหนาอก ไมสบาย บางครั้งคลื่นไส

อาเจียน

โทษที่ไดรับ :

ในเห็ดขี้ควาย มีสารออกฤทธิ์ทําลายประสาทอยางรุนแรง คือ ไซโลซนีและไซโลไซบีนผสมอยูเม่ือ

บริโภคเขาไปทําใหมีอาการเมาเคลิ้มและบาคลั่งในที่สดุ นอกจากนั้นหากบริโภคเขาไปมากๆ หรือผูที่มีภูมิ

ตานทานนอย อาจทําอันตรายถึงแกชีวติ

โทษทางกฎหมาย :

จัดเปนยาเสพติดใหโทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ. 2522

การควบคุมตามกฏหมาย

8

• พืชเห็ดข้ีควาย ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.2522 ผูใดผลิต ขาย นําเขา หรือสงออก ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต 2 ป -15 ป และปรับตั้งแต 200,000 บาท –1,500,000 บาท (มาตรา 75 วรรค 1) ผูเสพจําคุกไมเกิน 1 ป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (มาตรา 92 วรรค 1)

• สาร Psilocybine และ Psilocine ผลิต ขาย นําเขา หรือสงออก ตองระวางโทษจาํคุกตั้งแต 5 ป – 20 ป และปรบัตั้งแต 100,000 บาท – 400,000 บาท

กลุมสารที่เปนสาเหตุของการเปนพิษในเห็ด แบงออกเปนกลุมใหญ ๆ 7 กลุม คือ

1. สารพิษ Cyclopeptides

เปนสารพิษในเห็ดที่รายแรงที่สุด จะแสดงอาการภายใน 6 - 24 ชั่วโมง ผูบริโภคอาจตายภายใน 4 - 10 ชั่วโมง มีผลตอระบบทางเดินอาหาร มีอาการอุจจาระรวง เปนตะครวิทีท่อง คลื่นไส อาเจียน ระบบเลือด ระบบหายใจ และระบบประสาท เห็ดที่มีสารพิษกลุมน้ีในประเทศไทย ไดแก เห็ดระโงกหิน หรือเห็ดไขตายซาก (Amanita verma)

2. สารพิษ Monomethylhydrazine

จะแสดงอาการภายใน 6 - 8 ชั่วโมง กลุมน้ีทําใหเสียชวีิตได ถาบริโภคเห็ดดิบ หรือนํ้าตมเห็ด มีพิษตอระบบทางเดินอาหาร ทําใหเกิดระคายเคืองระบบประสาทสวนกลาง ทําใหเม็ดเลือดแดงแตกสลาย ทําลายเซลลตบัและไต อาการเบื้องตน คลื่นไส อาเจียน ตะครวิ ปวดทอง และอาจมีถายอุจจาระเหลวปนเลือด ในรายมีอาการรุนแรงอาจมีไข ตับวาย ชัก และหมดสติ ในประเทศไทย ไดแก เห็ดสมองวัว (Gyromitra esculenta)

3. สารพิษ Coprine

จะแสดงอาการภายใน 5 - 10 นาที หรืออาจนานถึง 30 นาที มีผลตอระบบประสาท เม่ือรับประทานรวมกับเครื่องด่ืมที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล หรือรับประทานเครื่องด่ืมกอน หลังจากรับประทานเห็ดแลว 24 ชั่วโมง ผูปวยมีอาการแดงบริเวณใบหนา - ลําคอ ชีพจรเตนเร็ว เจ็บหนาอก ความดันโลหิตต่ํา อาจมีชีพจรเตนผิดจังหวะ มีอาการชาตามตวั แขนขาออนแรง เวียนศีรษะ ผูปวยมีอาการคลื่นไส อาเจียน ความรูสึกรับรสผดิไป ถาอาการรุนแรงอาจหมดสติได ไดแก เห็ดห่ิงหอย หรือเห็ดนํ้าหมึก หรือเห็ดถั่ว (Coprinus atramentarius) และเห็ดจันทร เปนตน

4. สารพิษ Muscarine

ผูปวยจะมีเหง่ือออกมาก นํ้าลายไหล นํ้าตาไหลมากผิดปกติ ชีพจรเตนชา รูมานตาเล็ก ตาพรามัว ปวดทอง ทองเสีย บางรายมีความดันโลหิตต่ํา มีผลตอระบบประสาท เกิดอาการเพอคลั่ง เคลบิเคลิ้ม หมดสติเปนเวลานาน แตไมมีผลตอสมอง มักไมมีรายงานการตาย มีแต

9

อาการปางตาย ยกเวนมีโรคอ่ืนแทรกซอน หรือในเด็ก ไดแก เห็ดเกล็ดดาว (Amanita pantherina) และ Amanita muscaria เปนตน

5. สารพิษ Ibotenic Acid และ Muscimol

มีผลตอระบบประสาทสวนกลาง ทําใหเกิดอาการเพอคลั่ง เคลบิเคลิ้ม และหลบัลกึ คลายสารพิษ Muscarine ผูปวยมักมีอาการปางตาย แตสวนใหญหายเปนปกติ ไดแก เห็ด Amanita pantherina และ Amanita muscaria เปนตน

6. สารพิษ Psilocybin และ Psilocin

ผูปวยมีอาการทางระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส อาเจียน แนนทอง ปวดเม่ือยกลามเน้ือ ปากชา มีผลตอระบบประสาท มีอาการประสาทหลอน หรือเพอฝน หรือมึนเมา หมดแรง อัมพาตชัว่คราว หรือวิกลจริต ตอมาอาการจะหายเปนปกต ิแตถารับประทานมากอาจเสียชีวติได มีฤทธิ์คลายกัญชา ทําใหงวงซึม จัดเปนเห็ดประเภทเสพติด หรือเห็ดประเภทผิดกฎหมาย ไดแก เห็ดขี้วัว (Copelandia cyaneseens) ชอบขึ้นบนกองมูล

สัตว เชน มูลวัว มูลวัว ดอกเดียวเปนกลุม ๆ ละ 4 - 5 ดอก เห็ดขี้ควาย (Psilcybe cubensis) เห็ดขอนสีทองเกล็ดแดง (Gymnopilus aeruginosus) ขึ้นเปนดอกเดียวอยูใกลกันเปนกลุมใหญบนขอนไม เห็ดกลุมน้ีเปนที่นิยมของนักทองเท่ียวชาวตางชาติทีเ่ขามาประเทศไทย เพ่ือบริโภคกันอยางลับ ๆ

7. สารพิษ Gastrointestinal และสารพิษอ่ืน ๆ

มีผลตอระบบทางเดินอาหาร มีอาการคลื่นไส อาเจียน ทองเสีย หรือทั้งสองอยาง เห็ดพิษกลุมน้ีมีจํานวนมาก หลายชนิดถาบริโภคจํานวนมากอาจถึงตายได หลายชนิดถารับประทานเห็ดดิบจะตายไดเชนกัน แตถาบริโภคเห็ดทีต่มสุกแลวจะไมเปนอันตราย เชน เห็ดหัวกรวยครีบเขียว (Chlorophyllum molybdites), เห็ดกรวยเกล็ดทอง (Gomphus floccosus), เห็ดไขเนา (Clarkeinda trachodes), เห็ดแดงนํ้าหมาก (Russula emetica), เห็ดไขหงษ (Scleroderma eitrinum), เห็ดประการังสีสมอมชมพู (Ramaria formasa), เห็ดนมหนู (Entoloma strictius) และเห็ดหัว หรือเห็ดนํ้าผึ้ง (Phaeogyroporus portentosus) เปนตน

10

ความรูเก่ียวกับเห็ดพิษ

ตารางเปรียบเทียบลักษณะเห็ดพิษและเห็ดรบัประทานได

เห็ดพิษ เห็ดรับประทานได

1. สวนใหญเจริญงอกงามในปา 1. สวนใหญเจริญในทุงหญา

2. กานสูง ลําตนโปงพองออก โดยเฉพาะที่ฐาน กับทีว่งแหวนเห็นชัดเจน

2. กานสั้น อวนปอมและไมโปงพองออก ผิวเรียบไมขรุขระ ไมมีสะเก็ด

3. สีผิวของหมวกมีไดหลายสี เชน สีมะนาว ถึงสีสม สีขาวถึงสีเหลือง

3. สีผิวของหมวกสวนใหญเปนสีขาวถึงสนํ้ีาตาล

4. ผิวของหมวกเห็ดสวนมากมีเยื่อหุมดอกเห็ดเหลืออยูในลักษณะที่ดึงออกได หรือเปนสะเก็ดติดอยู

4. ผิวของหมวกเห็ดเรียบจนถึงเปนเสนใยและ เหมือนถูกกดจนเปนแผนบาง ๆ ดึงออกยาก

5. ครีบแยกออกจากกันชัดเจน มักมีสีขาว บางชนิดสีแดงหรือสีเขียวอมเหลอืง

5. ครีบแยกออกจากกัน ในระยะแรกเปนสีชมพู แลวเปลี่ยนเปนสนํ้ีาตาล

6. สปอรใหญมีสีขาวหรือสอีอน มีลักษณะใส ๆ รูปไขกวาง 6. สปอรสีนํ้าตาลอมมวงแกรูปกระสวยกวาง

อาการของพิษที่เกิดจากการรับประทานเห็ด อาการของพิษที่เกิดจากการรับประทานเห็ดพิษแตละกลุม ไดแก 1.กลุมที่สรางสารพิษ cyclopeptide มีพิษตอตบั เชน เห็ดไขตายซากหรือเห็ดระโงกหิน(Amanita verna และ Amanita virosa ) เม่ือรับประทานเขาไปจะมีอาการเปน 3 ระยะ คือ ระยะที ่1 เปนระยะฟกตัวประมาณ 6-24 ชั่วโมง ปกติประมาณ 10 ชั่วโมง หลังจากรับประทานเห็ดเขาไปถึงขั้นแสดงอาการ ระยะที ่2 จะมีอาการเปนตะคริวทีท่อง คลื่นเหียนอาเจียน ทองรวง เอนไซมตับสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยจะแสดงอาการ 2-3 วัน ระยะที ่3 มีอาการตับอักเสบ ไตวาย หัวใจวาย เลือดเปนลิ่มแพรกระจาย ชัก และเสียชวีติ ภายใน 6 –16 วัน ปกติประาณ 8 วัน หลังจากการรับประทานเห็ดพิษชนิดน้ีเขาไป

2. กลุมที่สรางสารพิษ Monomethylhydrazine (Gyromitrin) ออกฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลาง เห็ดที่มีสารพิษนี้เชน เห็ดสมองวัว (Gyromitra esculanta ) อาการของสารพิษชนิดน้ีจะปรากฏใน 6-8 ชั่วโมง หลังจากรับประทานเห็ด บางชนิดอาจเร็วมากเพียง 2 ชั่วโมง และบางชนิดอาจนานถึง 12 ชั่วโมง จะมีอาการตาง ๆ คือ มึมงง ปวดศรีษะ คลื่นใส อาเจียน ทองเสียและเปนตะครวิที่กลามเน้ือ เจ็บที่ทอง ในรายที่รุนแรง จะพบการทําลายตบั มีไขสงู ชัก ไมรูสึกตัว และถึงตายไดภายใน 2-4 วัน หลังรับประทานเห็ดกลุมน้ี

11

3 กลุมที่สรางสารพิษ Coprine เห็ดที่มีสารพิษนี้เชน เห็ดห่ิงหอย เห็ดนํ้าหมึกหรือเห็ดถั่ว (Coprinus atramentrarius) อาการของสารพิษชนิดน้ีจะแสดงอาการภายใน 5-10 นาที อาจจะถึง 30 นาทีหลังจากรับประทานเห็ดเขาไป ถามีการด่ืม alcohol เขาไปในชวงเวลา 24 ชั่วโมง กอนรับประทานเห็ด คุณสมบัติทางเคมีคลายคลึงกับ Antavare ซ่ึงรักษาคนไขตดิ alcohol ผูปวยจะมีอาการหนาแดง ตัวแดง ใจสั่น หายใจหอบ เหง่ือแตก เจ็บหนาอก ชาตามตวั คลื่นเหียนอาเจียน มานตาขยาย และความดันโลหิดสูง อาจพบความดันโลหิตต่ําเน่ืองจากหลอดเลือดขยายตวั แตจะหายเปนปกติภายในเวลา 3-4 ชั่วโมง

4 กลุมที่สรางสารพิษ Muscarine เห็ดที่มีสารพิษชนิดน้ีเชน Inocybe napipes, หลงัจากรับประทานเห็ดที่มีสารพิษชนิดน้ีประมาณ 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง จะมีอาการหัวใจเตนชา หลอดลมหดเกร็ง เสมหะมาก มานตาหดเล็ก นํ้าลายฟูมปาก นํ้าตาไหล ปสสาวะอุจจาระราด และอาเจียน 5 กลุมที่สรางสารพิษ Ibotenic acid-muscimol เห็ดที่มีสารพิษชนิดน้ีเชน เห็ดเกลด็ดาว ( Amanita pantherina ), A. muscaria หลังจากรับประทานเห็ดที่มีสารพิษชนิดน้ี จะเกิดอาการเมา เดินโซเซ เคลิม้ฝน ราเริง กระปรี้กระเปรา การรับรูภาพเปลี่ยนแปลง ประสาทหลอนและเอะอะโวยวาย ภายหลังจากเอะอะแลวผูปวยจะหลับนาน เม่ือตื่นขึ้นมาอาการจะกลับคืนสูสภาพปกติใน 1-2 วัน ถารับประทานเห็ดชนิดน้ีมาก ๆ จะเกิดอาการทางจิตอยางชัดเจน อาจชักและหมดสติได

6 กลุมที่สรางสารพิษ Psilocybin และ Psilocin เห็ดที่มีสารพิษชนิดน้ีเชน เห็ดขี้ควาย เห็ดขี้วัว บางแหงเรียกเห็ดโอสถลวงจิต(Psilocybe cubensis) หลังจากรับประทานเห็ดที่มีสารพิษชนิดน้ี ประมาณ 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง ผูปวยจะเริ่มรูสึกเคลิบเคลิ้ม ตามดวยการรับรูที่ผิดไปจากความเปนจริง และประสาทหลอน มีอาการเดินโซเซ มานตาขยาย หัวใจเต็นเร็ว หายใจถี่ ความดันโลหิด

สูง ระดับนํ้าตาลในเลือดลด มีอาการแสดงของระบบประสาทสวนกลางถูกกระตุน มีความเคลื่อนไหวมากผิดปกติ จนกระทั่งถึงชักไดสารพิษ ผูปวยมีอาการทางระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส อาเจียน แนนทอง ปวดเม่ือยกลามเน้ือ ปากชา มีผลตอระบบประสาท มีอาการประสาทหลอน หรือเพอฝน หรือมึนเมา หมดแรง อัมพาตชั่วคราว หรือวิกลจริต ตอมาอาการจะหายเปนปกต ิแตถารับประทานมากอาจเสียชีวิตได มีฤทธิ์คลายกัญชา ทําใหงวงซึม จัดเปนเห็ดประเภทเสพติด หรือเห็ดประเภทผิดกฎหมาย ไดแก เห็ดขี้วัว (Copelandia cyaneseens) ชอบขึ้นบนกองมูลสัตว เชน มูลวัว มูลววั ดอกเดียวเปนกลุม ๆ ละ 4 - 5 ดอก เห็ดขี้ควาย (Psilcybe cubensis) เห็ดขอนสีทองเกล็ดแดง (Gymnopilus aeruginosus) ขึ้นเปนดอกเดียวอยูใกลกันเปนกลุมใหญบนขอนไม เห็ดกลุมน้ีเปนที่นิยมของนักทองเท่ียวชาวตางชาติที่เขามาประเทศไทย เพ่ือบริโภคกันอยางลับ ๆ

12

7 สารพิษกลุม Gastrointestinal Irritants เปนเห็ดพิษที่ทําใหเกิดอาการเฉพาะระบบทางเดินอาหารภายใน 30 นาที ถึง 3 ชั่วโมง มีอาการจุกเสียดยอดอก ออนเพลีย คลื่นไส อาเจียน ทองเสีย และไมทําใหมีอาการทางระบบอ่ืน ๆ เห็ดที่มีสารพิษชนดิน้ีเชนเห็ดหัวกรวดครบีเขยีว ( Chlorophyllum molybdites ), เห็ดแดงน้ําหมาก ( Russula emetica )

การปฐมพยาบาลเบื้องตน

การปฐมพยาบาลมีความสําคัญอยางยิ่ง หากผูปวยรับประทานเห็ดพิษและเกิดอาการพิษขึ้น ควรจะรูจักวิธีปฏบิตัิที่ถูกตองกับผูปวย แตตามชนบทมักจะแสดงอาการหลังรับประทานแลวหลายชั่วโมง ซ่ึงพิษมักจะกระจายไปมาก ดังน้ันจึงจําเปนตองรูจักวธิีปฐมพยาบาล แลวรบีนําสงแพทย เพ่ือทําการรักษาโดยรีบดวนตอไป การปฐมพยาบาลนั้น ที่สําคัญที่สุดคือ ทําใหผูปวยอาเจียนเอาเศษอาหารทีต่กคางออกมาใหมาก และทําการชวยดูดพิษจากผูปวยโดยวิธีใชนํ้าอุนผสมผงถาน activated charcoal แลวด่ืม 2 แกว โดยแกวแรกใหลวงคอใหอาเจียนออกมาเสียกอนแลวจึงด่ืมแกวที่ 2 แลวลวงคอใหอาเจียนออกมาอีกคร้ัง จึงนําสงแพทยพรอมกับตัวอยางเห็ดพิษหากยังเหลืออยู หากผูปวยอาเจียนออกยากใหใชเกลือแกง 3 ชอนชาผสมน้ําอุนด่ืม จะทําใหอาเจียนไดงายขึ้น แตวธิีน้ีหามใชกับเด็กอายุต่ํากวา 5 ขวบ อน่ึงหามลางทองดวยการสวนทวารหนักโดยพละการ วิธน้ีีตองใหแพทยเปนผูวินิจฉัยเทาน้ัน เพราะวิธีน้ีเปนอันตรายตอผูปวยหากรางกายขาดน้ํา หลังจากปฐมพยาบาลผูปวยแลวใหรีบนําสวนแพทยโดยดวน พรอมกับตัวอยางเห็ดพิษ (หากยังเหลืออยู) หรืออาจจะทําการปฐมพยาบาลผูปวยในระหวางนําสงแพทยดวยกันก็ได

คําแนะนําในการเลือกชื้อและนําเห็ดมาประกอบอาหาร

การนําเห็ดมาประกอบอาหารควรปฏบิัตดัิงน้ี

1. การรับประทานอาหารที่ประกอบขึ้นดวยเห็ด ควรจะรบัประทานแตพอควร อยารับประทานจนอ่ิมมากเกินไป เพราะเห็ดเปนอาหารที่ยอยยาก อาจจะทําใหผูมีระบบยอยอาหารที่ออนแอเกิดอาการอาหารเปนพิษได

2. ควรระมัดระวงั คัดเห็ดที่เนาเสียออกเพราะเห็ดที่เนาเสียจะทําใหเกิดอาการอาหารเปนพิษได 3. อยารับประทานอาหารที่ปรุงขึ้นสุก ๆ ดิบ หรือเห็ดดิบดอง เพราะเห็ดบางชนิดยังจะมีพิษอยางออน

เหลืออยู ผูรับประทานจะไมรูสึกตัววามีพิษ จนเม่ือรับประทานหลายครั้งก็สะสมพิษมากขึ้น และเปนพิษรายแรงถึงกับเสียชวีติไดในภายหลัง

13

4. ผูที่รูตวัเองวาเปนโรคภูมิแพเก่ียวกับเห็ดบางชนิด หรือกับเห็ดทั้งหมด ซ่ึงถารับประทานเห็ดเขาไปแลว จะทําใหเกิดอาการเบื่อเมา หรืออาหารเปนพิษ จึงควรระมัดระวงั รับประทานเฉพาะเห็ดที่รับประทานไดโดยไมแพ หรือหลีกเลี่ยงจากการรับประทานเห็ด

5. ระมัดระวังอยารับประทานเห็ดพรอมกับด่ืมสุรา เพราะเห็ดบางชนิดจะเกิดพิษทันท ีถาหากด่ืมสุราหลังจากรับประทานเห็ดแลวภายใน 48 ชั่วโมง เชน เห็ดห่ิงหอย เห็ดนํ้าหมึกหรือเห็ดถั่ว (Coprinus atramentarius ) แมแตเห็ดพิษอ่ืนทั่วไป หากด่ืมสุราเขาไปดวย ก็จะเปนการชวยใหพิษกระจายไดรวดเร็วและรนุแรงขึ้นอีก

การปองกันอันตรายจากเห็ดพิษ

รูปที่ 1Amanita

phalloides รูปที่ 2 Amanita verna รูปที่ 3 Amanita virosa

1. ควรรูจักและจดจําเห็ดพิษที่สําคัญ ซ่ึงมีพิษรุนแรงถึงตายได แลวหลีกเลี่ยงการรับประทานเห็ดพิษเหลาน้ี เห็ดพิษนั้นคือ เห็ดระโงกพิษ ที่สาํคัญมีอยู 3 ชนิด คือ Amanita phalloides (รูปที่ 1), Amanita verna (รูปที ่2) และ Amanita virosa (รูปที่ 3) ซ่ึงมีชื่อตามภาษาทองถิ่น คือ เห็ดระโงกหิน เห็ดระงาก หรือเห็ดสะงาก และเห็ดไขตายซาก รูปรางทั่วไปคลายกับเห็ดระโงกทีรั่บประทานได แตมีขอแตกตางทีส่ําคัญคือ เห็ดระโงกที่รับประทานได ขอบหมวกมักจะเปนริ้วคลายรอยหวี มีกลิ่นหอมและกานดอกกลวง สวนเห็ดระโงกที่เปนพิษดังกลาว กลางดอกหมวกจะนูนขึ้นเล็กนอย โดยเฉพาะปลอกหุมโคน จะยึดติดกับกานดอก กานดอกตัน หรือเปนรูปที่ไสกลางเล็กนอย มีกลิ่นเอียนและกลิ่นคอนขางแรงเม่ือดอกแก มักเกิดแยกจากกลุมเห็ดที่รับประทานได มีทั้งแบบดอกสเีหลืองออน สีเขียวออน สีเทาออน และสีขาว

2. พิษชนิดอ่ืนทีพิ่ษไมรุนแรงถึงตาย แตจะทําใหผูปวยเสียเวลาและเงินทองในการรักษา หรือถาผูปวยมีโรคแทรก ก็อาจทําใหเสียชวีิตได เห็ดชนิดน้ีจะมีอยูแตละทองถิ่นแตกตางกัน ฉะนัน้จึงควรรูจักจดจําเห็ดมีพิษประเภทน้ีไวดวย เชน เห็ดพิษที่ภาษาทองถิน่ทางอีสานเรียกวา เห็ดเพ่ิงขาวกํ่า (Boletus santanas) เห็ดคันจองหรือเห็ดเซียงรม(Coprinus atramentarius) และเห็ดหมากหมาย (คลายเห็ดโคน) เปนตน

14

3. อยารับประทานเห็ดที่สงสัย ไมรูจัก และไมแนใจ ควรรบัประทานเฉพาะเห็ดที่แนใจเทาน้ัน 4. ถาจําเปนตองรับประทานเห็ดที่ยังไมแนใจ ควรชิมเพียงเล็กนอยเพ่ือดูอาการเสียกอน ซ่ึงถาเห็ดน้ัน

เปนพิษ ก็จะ แกไขไดงายขึน้ ตามวิธีการรับประทานอาหารที่ไมแนใจวาจะเปนพิษหรือไมน้ัน วิชาการดํารงชีพในปาหลักสูตรการรบพิเศษของประเทศไทย เรยีกวธิีน้ีวา การแบงชิม คือ การแบงอาหารที่ไมแนใจวาเปนพิษหรือไมน้ันออกเปน 4 สวน จะรับประทานเพียงสวนเดียวเทาน้ัน แลวคอยเปนเวลาอยางนอย 6 ชั่วโมง หากไมมีอาการผิดปกติใด ๆ ก็จะปรุงอาหารนั้นใหม แลวแบงอาหารออกเปน 2 สวน รับประทานเสียสวนหนึ่ง แลวรอดูอาการเชนครั้งแรก จนเม่ือเวลาผานไปอีก 6 ชั่วโมงเปนอยางนอย จึงจะถือวาอาหารรับประทานไดไมมีพิษ

การทดสอบเห็ดพิษแบบชาวบาน ซ่ึงมีหลายวิธี แตไมไดผล 100% ดังน้ัน การทดสอบอาจมีการผิดพลาด กอใหเกิดอันตรายแกผูบริโภคได ดังน้ัน จงบริโภคเห็ดที่เคยบริโภคแลวไมเกิดอันตรายเทาน้ัน เปนวิธีที่ดีที่สุดในการปองกันอันตรายจาก การบริโภคเห็ด

คําแนะนําเก่ียวกับการเก็บเห็ดปา มีดังน้ี

1. การจําแนกชนิดตองม่ันใจจริง ๆ วารูจักเห็ดชนิดน้ัน ๆ หนังสือคูมือจําแนกชนิดเห็ดอาจชวยได แตไมควรพึ่งโดยไมมีผูรูจริงไปดวย และอยาทดลองเพราะไมคุมคา

2. เวลาเก็บเห็ดตองเก็บใหครบทุกสวน โดยขุดใหลึก เพราะหากเด็ดแตดานบนแลว ลักษณะจําเพาะบางอยาง เชน กระเปาะ (Volva cap) ซ่ึงอยูติดกับดิน และใชบงบอกชนิดของเห็ดพิษรายตระกูล Amanita น้ัน จะไมติดขึ้นมาดวย ทาํใหจําแนกชนิดผิดพลาดได

3. เก็บแตเห็ดทีมี่รูปรางลักษณะสมบูรณเทาน้ัน หลีกเลี่ยงเห็ดที่ออนเกินไป ลักษณะตาง ๆ ที่ใชจําแนกชนิดยังไมเจริญพอ หลีกเลีย่งเห็ดที่แกหรือเริ่มเนาเปอย เพราะเห็ดดี ๆ เม่ือแกอาจมีการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีจนทําใหมีพิษอยางออนได

4. เวลาเก็บใหแยกชนิดเปนชัน้ โดยนํากระดาษรองในตะกรา เพ่ือปองกันการปนเปอน หากเก็บเห็ดพิษปะปนมาดวย

5. อยาเก็บเห็ดภายหลังพายุฝนใหม ๆ มีเห็ดบางชนิดที่สบีนหมวกอาจถูกชะลางใหจางลงได 6. เก็บเห็ดมาแลวใหนํามาปรุงอาหารเลย ไมควรเก็บไวนาน เพราะเห็ดจะเนาเสียเรว็ หรืออาจแชตูเย็น

ไวได 7. หามกินเห็ดดิบ ๆ โดยเด็ดขาด 8. เห็ดที่ไมเคยกิน ควรกินแตเพียงเล็กนอยในคร้ังแรก เห็ดที่ไมเปนพิษสําหรับคนอ่ืน อาจทําใหเรามี

อาการแพได 9. ไมควรเก็บเห็ดที่ขึ้นใกลโรงงานสารเคมี สนามกอลฟ หรือขางถนน เน่ืองจากเห็ดและเชื้อรามี

คุณสมบัติดูดซับสารพิษตาง ๆ สะสมไวในตัวไวมาก รวมถึงโลหะหนัก

15

การเกิดภาวะเห็ดเปนพิษ บอยคร้ังเกิดจากการม่ันใจมากเกินไป คิดวาเห็ดพิษเปนเห็ดไมมีพิษ เน่ืองจากการดูรูปรางผิดไปดังกลาว การบงชี้ชนิดของเห็ดโดยรูปรางภายนอกแลว บางครั้งแมผูเชี่ยวชาญก็ยังแยกแยะชนิดไมได ตองอาศัยวิธตีรวจ spore print หรือการตรวจทางหองปฏิบัติการอ่ืน ๆ กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ไดแนะนําวิธีหลีกเลี่ยงการบริโภคเห็ดที่มีพิษโดยดูลักษณะภายนอก

ลักษณะของเห็ดที่ควรหลีกเลีย่งไมควรเก็บมาบริโภค

เห็ดที่เปนสีนํ้าตาล เห็ดที่มีหมวกเห็ดสีขาว

เห็ดที่มีปลอกหุมโคน เห็ดที่มีวงแหวนใตหมวก

เห็ดที่มีโคนอวบใหญ เห็ดที่มีปุมปม

เห็ดที่มีหมวกเห็ดเปนรูปๆ แทนที่จะเปนชองๆ คลายครีบปลา

เห็ดที่มีลักษณะคลายสมองหรืออานมา บางชนิดตมแลวกินได แตบางชนิดมีพิษรายแรง

เห็ดตูมที่มีเน้ือในสีขาว เห็ดที่ขึ้นที่มูลสัตวหรือใกลมูลสัตว

ขอมูลเห็ดที่ใกลเคียงกับเห็ดข้ีควาย

1. PSILOCYBE CUBENSIS

CAP : White to pallid yellow, staining blue. GILLS : Gray to black with age, edges white. STEM : White, hollow in age, straight with purple black ring. HABITAT : Manure and compost. SEASON : Spring to winter. DOSAGE : 1 to 20 shrooms, 2 oz. wet, 3 ½ grams dry. COMMENT : Found in Southeast U.S.A. Not used in Indian ceremonies. Worldwide.

16

2. PSILOCYBE CYANESCENS

CAP : Orange to yellow, tan when dry, conic to flat wavy with age GILLS : Smokey redish brown STEM : White, hollow, bluing when bruised HABITAT : Bark mulch, lawns, and wooded areas SEASON : October through December DOSAGE : 1 large shroom, 1/5 oz. wet, 1/4 gram dry COMMENT : Very potent. If the shroom is cut at the base of the stem, it will fruit again during the season. Pulling it out of the ground only shatters the mycelliuns nervous system.

3. PSILOCYBE PELLICULOSA (var pelliculosa)

CAP : Bluntly cone shaped, yellow brown to olive, margin striate GILLS : Close, dull cinnamon brown, edges white STEM : White to gray brown, with silky fibers, hollow HABITAT : Logging sides, wooded areas, roadside mulch, sometimes pastures SEASON : October through December DOSAGE : 60 shrooms, 1¼ oz. wet, 1½ grams dry COMMENT : Found in man-made environment

17

4. PSILOCYBE SEMILANCEATA

CAP : Orange to yellow, tan when dry, conic to flat wavy with age GILLS : Smokey redish brown STEM : White, hollow, bluing when bruised HABITAT : Bark mulch, lawns, and wooded areas SEASON : October through December DOSAGE : 1 large shroom, 1/5 oz. wet, 1/4 gram dry COMMENT: These Liberty Caps were photographed in a sheep farm in Veneta, Oregon.

5. PSILOCYBE SILVATICA

CAP : Dark olive brown, conic, with protrude, straite margin. GILLS : Rusty brown with white edges. STEM : Yellow to brown, slender with tough pith, bluing in cap. HABITAT : Rain forest, wooded areas and decaying debris. SEASON : October through December DOSAGE : 40 shrooms, 1 oz. wet, 1 ¼ grams dry. COMMENT : First found in Northeast U.S.A. Now in Pacific Northwest. Best to make a tea for this one. Very Gritty

18

6. PSILOCYBE STUNTZII

CAP : Brown to buff, margin incurved and striate conic to flat GILLS : Spaced, chocolate brown with white edges STEM : Yellow brown, hollow, fibrous with ring staining blue HABITAT : Pastures, lawn and bark mulch SEASON : July through December DOSAGE : 20-60 shrooms, 3/4 oz wet, 1 gram dry COMMENT : Observe the purple brown spore on center shroom. Psilocybe stain blue when damaged and DO NOT turn purple as some people imagine

7. Psilocybe Cubensis PESA

Great performer Very dense fruits and nippled caps. Dark blue when cut. Aggressive rizomorphic mycelium. Performs well in cool temps as well as in warm temps.Llove to get cold shocked before fruiting. Veil completely breaks away from cap, produces dark print.

19

8. THE " ORISSA INDIA "

Here is a strain that can be found in India. This is beyond any doubt the biggest mushroom you will ever see. They can easily grow to enormous sizes; we have seen some caps as big as dinner plates. This strain was discovered by no one less than the legendary cubensis expert John Allen. It doesn't grow very quickly however. Besides that the flush will be quite little. The size of the mushroom will compensate that, that's guaranteed. Substrate: compost, grain, pasteurized dung & straw. Temperature during colonization: 28-30 C.

Temperature during cropping: 22-26 C.

9. Hawaiian

Edibility: Toxic, Hallucinogenic* Habitat: Bovine, Equine Dung and Enriched Soils Climate: Subtropical

Strain Origin: Unknown, Psilocybe cubensis is not documented to be present in Hawaii. PES stock (Pacific Exotica Spora)

Cap: 25-75 mm in diameter, convex to broadly convex to plane at maturity. Reddish cinnamon brown maturing to golden brown to light yellow. Surface dry with often-persistent remnants of universal veil on cap (spots). Flesh white soon bruising bluish green.

20

Stem: 125-175 mm in length, yellowish. Flesh bruising bluish green where injured. Persistent membranous annulus (ring) from partial veil that becomes dusted with purple brown spores at maturity.

Gills: Attachment adnate to adnexed. Grayish coloration in young fruit bodies becoming nearly black in maturity.

Spores: Dark purplish brown, subellipsoid on 4-spored basidia

* Spores intended for microscopy and taxonomy purposes only. Images provided for informational and educational reference only and originate from cultivators and labs outside the US. Cultivation of this species is illegal in many countries including the United States. Please check your local regulations.

10. Psilocybe Azurescens

The Psilocybe azurescens mushroom is known to be the most potent type of mushrooms in the world. Unlike most mushrooms that are grown inside, this mushroom is excellent for outdoor cultivation. It grows excellent on woodchips. In the north-western parts of Europe the best time to start cultivating outside is in spring. In southern Europe, with a warmer climate, the best time to start cultivating is in September-December .

Origin: Presumably near Astoria, Oregon (USA)

Spores for the Astoria Ossip strain of Psilocybe azurescens were originally harvested from wild in 1995. It was originally thought to be Psilocybe cyanescens by it's original collectors but after careful observation and study, it was reclassified (we think correctly) as P. azurescens.

21

From the archives at the Lycaeum :

Psilocybe cyanescens (ed. azurescens) Astoria Ossip made its way to Europe from the northern U.S., but may well have originated elsewhere, even -as a mycologist pointed out- from (sub)tropical mountain areas. Like Psilocybe cyanescens (Wakefield), the "Wavy Cap" known from Britain and US., it needs a few weeks of cold (near freezing weather for fruiting), and seems to feed on any kind of wood, cardboard or similar. Mycelium and fruiting bodies are strongly bluing and the latter have an entheogenic potency, which was described as 'at least twice that of Ps. cub.' and 'not weaker than Ps. semilanc.' after comparisons with dried and weighed samples. The caps of Ps. cy. A. O., which easily grow bigger than 3" in dia, are often distinctly umbonate and rarely wavy, and there is other hints, that it may just as well be a species closely related to, but not identical with Psilocybe cyanescens."

The prints offered from this species are collected from outside beds. Prints provided come in a range of sizes from 1 inch to well over 2 inches in diameter. Regardless of size, all prints come from the same cloned parent mycelium and are identical. Expect medium to heavy spore deposits

11. Psilocybe Baeocystis Bottle Cap

Origin : Costal Oregon, USA

* Spores intended for microscopy and taxonomy purposes only. Images provided for informational and educational reference only and originate from cultivators and labs outside the US. Cultivation of this species is illegal in many countries including the United States. Please check your local regulations.

22

12. Psilocybe Bohemica

13. Psilocybe Cubensis Ecuador

This is a strain from the Ecuadorian mountains. The spores were collected from a mushroom that grew over 3500 feet. This strain of cubensis is one of the most popular cubensis strains for home cultivation. Growing them is not difficult and first flushes are often extremely good. It's not an exceptionally fast colonizer, but it fruits very easily and abundantly. On top of that the effect of the mushroom can be very strong. We advise this strain to beginning cultivators. Cold shock?: no Substrate: Compost, grain, pasteurized dung & straw Temperature during colonization: 28-30 C Temperature during cropping: 22 – 26 C

Edibility: Toxic, Hallucinogenic* Habitat: Bovine, Equine Dung and Enriched Soils Climate: Subtropical Strain Origin: Ecuador

23

Cap: 50-75 mm in diameter, convex to broadly convex to plane with obtuse umbo at maturity. Dark reddish cinnamon brown maturing to golden brown. Surface dry with pronounced and persistent remnants of universal veil on cap (spots). Flesh white soon bruising bluish green.

Stem: 200+ mm in length, pale yellowish to buff. Flesh bruising bluish green where injured. Persistent membranous annulus (ring) from partial veil that becomes dusted with purple brown spores at maturity.

Gills: Attachment adnate to adnexed. Grayish coloration in young fruit bodies becoming nearly black in maturity.

Spores: Dark purplish brown, subellipsoid on 4-spored basidia.

14. Psilocybe Cubensis Huautla

This is a popular strain that is also interesting because of its origins. It has been collected in Huautla de Jimenez, Mexico, the hometown of the well-known mushroom shaman Maria Sabina. Celebrities Bob Dylan, John Lennon and many more made a pilgrimage to this little village to experience a ritual with Maria Sabina. Maria Sabina died in 1985 and has been a legend in Mexico ever since. This mushroom is very tall and thin and it has a very beautiful, unique shaped cap. Cold shock?: yes. Substrate: Compost, grain, pasteurized dung & straw. Temperature during colonization: 28-30 C. Temperature during cropping: 22 – 26 C.

Edibility: Toxic, Hallucinogenic* Habitat: Bovine, Equine Dung and Enriched Soils Climate: Subtropical

24

Strain Origin: Oaxaca, Mexico

Cap: 50 mm in diameter, obtusely conic to hemispheric. Yellowish brown maturing to light yellow. Surface dry with few remnants of universal veil on cap (spots). Flesh white soon bruising bluish green.

Stem: 150-275 mm in length, yellowish. Flesh bruising bluish green where injured. Persistent membranous annulus (ring) from partial veil that becomes dusted with purple brown spores at maturity.

Gills: Attachment adnate to adnexed. Grayish coloration in young fruit bodies becoming nearly black in maturity.

Spores: Dark purplish brown, subellipsoid on 4-spored basidia

The Huautla strain of Psilocybe cubensis is a recent collection from the wilds of southern Mexico in the region of Oaxaca near the village of Huautla de Jimenez. Huautla de Jimenez has gained notoriety as the hometown of mushroom shaman Maria Sabina.

In 1954 Gordon Wasson and Allan Richardson became the first Caucasians to participate in a mushroom ceremony, conducted under the guidance of Maria Sabina near the village of Huautla de Jimenez. Wasson and Richardson each consumed specimens of Psilocybe caerulescens var. mazatecorum.

Our good friend Club99 recently collected the Huautla variety of P. cubensis from this historically rich region. Many months of isolation by our European research associates have resulted in the culture pictured.

15. Psilocybe Cubensis Mazatapec Mexica

25

This is one of the finer strains from Mexico, and easy to cultivate. It's a good strain to start withr. The size of the mushroom is average, and the cap is particularly unique shaped. It won't open very quickly though, only at the very last moment. Substrate: compost, grain, pasteurized dung & straw. Temperature during colonization: 28-30 °C. Temperature during cropping: 22 – 26 °C.

Edibility: Toxic, Hallucinogenic* Habitat: Bovine, Equine Dung and Enriched Soils Climate: Subtropical

Strain Origin: Mexico

Cap: 50+ mm in diameter, convex to broadly convex at maturity occasionally with acute umbo. Dark cinnamon brown maturing to golden brown. Surface dry lacking remnants of universal veil on cap (spots). Flesh white soon bruising bluish green.

Stem: 75-125 mm in length, yellowish to buff. Flesh bruising bluish green where injured. Persistent membranous annulus (ring) from partial veil that becomes dusted with purple brown spores at maturity.

Gills: Attachment adnate to adnexed. Grayish coloration in young fruit bodies becoming nearly black in maturity.

Spores: Dark purplish brown, subellipsoid on 4-spored basidia

26

16. Psilocybe Cubensis Nepal Chitwan

Edibility: Toxic, Hallucinogenic* Habitat: Bovine, Equine Dung and Enriched Soils Climate: Subtropical

Strain Origin: Nepal, Chitwan. Original collection material was obtained by Baerbel in the village of Sauraha near the Chitwan Jungle of Nepal. Three specimens were located in otherwise dry climate conditions (three months after typical mushroom seasons), and shaded by a nearby tree. Specimens picked from what appeared to be either elephant or rhino dung. Original sample specimen pictures below and right.

Cap: 20-70 mm in diameter, hemispheric expanding to nearly plane with age. Golden brown maturing to light brown. Fine fibrillose veil remnants when young that soon mostly disappear. Flesh yellowish white soon bruising bluish green.

Stem: 150-200+ mm in length. Typically equal, sometimes slightly enlarged at base. Yellowish to buff with a reflective sheen, bruising bluish, semi hollow with remains of the partial veil.

Gills: Attachment adnate to adnexed. Yellowish coloration in young fruit bodies becoming darker in maturity. Remains of the partial veil attached at the outer circumference of the cap.

Spores: Dark purplish brown, subellipsoid on 4-spored basidia

27

17. Psilocybe Cubensis Plantasia

18. " Psilocybe Cubensis Transkei "

This mushroom was discovered pretty recently (2002) in Transkei, South Africa. It's the first hallucinogenic mushroom that comes from the African continent, as far as we know. The mushroom is average-sized and has one important detail: this mushroom will, most likely, overtake the casing layer. A cold shock does not seem to have any effect on this. When you place them in fruiting conditions, the casing layer will be completely covered by white mycelium very quickly. It will still produce a nice amount of mushrooms though. Substrate: compost, grain, pasteurized dung & straw Temperature during colonization: 28-30 C Temperature during cropping: 22-26 C

28

19. " Psilocybe Cubensis Amazonian "

This strain comes all the way from the Amazon. It's a big and fleshy mushroom which can produce very nice flushes. This is one of the strains that is recommended to starting cultivators. There will not be many mushrooms, but that will be completely compensated by the size of them. Cold shock?: yes. Substrate: Compost, grain, pasteurized dung & straw. Temperature during colonization: 28-30 C. Temperature during cropping: 22-25 C.

Edibility: Toxic, Hallucinogenic* Habitat: Bovine, Equine Dung and Enriched Soils Climate: Subtropical

Strain Origin: Unclear, possibly the Amazon as the name suggests. PES stock (Pacific Exotica Spora)

Cap: 25-50+ mm in diameter, convex to broadly convex to plane at maturity often with persistent acute umbo (nipple). Reddish cinnamon brown maturing to golden brown to light yellow with nearly white edges. Surface dry lacking remnants of universal veil on cap (spots). Flesh white soon bruising bluish green.

Stem: 150+ mm in length, yellowish. Flesh bruising bluish green where injured. Persistent membranous annulus (ring) from partial veil that becomes dusted with purple brown spores at maturity.

Gills: Attachment adnate to adnexed. Grayish coloration in young fruit bodies becoming nearly black in maturity.

Spores: Dark purplish brown, subellipsoid on 4-spored basidia

29

20. " Psilocybe Cubensis B+ "

B+ is a very-easy-to-cultivate strain. Ideal growing circumstances are best if you want to create really large mushrooms, especially a substrate that is rich of nutrients is important here. A really big caramel colored cap will be formed then. But, these shrooms will also grow quite well under mediocre conditions. When first introduced, many mycologists thought the B+ to actually be a completely different species: Psilocybe azurescens. This happens to be the granddaddy of all naturally occurring mushrooms from the Pacific Northwestern USA. Many of these mycologists stuck to their claims because they felt this mushroom, the "B+," was just as potent as any Psilocybe azurescens they had ever found in the wild! The B+ strain has since been correctly reclassified as Psilocybe cubensis. Amongst psychonauts these shrooms generate almost always positive feedback. Experienced shroomers consider the B+ strain a "stock" cubensis: one that is great for all situations and occasions. They caution not to eat too many until you have an idea how they effect your mind and bodily experience.

Edibility: Toxic, Hallucinogenic* Habitat: Bovine, Equine Dung and Enriched Soils Climate: Subtropical

Strain Origin: Unknown

Cap: 25-75 mm in diameter, hemispheric to convex expanding to broadly convex to nearly plane with age. Dark red maturing to golden brown. Surface viscid with apparent gelatinous layer when very wet, soon smooth from drying. Fine fibrillose veil remnants when young that soon disappear. Flesh white soon bruising bluish green.

Stem: 150-200+ mm in length. Typically equal, sometimes slightly enlarged at base, sometimes contorted. Yellowish to buff with a reflective sheen, bruising bluish, hollow. Partial veil membranous leaving a persistent membranous annulus that is well dusted with purplish brown spores even before tearing away from the cap.

30

Gills: Attachment adnate to adnexed. Grayish coloration in young fruit bodies becoming nearly black in maturity.

Spores: Dark purplish brown, subellipsoid, 13 by 8 micrometers on 4-spored basidia

Formerly misrepresented as Psilocybe azurescens.

Detail of separable gelatinous pellicle: This feature seems to be unique to the "B+" among cubensis. When young and fully hydrated the cap has a transparent amber colored layer of cells that quickly oxidizes upon removal to a more opaque blue gray color. The texture is like a thin stretchable layer of gelatin. Note the area where the pellicle has been removed is dull.

21. Psilocybe Cubensis Cambodian

22. Psilocybe Cubensis Colombian

31

23. Psilocybe Cubensis Guadalajara mexico "

Origin: Between Guadalajara and Talpa, Mexico

This is the sacred Teonanacatl or God's Flesh in the Aztec language. Rediscovered by Roger Heim in 1956 and used by Dr. Albert Hoffman in the first isolation of psilocybin and psilocin.

Notes on this collection:

The Jalisco strain of P. mexicana was collected from wild specimens located between Guadalajara and Talpa, but the exact place is unknown. It is thought only to be a few miles west of Guadalajara. Specimen generously provided by flatalbert (many thanks!).

* Spores intended for microscopy and taxonomy purposes only. Images provided for informational and educational reference only and originate from cultivators and labs outside the US. Cultivation of this species is illegal in many countries including the United States. Please check your local regulations

24. Psilocybe Cubensis Mexican A strain "

A very rare strain of which no other varieties have been found in the wild yet. It grows easily, and stains a strong blue. Mushrooms are small but they come with many. They have an extreme point on the cap and you may get a lot of strange mutants from them. The cap seems to mutate very readily.

32

Some mushrooms grow sideways. For growing this strain any untreated grass seed will be fine. Directly casing of grass seed is recommended. Mexicana needs more air exchanges than cubensis to develop normally.

25. Psilocybe Cubensis Thai "

This strain from Thailand is very suitable for beginners. The colonization speed is average and it fruits very easily. The mushrooms come in large quantities at once, and during later flushes they can become pretty big. Substrate: Compost, grain, pasteurized dung & straw. Temperature during colonization: 28-30 C. Temperature during cropping: 22-26 C.

26. Psilocybe Cubensis Thailand Koh Samui "

One of the more rare strains, coming from the Thai island Koh Samui which is enriched with a lot of vegetation and waterfalls. This strain was found by ethnomycologist John Allen. These spores fruit, grow and colonise fast. The mushrooms will not grow very tall, but do get quite thick. Thanks to this capacities the strain has lately gained an enormous popularity.

33

Edibility: Toxic, Hallucinogenic* Habitat: Bovine, Equine Dung and Enriched Soils Climate: Subtropical

Strain Origin: Original specimen was collected from buffalo dung in an unplanted rice paddie outside the city of Yangoon, Burma. Original collection supplied via Mushroom John by way of a gift from a Thai student who spent time collecting mushroom samples around Yangoon (formaly Rangoon), Burma (now Myanmar)

Cap: 25-50+ mm in diameter, convex to broadly convex to plane at maturity. Reddish cinnamon brown maturing to golden brown to light yellow with nearly white edges. Surface dry lacking remnants of universal veil on cap (spots). Flesh white soon bruising bluish green.

Stem: 150+ mm in length, yellowish. Flesh bruising bluish green where injured. Persistent membranous annulus (ring) from partial veil that becomes dusted with purple brown spores at maturity.

Gills: Attachment adnate to adnexed. Grayish coloration in young fruit bodies becoming nearly black in maturity.

Spores: Dark purplish brown, subellipsoid on 4-spored basidia

27. Psilocybe Cubensis Thailand KS Lamai Beach "

34

28. Psilocybe Cubensis Thailand Lipa Yai "

เอกสารอางอิง Lincoff. G.H. and P.M. Michell 1977. Toxin and Hallucinogenic Mushroom Poisoning, a

handbook for physicians and Mushroom Hunter. Van Nostrand & Reinhlod Co., New York

Miller. O.K., Mushrooms of North America. Dutton and Co., Inc. New York

บังอร เหลาเสถียรกิจ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ " เห็ดพิษ " พฤษภาคม 2543

สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแหงประเทศไทย. เห็ดพิษ กรุงเทพฯ : บริษัทนิวธรรมดาการพิมพ

(ประเทศไทย) จํากัด, 2543. หนา 1 – 15 และ 27 – 32

สมิง เกาเจริญและคณะ. หลกัการวินิจฉัยและรักษาภาวะเปนพิษ. พิมพคร้ังที่ 1: ศูนยพิษวทิยา คณะ

แพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี, 2541.

อรุณี จันทรสนิท บรรณาธกิาร " เห็ดพิษ " สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแหงประเทศไทย พิมพคร้ังที่ 1 ป

พ.ศ. 2543 บริษัท นิวธรรมดาการพิมพ ประเทศไทย 158 ซอยดอนกุศล ถนนเจริญกรุง 57 แขวง

ยานนาวา เขตสาธร กรุงเทพ ฯ 10120

http://www.mushroomtroll.com/mushroom.htm

อางอิงรูป

http://www.photo.net/bboard/q-and-a-fetch-msg?msg_id=009WMp

http://userwww.sfsu.edu/~pgwerner/psilocybe_sf_2003.jpg

35

http://www.mushroomtroll.com/mushroom.htm

http://www.nso.lt/lucid/sabina.htm

http://www.erowid.org/plants/mushrooms/mushrooms_cultivation_az5.shtml

http://www.herbaldistribution.com/productinfo.php?productmain=263

http://www.erowid.org/plants/mushrooms/safe-pik/assorted2.shtml

http://www.nso.lt/lucid/sabina.htm

http://www.shroomery.org/forums/showflat.php/Number/3348302

http://www.gamedev.net/community/forums/ViewReply.asp?id=1538889