ความเข าใจมโนมต ิทางวิทยาศาสตร ... ·...

8
17 บทคัดยอ การวิจัยนี ้มีความมุ งหมายเพื ่อศึกษาความเขาใจ มโนมติทางวิทยาศาสตร เรื ่อง สิ ่งมีชีวิตกับกระบวนการ ดำรงชีวิต ของครูผู สอนที ่ไมใชครูวิทยาศาสตรในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 1 กอนและหลังการฝกอบรมระยะสั ้น 2 วัน กลุมตัวอยาง ไดแก ครูผูสอนที่ไมใชครูวิทยาศาสตร ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 จำนวน 45 คน ซึ่งไดมา โดยการเลือกแบบเจาะจงเขตพื้นทีในภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แผนการฝกอบรมระยะสั ้น และแบบทดสอบวัดมโนมติ ทางวิทยาศาสตร ชนิดตัวเลือก 2 ลำดับขั ้น 5 ตัวเลือก จัดกลุ มคำตอบโดยใชเกณฑที ่ปรับมาจากงานวิจัยของ Westbrook and Marek สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก ความถีรอยละ และการทดสอบคาสถิติแบบ Wilcoxon signed rank test ผลการวิจัยพบวา หลังไดรับ การฝกอบรม ครูผู สอนที ่ไมใชครูวิทยาศาสตรในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 1 มีความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิตในระดับ มีความเขาใจที่สมบูรณ (รอยละ 60.00) เพิ่มขึ้น * อาจารยรายวิชาวิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จากกอนไดรับการฝกอบรม ( รอยละ 37.77) มีความเขาใจ ที ่คลาดเคลื ่อนบางสวน (รอยละ 24.44) ลดลงจากกอน ไดรับการอบรม (รอยละ 35.55) และมีความเขาใจ ที่คลาดเคลื่อน ( รอยละ 15.55) ลดลงจากกอนไดรับ การอบรม (รอยละ 26.66) อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 คำสำคัญ: มโนมติทางวิทยาศาสตร, ครูผูสอนที่ไมใช ครูวิทยาศาสตร, การฝกอบรมระยะสั้น ABSTRACT The purposes of this research were to study an understanding of scientific concept on conceptual change in the living things of the primary school science teachers in Udon Thani primary educational Service area office 1 before and after participating in 2 days training program. The samples were 45 primary school non-science teachers, Udon Thani primary educational Service area office 1, in academic year 2012 selected by specified sampling. The research instruments were the short-course training program and the two-tier ความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เรื ่อง สิ ่งมีชีวิตกับกระบวนการ ดำรงชีวิตของครูผู สอนที ่ไมใชครูวิทยาศาสตร ในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื ้นที ่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 AN UNDERSTANDING OF SCIENTIFIC CONCEPT IN LIVING THINGS AND PROCESS OF LIFE IN NON-SCIENCE TEACHERS IN PRIMARY UDON THANI EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1 วรวัฒน ทิพจอย* Worawat Tipchoi

Upload: others

Post on 24-Feb-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ความเข าใจมโนมต ิทางวิทยาศาสตร ... · 2015-01-13 · บท คัดย อ ... ดำรงชีวติ ของครูผู

17

บทคัดยอ การวิจัยน้ีมีความมุงหมายเพ่ือศึกษาความเขาใจ มโนมติทางวิทยาศาสตร เร่ือง ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการ ดำรงชีวิต ของครูผูสอนท่ีไมใชครูวิทยาศาสตรในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 1 กอนและหลังการฝกอบรมระยะส้ัน 2 วัน กลุมตัวอยาง ไดแก ครูผูสอนที่ไมใชครูวิทยาศาสตร ในโรงเ รียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 จำนวน 45 คน ซึ่งไดมา โดยการเลือกแบบเจาะจงเขตพ้ืนท่ี ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย ไดแก แผนการฝกอบรมระยะส้ัน และแบบทดสอบวัดมโนมติ ทางวิทยาศาสตร ชนิดตัวเลือก 2 ลำดับข้ัน 5 ตัวเลือก จัดกลุมคำตอบโดยใชเกณฑท่ีปรับมาจากงานวิจัยของ Westbrook and Marek สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก ความถี่ รอยละ และการทดสอบคาสถิติแบบ Wilcoxon signed rank test ผลการวิจัยพบวา หลังไดรับ การฝกอบรม ครูผูสอนท่ีไมใชครูวิทยาศาสตรในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 1 มีความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เรื ่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิตในระดับ มีความเขาใจที่สมบูรณ (รอยละ 60.00) เพ่ิมขึ้น

* อาจารยรายวิชาวิทยาศาสตรเพ่ือคุณภาพชีวิต สำนักวิชาศึกษาท่ัวไป มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

จากกอนไดรับการฝกอบรม (รอยละ 37.77) มีความเขาใจ ท่ีคลาดเคล่ือนบางสวน (รอยละ 24.44) ลดลงจากกอน ไดรับการอบรม (รอยละ 35.55) และมีความเขาใจ ที่คลาดเคลื่อน ( รอยละ 15.55) ลดลงจากกอนไดรับ การอบรม (รอยละ 26.66) อยางมีนัยสำคัญทางสถิต ิที่ระดับ .05คำสำคัญ: มโนมติทางวิทยาศาสตร, ครูผูสอนที่ไมใช ครูวิทยาศาสตร, การฝกอบรมระยะสั้น

ABSTRACT The purposes of this research were to study an understanding of scientific concept on conceptual change in the living things of the primary school science teachers in Udon Thani primary educational Service area office 1 before and after participating in 2 days training program. The samples were 45 primary school non-science teachers, Udon Thani primary educational Service area office 1, in academic year 2012 selected by specified sampling. The research instruments were the short-course training program and the two-tier

ความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เร่ือง ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิตของครูผูสอนท่ีไมใชครูวิทยาศาสตร ในโรงเรียนสังกัด

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1AN UNDERSTANDING OF SCIENTIFIC CONCEPT IN

LIVING THINGS AND PROCESS OF LIFE IN NON-SCIENCE TEACHERS IN PRIMARY UDON THANI

EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1

วรวัฒน ทิพจอย*Worawat Tipchoi

Page 2: ความเข าใจมโนมต ิทางวิทยาศาสตร ... · 2015-01-13 · บท คัดย อ ... ดำรงชีวติ ของครูผู

18

multiple-choice diagnostic tests. The criterion for data analysis was adapted from Westbrook and Marek. The data were analyzed by using frequency, percentage, and the Wilcoxon signed ranks test. The study resulted that: after training, the level of understanding of scientific concept of non-science teachers in Udon Thani primary educational Service area office 1 toward living things and processes of life in Complete Understanding (60.00%) was higher than those before (37.77%), Partial Understanding with Specific Alternative Conception (24.44%) was lower than those before (35.55%) and Alternative Conception (15.55%) was lower than those before (26.66%) at the .05 level of significance. Keywords: scientific concept, non-science teachers, short-course training program.

บทนำ โลกมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วในทุกมิติ ซึ่งลวนสงผลตอวิถีชีวิตและความเปนอยูของทุกคน ในสังคม ดังน้ันการพัฒนาคนใหมีศักยภาพและรูเทาทัน การเปล่ียนแปลงจึงตองมุงเนนท่ีการศึกษา เพราะถือเปน กระบวนการสำคัญในการสงเสริมและพัฒนาคนให มีศักยภาพท่ีเขมแข็ง รัฐบาลใหความสำคัญเก่ียวกับ การยกระดับคุณภาพการศึกษาของคนไทยอยางมี บูรณาการและสอดคลองกันต้ังแตระดับปฐมวัยจน ถึงระดับอุดมศึกษาท้ังในและนอกระบบการศึกษา เสริมสรางและพัฒนาคุณภาพระบบการเรียนรู ตลอดชีวิต ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูใหม ีคุณภาพและคุณธรรมอยางท่ัวถึง ตอเน่ือง และกาวทัน การเปล่ียนแปลง สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ที่ให ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมใหมี คุณธรรม มีความพรอมทั้งดานรางกาย สติปญญา อารมณ สังคม และศีลธรรม สามารถกาวทันการ เปล่ียนแปลงเพ่ือนำไปสูสังคมฐานความรูไดอยางม่ันคง (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ

สังคมแหงชาติ, 2554) จะเห็นไดวาการศึกษาเปนพ้ืนฐาน ที่สำคัญในการสงเสริมใหเกิดสังคมแหงการเรียนรู (knowledge-based society) การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่ 2 ซึ่งกำหนดการขับเคลื่อนระหวาง พ.ศ. 2552-2561 กำหนดใหคนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิต อยางมีคุณภาพ กำหนดตัวช้ีวัด 4 ขอ คือ 1) พัฒนา คุณภาพของผูเรียนยุคใหมใหมีคุณลักษณะเกงดีมีสุข คงเอกลักษณความเปนไทยและเทาทันความเปนสากล 2) พัฒนาครูยุคใหมใหมีความรูความสามารถและ ทักษะทางวิชาชีพท่ีสอดรับการเปล่ียนแปลง 3) พัฒนา สถานศึกษาเปนแหลงเรียนรูยุคใหม และ 4) พัฒนา การบริหารจัดการใหมท่ีมุงเนนการกระจายอำนาจ และ การมีสวนรวมในการจัดการศึกษาอยางแทจริง (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2552) ซึ่ง เจตนารมณของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 จะประสบผลสำเร็จไดปจจัยท่ีสำคัญย่ิงคือครู จากการ ประเมินผลการจัดการศึกษาท่ีผานมาของสำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา พบวา ผลสัมฤทธ์ิในวิชาหลัก ไดแก ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร มีคาเฉลี่ยต่ำกวารอยละ 50 สอดคลองกับขอมูล ของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 ที่มีผลการเรียนในวิชาหลักตกต่ำเชนกันโดย เฉพาะวิชาวิทยาศาสตร เห็นไดจากคะแนนผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผูเรียน (NT) และ การประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับทองถิ่น (LAS) ตั้งแตปการศึกษา 2551 เปนตนมา พบวา ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลงและมีแนวโนม ที่จะลดลงเรื่อย ๆ (สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1, 2554) ซึ่งอาจเปนผล มาจากครูผูสอนมีพื้นฐานความรูที่ ไมตรงสาย วิทยาศาสตร ทำใหการจัดกิจกรรมการเรียนรูไมเอ้ือตอ การเรียนรูวิทยาศาสตรเชิงมโนมติ ทำใหผูเรียนไมเขาใจ มโนมติทางวิทยาศาสตร หรือมีมโนมติทางวิทยาศาสตร ที่คลาดเคลื่อน (alternative conception) โดยเฉพาะ สาขาชีววิทยาในระดับประถมศึกษาท่ีผูเรียนมักมี แนวคิดที่ผิดพลาดในเรื่องการเจริญเติบโตของพืช

Page 3: ความเข าใจมโนมต ิทางวิทยาศาสตร ... · 2015-01-13 · บท คัดย อ ... ดำรงชีวติ ของครูผู

19

การสังเคราะหดวยแสง และความสัมพันธระหวางพืช กับมนุษยและสัตว หรือแมกระท่ังการจำแนกพืชและ สัตวในระดับมัธยมศึกษาตอนตน (คฑาวุธ เสียงล้ำ, จีระพรรณ สุขศรีงาม และมยุรี ภารการ, 2556) ดังนั้น การจะยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร ใหสูงข้ึนน้ัน ครูตองจัดการเรียนการสอนเพ่ือใหผูเรียน เขาใจมโนมติที่สำคัญในทางวิทยาศาสตรที่ถูกตอง เ พ่ือใหสามารถจำแนกเ ร่ืองราวที่ ซับซอนทาง วิทยาศาสตรได การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรเพ่ือให ผูเรียนมีมโนมติทางวิทยาศาสตรท่ีถูกตอง ควรสอดคลอง กับธรรมชาติของการเ รียนรูวิทยาศาสตรที่ เนน กระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรูและการแกปญหา ท่ีหลากหลาย ใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูทุกข้ันตอน และไดลงมือปฏิบัติจริง (สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2551) เพ่ือใหไดท้ังกระบวนการ และองคความรู ตลอดจนจิตวิทยาศาสตร ซ่ึงสอดคลอง กับแนวคิดกลุมสรางสรรคความรู (constructivism) ท่ีวาผูเรียนเปนผูสรางความรูจากความสัมพันธระหวาง ส่ิงท่ีพบเห็นกับความรูเดิมท่ีมีมากอน โดยพยายามนำ ความเขาใจเก่ียวกับเหตุการณและประสบการณที่ตน พบมาในชีวิตประจำวันมาสรางเปนโครงสรางทาง ความรู (สุมาลี ชัยเจริญ, 2546) จะเห็นไดวาหากครูไมสามารถจัดกิจกรรม การเรียนการสอนไดอยางเหมาะสม จะทำใหผูเรียน เกิดมโนมติที่ผิดพลาดหรือไมถูกตอง ซึ่งเปนอุปสรรค ตอการเรียนรูใหม การเช่ือมโยงความรูเดิมกับความรู ใหมลาชาหรือไมบังเกิดผล บางคร้ังตองกลับไปทบทวน ความรูเดิมหรือแกมโนมติเสียกอน (มณีกานต หินสอ, 2549) ดังนั้นการฝกอบรมครูใหมีความเขาใจมโนมติ ทางวิทยาศาสตรจะทำใหสามารถจัดการเรียนการ สอนท่ีเอ้ือใหผู เ รียนเกิดมโนมติทางวิทยาศาสตร ท่ีถูกตองได โดยเฉพาะครูผูสอนท่ีไมใชครูวิทยาศาสตร ควรใชวิธีการฝกอบรมระยะสั้นในวันเสารและอาทิตย เพ่ือเล่ียงผลกระทบกับการเรียนการสอนในวันปกติ การฝกอบรมครูเปนวิธีการพัฒนาครูใหมีประสิทธิภาพ ในการสอน ชวยใหเกิดการเรียนรู และสามารถ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใหเปนไปตามวัตถุประสงค

(Ellis, 1990) สอดคลองกับแนวคิดของ Goldstein (1993) ที่กลาววา การฝกอบรมในระยะสั้นสามารถ เพ่ิมพูนความรู ทักษะ ความสามารถ และเจตคติ ท่ีจะชวยปรับปรุงการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึน อีกท้ังยังนำไปปฏิบัติไดทันที ไมจำกัดการศึกษา สถานท่ี เพศ และโอกาส เปนการเรียนรูตลอดชีวิต (นิรชา ทองธรรมชาติ และคณะ, 2544) โดยมีเปาหมายใหผู เขารับการอบรมนำไปใชปฏิบัติจริงอันเกิดประโยชน ตอผูเขารับการอบรม (ศักรินทร ชนประชา, 2550) ผูวิจัยจึงไดดำเนินการฝกอบรมระยะส้ันกับ ครูผูสอนท่ีไมใชครูวิทยาศาสตรในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 เร่ือง ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต เปนเวลา 2 วัน เพ่ือใหครูผูสอนที่ไมใชครูวิทยาศาสตรสามารถ จัดการเรียนการสอนท่ีสงเสริมใหผูเรียนมีมโนมติ ทางวิทยาศาสตรที่ถูกตอง ชวยแกปญหาผูเรียนมีผล การเรียนตกต่ำและชวยยกระดับผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนวิทยาศาสตรใหสูงขึ้นได

วัตถุประสงคของการวิจัย เพ่ือศึกษาความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เร่ือง ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ของครูผูสอน ที่ไมใชครูวิทยาศาสตรในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 กอนและ หลังการฝกอบรมระยะสั้น 2 วัน

วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง ไดแก ครูผูสอนท่ีไมใชครูวิทยาศาสตรในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 จำนวน 45 คน ซึ่งไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง (specified sampling) เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 1 ในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2555 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 1. แผนการฝกอบรมระยะสั้นเร่ือง สิ่งมีชีวิต กับกระบวนการดำรงชีวิต จำนวน 2 แผน แผนละ 4 ชั่วโมง กำหนดรูปแบบกิจกรรมที่มุงเนนการเช่ือมโยง ความรูกับกระบวนการจากการสืบเสาะหาความรูและ

Page 4: ความเข าใจมโนมต ิทางวิทยาศาสตร ... · 2015-01-13 · บท คัดย อ ... ดำรงชีวติ ของครูผู

20

สรางองคความรูดวยตนเองผานการลงมือปฏิบัติโดย ใชกิจกรรมท่ีหลากหลาย วิทยากรหลักในการฝกอบรม จำนวน 2 คน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีและ วิทยากรผูชวย จำนวน 6 คน จากโรงเรียนสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 2. แบบทดสอบวัดมโนมติทางวิทยาศาสตร เร่ือง ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต พัฒนามาจาก ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง พ.ศ. 2551 กลุม สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาตอนตน จำนวน 20 ขอ เปนแบบตัวเลือก 2 ลำดับข้ัน (two-tier multiple-choice diagnostic test) คือ ระดับท่ี 1 คำถามท่ีมีตัวเลือก 5 ตัวเลือก ระดับท่ี 2 การใหเหตุผลสนับสนุนคำตอบในระดับที่ 1 ซึ่งใน ระดับที่ 2 ไดสรางตัวเลือกอีก 5 ตัวเลือก ผานการ พิจารณาความตรงและความเหมาะสมของตัวเลือก ในระดับที่ 2 จากผูเช่ียวชาญ 3 ทาน ไดคาดัชนี ความสอดคลอง 1.00 ทุกขอ โดยใชเกณฑท่ีปรับมาจาก งานวิจัยของ Westbrook & Marek (1991, 1992) จัดระดับความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เปน 3 กลุม ไดแก 1) กลุมท่ีมีความเขาใจท่ีสมบูรณ (CU) หมายถึง คำตอบถูกตองทั้งในระดับที่ 1 และระดับที่ 2 ที่เปน เหตุผลสนับสนุน 2) กลุมท่ีมีความเขาใจท่ีคลาดเคล่ือน บางสวน (PS) หมายถึง คำตอบถูกตองเพียงระดับท่ี 1 หรือระดับท่ี 2 และ 3) กลุมท่ีมีความเขาใจท่ีคลาดเคล่ือน (AC) หมายถึง คำตอบไมถูกตองท้ังในระดับที่ 1 และ ระดับที่ 2 การเก็บรวบรวมขอมูล ดำเนินการตามข้ันตอน ดังนี้ 1. ทดสอบกอนการฝกอบรม (pre-test) โดยใช แบบวัดมโนมติทางวิทยาศาสตร เร่ือง สิ่งมีชีวิตกับ กระบวนการดำรงชีวิต กับครูผูสอนท่ีไมใชครูวิทยาศาสตร เปนเวลา 30 นาที 2. ดำเนินการฝกอบรมตามแผนการฝกอบรม ระยะสั้น เรื ่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต จำนวน 2 แผน แผนละ 4 ช่ัวโมง รวมระยะเวลา 8 ช่ัวโมง 3. นำแบบวัดมโนมติทางวิทยาศาสตร เร่ือง ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต (ฉบับเดิม) ไปทดสอบ กับครูกลุมเดิมอีกคร้ัง (post-test) เปนเวลา 30 นาที

นำผลที่ไดไปวิเคราะหขอมูลทางสถิติ แบบแผนการวิจัย ใชแบบแผนการวิจัยแบบ ทดสอบกอนและหลังกับกลุมเดียว (one-group pretest- posttest design)

T1 X T2

T1 แทน การทดสอบกอนการฝกอบรม (pre-test) X แทน การฝกอบรมระยะสั้น 2 วัน T2 แทน การทดสอบหลังการฝกอบรม (post-test)

การวิเคราะหขอมูล ดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. นำผลการวัดมโนมติทางวิทยาศาสตรของ ครูผูสอนที่ไมใชครูวิทยาศาสตรที่ไดรับการฝกอบรม มาหาคาความถ่ี คารอยละ ของการตอบแบบทดสอบ 2 ลำดับขั้น 2. วิเคราะหความถ่ี รอยละ ของจำนวนครูผูสอน ท่ีไมใชครูวิทยาศาสตร ท่ีเ ลือกตอบแบบทดสอบ 2 ลำดับขั้น กอนและหลังการฝกอบรมระยะสั้น จัด ระดับความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เปน 3 กลุม ไดแก CU, PS และ AC 3. เป รียบเทียบความเขาใจมโนมติทาง วิทยาศาสตรของครูผูสอนที่ไมใชครูวิทยาศาสตร กอนและหลังการฝกอบรมระยะส้ัน โดยใชสถิติ Wilcoxon signed rank test กำหนดนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

ผลการวิจัย 1. การเปรียบเทียบความเขาใจมโนมติทาง วิทยาศาสตรของครูผูสอนที่ไมใชครูวิทยาศาสตร ในโรงเ รียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 กอนและหลังการฝกอบรม ระยะส้ัน โดยครูท่ีตอบถูกตองท้ัง 2 ระดับ จัดเปนกลุม CU ครทูี่ตอบถูกตองระดับใดระดับหนึ่ง จัดเปนกลุม PS และครูที่ตอบผิดทั้ง 2 ระดับ จัดเปนกลุม AC จากน้ันนำมาหาคารอยละ ดังตารางที่ 1

Page 5: ความเข าใจมโนมต ิทางวิทยาศาสตร ... · 2015-01-13 · บท คัดย อ ... ดำรงชีวติ ของครูผู

21

จะเห็นไดวา กอนไดรับการฝกอบรมระยะสั้น ครูผูสอนที่ไมใชครูวิทยาศาสตรมีความเขาใจมโนมติ ทางวิทยาศาสตรในระดับมีความเขาใจที่สมบูรณ (CU) รอยละ 37.77 ระดับมีความเขาใจท่ีคลาดเคล่ือน บางสวน (PS) รอยละ 35.55 และระดับมีความเขาใจ ที่คลาดเคลื่อน (AC) รอยละ 26.66 เมื่อไดรับ การฝกอบรมระยะส้ัน ครูผูสอนท่ีไมใชครูวิทยาศาสตร มีความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตรในระดับ มีความเขาใจที่สมบูรณ (CU) รอยละ 60.00 ระดับ มีความเขาใจที่คลาดเคล่ือนบางสวน (PS) รอยละ 24.44 และระดับมีความเขาใจที่คลาดเคล่ือน (AC) รอยละ 15.55

2. การเปรียบเทียบความเขาใจมโนมติทาง วิทยาศาสตรของครูผูสอนที่ไมใชครูวิทยาศาสตร ในโรงเ รียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 กอนและหลังการฝกอบรม ระยะส้ัน โดยนำความถ่ีของจำนวนครูผูสอนท่ีไมใชครู วิทยาศาสตรที่มีความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร ในระดับ CU, PS และ AC มาเปรียบเทียบโดยใชสถิติ Wilcoxon signed rank test กำหนดนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ดังตารางที่ 2

จะเห็นไดวา หลังจากไดรับการฝกอบรมระยะส้ัน ครูผูสอนที่ไมใชครูวิทยาศาสตรมีความเขาใจมโนมติ ทางวิทยาศาสตรในระดับมีความเขาใจที่สมบูรณ

(CU) เพิ่มขึ้นจากกอนไดรับการฝกอบรม ระดับ มีความเขาใจที่คลาดเคลื่อนบางสวน (PS) และระดับ มีความเขาใจที่คลาดเคลื่อน (AC) ลดลงจากกอน ไดรับการฝกอบรม อยางมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

Page 6: ความเข าใจมโนมต ิทางวิทยาศาสตร ... · 2015-01-13 · บท คัดย อ ... ดำรงชีวติ ของครูผู

22

อภิปรายผล จากผลการวิจัยท่ีพบวา หลังจากไดรับการฝก อบรมระยะส้ัน ครูผูสอนท่ีไมใชครูวิทยาศาสตรในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 1 มีความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร ในระดับมีความเขาใจที่สมบูรณ (CU) เพ่ิมขึ้น สวน ระดับมีความเขาใจท่ีคลาดเคล่ือนบางสวน (PS) และ ระดับมีความเขาใจท่ีคลาดเคล่ือน (AC) ลดลงจากกอน ไดรับการฝกอบรมระยะส้ัน อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 อาจเนื่องมาจากเปนเน้ือหาที่สอดคลอง กับสาระและมาตรฐานการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ทำใหครูผูสอนเห็นความสำคัญ ของเนื้อหาดังกลาวจึงเกิดความมุงมั่นและต้ังใจ ในการฝกอบรม เพ่ือนำความรูและประสบการณไปใช จัดการเรียนการสอน นอกจากนี้รูปแบบกิจกรรมที่มุง สงเสริมการจัดการเรียนการสอนท่ีเอ้ือตอการเรียนรู ทางวิทยาศาสตรเชิงมโนมติท่ีเนนการเช่ือมโยงความคิด กับกระบวนการ เนนการมีสวนรวมในกิจกรรม ทำให ครูผูสอนเกิดความรูความเขาใจในเนื้อหาอันนำไปสู การพัฒนามโนมติทางวิทยาศาสตรใหมีความถูกตอง สมบูรณมากข้ึน ประกอบกับการฝกอบรมมีการใชสื่อ ประกอบที่หลากหลายทำใหเสริมสรางศักยภาพ ในการเรียนรูของครูผูสอน เน่ืองจากเปนครูผูสอนท่ีจบมา ไมตรงสายวิทยาศาสตร ซ่ึงอาจมีความเขาใจเบ่ียงเบน ไปจากแนวคิดทางวิทยาศาสตรที่ยอมรับกันอยูใน ปจจุบัน เพราะความรูสวนใหญไดจากการทองจำจาก ตำราทำใหจินตนาการเน้ือหาผิดไปจากขอเท็จจริงได ดังนั้นการใชสื่อประกอบการฝกอบรมท่ีหลากหลาย จะทำใหครูผูสอนมองเน้ือหาในลักษณะเปนรูปธรรม มากข้ึน สอดคลองกับแนวคิดของนภาพร แถวโนนง้ิว (2537) ที่กลาววา การใชสื่อการสอนที่เหมาะสม จะชวยใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจและมีมโนมติ ที่ถูกตอง ประกอบกับวิทยากรหลักและวิทยากรผูชวย มีประสบการณดานการสอนวิทยาศาสตร ทำใหดำเนิน กิจกรรมไดอยางตอเน่ือง สงผลใหครูผูสอนเขาใจเน้ือหา อยางถองแท จดจำไดนาน ลดสาเหตุของการเกิด ความเขาใจมโนมติที่คลาดเคล่ือนได

ประการที ่สอง เปนเนื ้อหาที ่ครูผู สอนมี ประสบการณจากการจัดการเรียนการสอนมาแลว เม่ือฝกอบรมเพ่ิมเติมทำใหคนพบความรูใหมท่ีแตกตาง จากความรูเดิม สามารถนำมาปรับขยายเน้ือหาโดยใช กระบวนการวิเคราะหแยกแยะจนสามารถสรุปเปน มโนมติของตนเองได สอดคลองกับแนวคิดของวรนุช แหยมแสง (2549) ที่กลาววา พื้นฐานความรูเดิมหรือ ประสบการณเดิมหรือมโนมติที่เปนพื้นฐานเดิมของ ผูเรียนซ่ึงมีมากอนอยางถูกตอง ทำใหผูเรียนไมสับสน ในการตอยอดความรูใหมหรือสรุปเปนมโนมติของ ความรูใหมไดถูกตอง สอดคลองกับแนวคิดของ จันทรจิรา ชุมเรืองศรี (2539) ท่ีกลาววา การสรางมโนมติ จะเกิดข้ึนตอเม่ือบุคคลน้ันมีประสบการณจากการสังเกต จนเกิดการเรียนรูความจริง หลักการ และลงขอสรุป ของสิ่งนั้นไดอยางชัดเจน จากน้ันจึงนำมาสัมพันธกับ โครงสรางของความรูของตนแลวสรุปเปนมโนมติ และ ยังสอดคลองกับแนวคิดของทวีป บรรจงเปล่ียน (2540) ท่ีกลาววา การสรางมโนมติเร่ิมจากการสังเกตวัตถุหรือ เหตุการณ ทำใหเกิดการรับรูและจัดระบบความคิด แลวนำมาแยกแยะโดยอาศัยสมบัติเฉพาะของวัตถุหรือ เหตุการณน้ัน แลวจึงหาความสัมพันธกับแนวความคิด ของตนจนเขาใจและสรุปเปนมโนมติได ประการท่ีสาม การแลกเปล่ียนความคิดเห็น ระหวางการฝกอบรมทำให เ กิดการเรียนรูและ เขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตรมากย่ิงขึ้น จากเดิม ที่อาจมีความเขาใจมโนมติที่คลาดเคลื่อนมาเปน มโนมติที่ถูกตอง หรือมีความเขาใจมโนมติที่ถูกตอง อยูแลวมาเปนความเขาใจท่ีถูกตองสมบูรณมากขึ้น สอดคลองกับแนวคิดของ Mittlefehldt & Grotzer (2003) ที่กลาววา การอภิปรายภายในกลุมแลวสรุป เปนแนวคิดรวมกันจะทำใหผู เรียนนำความคิด ดังกลาวมาปรับปรุงความคิดของตน สงผลใหมี ความเขาใจมโนมติที่สมบูรณมากข้ึน สอดคลองกับ แนวคิดของวิชาญ พันธุประเสริฐ (2551) ที่กลาววา การแลกเปล่ียนความคิดเห็นทำใหผูเขารับการอบรม มีความเขาใจในหลักการและทฤษฎีมากขึ้น ไดรับ ความรูใหมที่แตกตางจากความรูเดิม หรือสงเสริม ความรูเดิมใหชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งความรูดังกลาวไมได

Page 7: ความเข าใจมโนมต ิทางวิทยาศาสตร ... · 2015-01-13 · บท คัดย อ ... ดำรงชีวติ ของครูผู

23

มาจากการทองจำหรือศึกษาจากตำรา แตเกิดจาก พื้นฐานประสบการณ เ ดิมผสมกับความรู และ ประสบการณใหมที่ไดรับจากการปฏิบัติกิจกรรมจน สามารถสรุปเปนมโนมติที่ถูกตองได นอกจากนี้ การท่ีวิทยากรสุมถามเปนระยะทำใหทราบถึงความรู ความเขาใจของครูผูสอนและสะทอนถึงรูปแบบและ กระบวนการฝกอบรมวาสงเสริมกระบวนการเรียนรู ของครูผูสอนมากนอยเพียงใด จนสามารถปรับกลวิธี นำเสนอไดสอดคลองกับสภาพการณท่ีเกิดข้ึนนำมาซ่ึง ประสิทธิภาพในการฝกอบรม ดังที่รวีวัตร สิริภูบาล (2543) กลาววา การตรวจสอบความเขาใจและเอาใจใส ตอการฝกปฏิบัติของผูเขาอบรมจะสามารถแกไข สิ่ งผิดปกติและหาวิธีการแก ไขปญหาท่ี เ กิดขึ้น ในขณะฝกปฏิบัติไดทันที สอดคลองกับแนวคิดของ Beebe, Mottet & Roach (2004) ท่ีกลาววาการเลือกใช

วิธีการท่ีเหมาะสมในการฝกอบรมจะชวยใหการฝก อบรมมีประสิทธิภาพ ตรงกับเปาหมายและความตอง การของการอบรม

ขอเสนอแนะ 1. ควรฝกอบรมครูผูสอนท่ีไมใชครูวิทยาศาสตร อยางตอเน่ืองและติดตามประเมินผลเปนระยะ 2. ควรกระตุนหรือสงเสริมใหครูผูสอนเห็น คุณคาและความสำคัญของการฝกอบรมสูงสุด พรอม ทั้งช้ีแนวทางการนำความรูและประสบการณจากการฝกอบรมไปใชในการจัดการเรียนการสอน 3. ควรศึกษามโนมติทางวิทยาศาสตรของครู ผูสอนใหครอบคลุมทั้ง 5 กลุมวิชา ไดแก ฟสกิส เคมี ชีววิทยา วิทยาศาสตรโลก และดาราศาสตร

บรรณานุกรมคฑาวุธ เสียงล้ำ, จีระพรรณ สุขศรีงาม และมยุรี ภารการ. (2556). การเปรียบเทียบผลของการเรียนตาม รูปแบบการคิดทางวิทยาศาสตรที่ดี โดยใชเทคนิคการรูคิดที่มีตอการเปล่ียนแปลงแนวความคิดเลือก เก่ียวกับมโนมติชีววิทยา: ปฏิกิริยาเคมีในเซลล เอนไซม และพลังงานเคมี และการคิดวิพากษวิจารณ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 ที่มีผลการเรียนชีววิทยาตางกัน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม (มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร), 7(1), หนา 159-170.จันทรจิรา ชุมเรืองศรี. (2539). การวิเคราะหมโนมติที่คลาดเคลื่อนวิชาวิทยาศาสตร (ว 102) เรื่อง ระบบนิเวศ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา วิทยาศาสตรศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.ทวีป บรรจงเปล่ียน. (2540). การศึกษาการเปรียบเทียบความเขาใจมโนมติวิทยาศาสตร เรื่อง โลกสีเขียว ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ระหวางกลวิธีการสอนเพื่อเปลี่ยนมโนมติตามทฤษฎีของ Posner และคณะกับการสอนปกติ. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.นภาพร แถวโนนงิ้ว. (2537). การวิเคราะหมโนมติที่คลาดเคลื่อนวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง โลกสีเขียว ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา, บณัฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. นิรชา ทองธรรมชาติ และคณะ. (2544). กลยุทธการฝกอบรมและวิทยากรในยุคโลกภิวัฒน. กรุงเทพฯ: ลินคอรนโปรโมช่ัน.มณีกานต หินสอ. (2549). ความเขาใจมโนมติทางวิทยาศาสตร เร่ือง ระบบไหลเวียนโลหิตในรางกายมนุษย ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงเม่ือใชยุทธศาสตรการสอนเพ่ือเปล่ียนมโนมติ. รายงานการศึกษาอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.

Page 8: ความเข าใจมโนมต ิทางวิทยาศาสตร ... · 2015-01-13 · บท คัดย อ ... ดำรงชีวติ ของครูผู

24

รวีวัตร สิริภูบาล. (2543). การพัฒนาแบบจำลองระบบฝกอบรมครูเชิงทักษะปฏิบัติ. ปริญญานิพนธ การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. วรนุช แหยมแสง. (2549). มโนมติและการพัฒนามโนมติ. วารสารรามคำแหง, 23(3), หนา 120-128.วิชาญ พันธุประเสริฐ. (2551). การพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมครูวิทยาศาสตรเพื่อออกแบบบทปฏิบัติการที่ สอดแทรกภูมิปญญาทองถ่ิน. ปริญญานิพนธการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ศักรินทร ชนประชา. (2550). การพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมการศึกษานอกระบบสำหรับครูผูสอนใน สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเชียงราย เขต 2. ปริญญานิพนธการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาผูใหญ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1. (2554). คูมือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน. อุดรธานี: สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1.สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมสาระการ เรียนรูวิทยาศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ.สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). ขอเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561). กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.สุมาลี ชัยเจริญ. (2546). ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต. ขอนแกน: ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนBeebe, Steven A., Mottet, Timothy P., & David, Roach, K. (2004). Training and development: Enhancing communication and leadership skills. New York, NY: Pearson and AB.Ellis, R. (1990). Activities and procedures for teacher training. In Richad Rossner & Rod Bolitho (Eds.). Currents of change in english language teaching. Oxford, England: Pergamon Press.Goldstein, I. L. (1993). Training in organizations: Needs assessment, development and evaluation (3rd ed.). Monterey, CA: Brooks/Cole.Mittlefehldt, Sarah, & Grotzer , Tina. (2003). Using metacognition to facilitate the causal models in learning density and pressure (Online). Available: http://webarrard.edu/Research/ UCPproject.html [2013, July 5]. Westbrook, S. L., & Marek , E. A. (1991). A cross-age study of student understanding of the concept of diffusion. Journal of Research in Science Teaching, 28(8), pp. 649-660._______. (1992). A cross-age study of student understanding of the concept of homeostasis. Journal of Research in Science Teaching. 29(1), pp. 51-61.