รายงาน - pr.sola kmuttarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf ·...

25
รายงาน การสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง ความเสี่ยงของประเทศไทยตอสถานการณปญหารอบดาน เสนอ อาจารยเฉลิมศักดิบุญนํา โดย นายจิรเดช พรมมา รหัส 46220005 นายชุมพล บุญจอม รหัส 46220009 นายณัฐพล ธรรมสิทธิรหัส 46220011 นายทนงเดช ปอกันทัง รหัส 46220012 นายทรงพล รุงเรืองวัฒนา รหัส 46220013 นายเทพปริญญา ปองขวาเลา รหัส 46220014 นายธรรมรัตน เดชกําแหง รหัส 46220018 นายพัลลภ แกวคะปวง รหัส 46220027 นายพิรจิตต เสือคง รหัส 46220028 นายรณภูมิ จันทรมล รหัส 46220033 นายวิทยา จําปาเรือง รหัส 46220036 นายสุวิทย สุวรรณรักษ รหัส 46220054 ภาควิชา วิศวกรรมเครื่องกล คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี

Upload: others

Post on 17-Jun-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

รายงาน การสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง ความเสี่ยงของประเทศไทยตอสถานการณปญหารอบดาน

เสนอ

อาจารยเฉลิมศักด์ิ บุญนาํ

โดย

นายจิรเดช พรมมา รหัส 46220005 นายชุมพล บุญจอม รหัส 46220009 นายณัฐพล ธรรมสิทธิ์ รหัส 46220011 นายทนงเดช ปอกันทัง รหัส 46220012 นายทรงพล รุงเรืองวัฒนา รหัส 46220013

นายเทพปริญญา ปองขวาเลา รหัส 46220014 นายธรรมรัตน เดชกําแหง รหัส 46220018 นายพัลลภ แกวคะปวง รหัส 46220027 นายพิรจิตต เสือคง รหัส 46220028 นายรณภูมิ จันทรมล รหัส 46220033 นายวิทยา จําปาเรือง รหัส 46220036 นายสุวิทย สุวรรณรักษ รหัส 46220054

ภาควิชา วิศวกรรมเครื่องกล คณะ วิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี

Page 2: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

คํานํา

รายงานเลมนี้เปนสานหนึ่งของวิชา สังคมวิทยา (ssc 260 ) ซ่ึงจะมีเนื้อหาเกีย่วกับการสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง ความเสี่ยงของประเทศไทยตอสถานการณปญหารอบดาน ทีไ่ดจัดขึน้ในวันอังคาร ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2548 โดยไดรับเกียรตจิากสามผูทรงคุณวุฒิมาเปนวทิยากร ไดแก รศ.ดร. ณรงค เพ็ชรประเสริฐ คุณประชยั เล่ียวไพรัตน คุณสมศักดิ์ จติติพลังศร ี เนื้อหารายงานในเลมนี้คือเปนการสรุปหัวขอและประเดน็ของการสัมมนาของวิทยากร และประวัติของวิทยากรทั้งสามทาน และยงัมีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุธศักราช ๒๕๔0 และหวังวารายงานเลมนีจ้ะเปนประโยชนแกผูศึกษาและสนใจการสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง ความเสี่ยงของประเทศไทยตอสถานการณปญหารอบดาน

คณะผูจัดทํา

Page 3: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

สารบัญ

ประวัต ิ รศ.ดร.ณรงค เพ็ชรประเสริฐ 1 คุณประชัย เล่ียวไพรัตน 7 คุณสมศักดิ์ จติติพลังศรี 10 เนื้อหาการสัมมนา

รศ.ดร.ณรงค เพ็ชรประเสริฐ 12 คุณประชัย เล่ียวไพรัตน 14 คุณสมศักดิ์ จติติพลังศรี 15 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔0 16

องคกรอิสระ 17 การมีสวนรวมของประชาชนในรัฐธรรมนูญ 21

Page 4: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

1

ประวัติ รศ.ดร. ณรงค เพ็ชรประเสริฐ

(Narong Perprasert)

ประวัติสวนตวั วันเดือนปเกิด 26 มิถุนายน 2491 สถานที่ บานดอนโพธิ์ ตําบลเชียรเขา อําเภอเชียรใหญ จังหวดันครศรีธรรมราช บิดา-มารดา นายปอง นางเกลื่อม (เสียชีวติแลว) สถานภาพสมรส สมรสกับนางวีรวรรณ มีบุตรชาย 2 คน ท่ีอยูปจจุบัน 99/37 ถ.พุทธมณฑลสาย2 ซ.สุขาภิบาล2 แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน

กทม. 10170 โทร.0-2448-3117 ท่ีทํางานปจจุบัน คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถ.พญาไท กทม. 10330 โทร.

0-2218-6243

รูปที่ 1 รศ.ดร. ณรงค เพ็ชรประเสริฐ

Page 5: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

2ประวัติการศึกษา 2514 เศรษฐศาสตรบัณฑิต มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร 2518 เศรษฐศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2525 M.A. (Social Development) ISS, The Hague, The Netherland 2535 Ph.D. (Industrial Labour) La Trobe University, Australia สมาชิกสมาคมวิชาชพี 2517 ประธานชมรมบัณฑิตแหงประเทศไทย 2517 – 2522 กรรมการสมาคมเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2524 – 2527 ผูประสานงานแผนกแรงงาน Asian Culture on Development (ACFOD) 2524 สมาชิกตลอดชีพสมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย บทบาทในองคกรแรงงาน 2519 กอตั้งและเปนผูนําสหภาพแรงงานธนาคารและการเงินแหงประเทศไทย 2521 – 2524 ผูประสานงานสหพันธแรงงานอาหารและโรงแรมระหวางประเทศ

(International Union of Foods and allied workers = IUF) 2524 เปนผูรวมกอตัง้สหพันธแรงงานสิ่งทอและเครื่องหนังแหงประเทศไทย 2524 – 2529 เปนผูประสานงานการจัดการศึกษาแรงงานของมูลนิธิเฟรดริช เอแบรท

(Fedrich Ebert Stiftumg = FES) ผูประสานงานองคกร Asian Workers’ Solidarity Link

ประสบการณดานอาชีพ ปจจุบัน รองศาสตราจารยประจําคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประธานหลักสูตรเศรษฐศาสตรการเมือง คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บรรณาธิการหนังสือเศรษฐศาสตรการเมือง คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ประธานกรรมการกิจการสัมพันธ องคการอุตสาหกรรมปาไม 2544 – 2546 อนุกรรมการกาํกับและประสานงานการดาํเนินงานแนวทางตามยุทธ

ศาสตรการพัฒนาสังคม ภายใตเงื่อนไขเงนิกู สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิประธานกรรมการจัดการหนีสิ้นเกษตรกร กองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร

Page 6: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

3 ประธานกรรมการองคการสงเสริมกิจการโคนมแหงประเทศไทย ประธานกรรมการบริหารและกลั่นกรอง องคการสวนยาง

ประธานกรรมการปรับปรุงประสิทธิภาพรัฐวิสาหกจิในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ประธานกรรมการเศรษฐกจิชุมชน กระทรวงมหาดไทย รองประธานกรรมการ องคการสวนสัตว 2542 – 2543 รองผูอํานวยการฝายวิชาการ สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2537 ที่ปรึกษาบริษทั เซาอีสด เอเชีย เทคโนโลย ี(บริษัทวจิัย) 2537 ที่ปรึกษารัฐมนตรีกระทรวงแรงงาน (พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ) 2537 – 2539 ผูอํานวยการศูนยพัฒนาแรงงานและการจดัการ คณะเศรษฐศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2526 ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตร ีนายพิชัย รัตตกุล 2526 ผูประสานงานกลุมเศรษฐศาสตรการเมือง สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย 2524 อนุกรรมการสาขาเศรษฐศาสตรแนวพุทธ สํานักงานวัฒนธรรมแหงชาติ 2523 อนุกรรมการการวางแผนพัฒนาเศรษฐกจิและสังคม ฉบับที่ 5 2522 เร่ิมเปนอาจารยคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2521 – 2522 นักวจิัย ฝายวชิาการ ธนาคารแหงประเทศไทย 2521 เจาหนาทีว่ิเคราะหสินเชื่อ สํานักผูชวยผูจัดการใหญ ธนาคารกรุงเทพ 2518 – 2519 หัวหนาหนวยวิจัยพิเศษ ฝายวิจัยและวางแผน ธนาคารกรุงเทพ 2518 นักวจิัย ฝายวิจยัและวางแผน ธนาคารกรุงเทพ 2517 ผูชวยหวัหนาแผนกวิจัย สภาหอการคาแหงประเทศไทย 2514 นักวจิัย สภาหอการคาแหงประเทศไทย 2513 ครู โรงเรียนสามเสนพาณิชยการบัณฑิต 2512 เจาหนาที่สินเชื่อเกษตร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร หมายเหต ุตั้งแตป 2522 – ปจจุบนั เปนนักบรรยายเผยแพรความคิด และความรูใหกลุมคนและชนชั้นอยางตอเนื่อง

Page 7: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

4งานวิจัย 2548 – ปจจุบัน การเผยแพรความรูการพัฒนาระบบสวัสดิการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติของ

ประชาชน 2543 – 2546 การพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสในสังคมไทย

(สกว.) 2542 การสํารวจความรูเชิงแนวคดิ ทฤษฎี บทบาท และความสาํคัญของ

โครงขายความปลอดภัยทางังคม (Social Safety Net) สกว. 2542 Study on the Public Response to the Employment Impact of the Financial Crisis in

Thailand. ILO Bangkok 2542 Labour Policy. Brooker groups, AOB 2541 การศึกษาเบื้องตนของความเปนไปไดในการจัดตั้งธุรกิจชุมชน 2541 คนจนทามกลางวิกฤติรวมสมัย 2538 ทรัพยากรมนษุยกับสวัสดิการสังคม สภาวิจัยแหงชาต ิ2533 White Collar Workers in Thailand วิทยานิพนธปริญญาเอก La Trobe

University, Australia 2529 โครงสรางการวางงานในประเทศไทยและการจางงานไมพอเพียง FES 2527 Employment problem in Thailand. FES 2525 The Political Economy of the Thai Labour Movement วิทยานพินธ (ขนาดสัน้)

สําหรับหลักสูตรปริญญาโท ของ ISS The Hague, The Netherland 2524 บทบาทขององคการคลังสินคาในตลาดการคาขาว สศช. 2524 บทบาทองคการตลาดเพื่อการเกษตรในตลาดการคาขาว สศช. 2521 ความตองการที่อยูอาศัยในกรุงเทพมหานคร ธนาคารกรุงเทพ 2520 โครงสรางอุตสาหกรรมอาหารสัตว ธนาคารกรุงเทพ 2519 โครงสรางอุตสาหกรรมพงซักฟอก ธนาคารกรุงเทพ 2519 โครงสรางอุตสาหกรรมปุยเคมี ธนาคารกรุงเทพ 2518 การดําเนนิงานของบริษัทการคาของญี่ปุน ธนาคารกรุงเทพ 2517 สมาคมการคาและหอการคาในประเทศไทย วิทยานิพนธปริญญา

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Page 8: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

5บทความวิจัย 2546 คนจนและสวสัดิการคนจน : ความหมาย แนวคดิ ทฤษฎี สกว. 2542 The Reform and Reform Debate in Thailand of the Global Financial Crisis.

Colloquium on 7-8 December 1999, Frankfurt. 2542 Community Business: A Concrete Model of Buddhist Economics. Seminar paper,

NGOs in a Global Future Conference 10-13 January 1999, Birmingham University 2541 Thai Economic Crisis. Seminar paper, Banks’ worker and Financial Crisis 7-8

January, Kuaalumpur 2541 Thai Economic Crisis in Buddhist Paradigm. Seminar paper, Religions in neo

liberalism, Mexico University, Mexico City 2539 คนปกขาวในระบบเศรษฐกจิการเมืองไทย. รายงานประกอบการสัมมนา

ไทยศึกษา, กันยายน 2539, เชยีงใหม สกว. 2538 แรงงานหญิงป 2000. กลุมสตรีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2538 รีเอนจิเนยีร่ิงกบัแรงงาน. สถาบันเทคโนโลยีสังคม 2534 แรงงานธนาคารและหางสรรพสินคา. มูลนิธิอารมณ พงศพงัน 2533 การตอสูเรียกรองของแรงงานสํานักงาน วารสารเศรษฐศาสตร. ธันวาคม

2533, คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย 2532 แรงงานสํานักงาน วารสารเศรษฐศาสตร. ธันวาคม 2532, คณะ

เศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2529 การแจงงานและแรงงานสัมพันธในประเทศไทย. รายงานประกอบการ

สัมมนาแรงงานสัมพันธในประเทศไทย 1-2 ตุลาคม 2529, สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

2528 โสเภณีและแรงงานเด็กในระบบสังคม-เศรษฐกิจ-การเมืองไทย. สมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย

2528 คาจางขั้นต่ํา 2528: บทวิพากษนโยบายรัฐบาลและแนวคิดเศรษฐศาสตรนีโอคลาสสิค. สมาคมเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน

2527 ขอมูลพื้นฐานอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย FES 2527 Working Conditions of Woman Works and Their Participation in Trade Unions

TWARO (Textile Workers Asian Regional Organization) 2526 The Development of Capitalism in Thailand. Seminar paper, Capital and Labour in

Thailand, August 1983, University of Copenhagen. 2526 The effects of Japanese TNCs on Thai Labour Movement and Industrial Relation.

Seminar paper, Transnational Corporations in Economic Development: A

Page 9: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

6Comparative Study of Experiences Between Japan and Thailand, 2-4 December 1983, Pattaya.

2522 การขยายตวัของทุนนิยมในประเทศไทย คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ผลงานที่พิมพเผยแพรในรปูเลม (ในนามณรงค เพ็ชรประเสริฐ และเศรษฐสยาม) 2546 บทสังเคราะหภาพรวม การพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคน

ดอยโอกาสในสังคมไทย. สกว. 2543 โครงขายความปลอดภัยทางสังคม: แนวคดิ ทฤษฎี บทบาท และ

ความสําคัญ. สกว. 2542 ธุรกิจชุมชน: เสนทางที่เปนไปได. สกว. 2542 สหรัฐอเมริกา: ยุทธศาสตรครองความเปนเจา. (พิมพ 2 คร้ัง) วิถีทรรศน 2541 ลัทธิบริโภคนิยมกับชุมชน. สํานักพิมพสมาพันธ 2540 เศรษฐกิจไทย. คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2539 สวัสดิการสังคมกับทรัพยากรมนุษย. คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย 2529 หมายเหตุ จากโพนมวง. สํานักพิมพสมาพนัธ 2524 การผูกขาดเศรษฐกิจไทย. สํานักพิมพสรางสรรค (พิมพ 2 คร้ัง) 2523 โรงงาน-บานนา. สํานักพิมพสรางสรรค 2522 จากทองนาถึงหอคอยงานชาง. สํานักพิมพ พี.พี. 2519 กลุมทุนนิยมผูกขาดในประเทศไทย. สํานกัพิมพปุถุชน ผลงานวิชาการที่พิมพเผยแพรในรูปแบบอ่ืนๆ 2540-2546 บรรณาธิการหนังสือเศรษฐศาสตรการเมือง 26 เลม 2540-2543 คําประกาศแหงยุคสมัย บทความวิชาการแสดงจุดยนืตอสถานการณตางๆ

ในวารสาร เศรษฐศาสตรการเมือง ตั้งแตฉบับที่ 3-24 จํานวน 22 บทความ 2532 สถานภาพของทุนไทย ใน “เศรษฐกิจไทยในระบบทนุนยิมโลก”ตํารา

คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2529 ปญหาการเมืองไทย บทที1่4 ตําราคณะรัฐศาสตร

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2528 เศรษฐกิจการเมืองไทย บทที ่3, 4, 6 และ 10 ตําราคณะรัฐศาสตร

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

Page 10: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

72526-2529 คอลัมนิสต เขียนบทความเศรษฐกิจ-การเมือง ในหนังสือพิมพมาตุภูมิ

ธุรกิจ 2520-2526 คมลัมนิสต เขียนบทความเศรษฐกิจ-การเมือง ในหนังสือพิมพสยามรัฐ

สุดสัปดาห 2514-2518 เขียนรายงานวเิคราะหเศรษฐกิจการคาประมาณ 100 ช้ิน เผยแพรใน

จดหมายขาวสภาหอการคาแหงประเทศไทย

ประวัติ คุณ ประชัย เลี่ยวไพรัตน

ตําแหนง ประธานเจาหนาที่บริหาร วันเดือนปเกิด 28 สิงหาคม 2487

รูปที่ 2 คุณประชัย เล่ียวไพรัตน

Page 11: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

8การศึกษา ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกยีรตินิยมอันดับ 1) University of

Canterbury ประเทศนวิซีแลนด ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑติ University of California (Berkeley) ประเทศสหรัฐอเมริกา

ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2521 – ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท อุตสาหกรรมปโตรเคมีกัลไทย จํากัด

(มหาชน) และบริษัทในเครือ ทีพีไอ พ.ศ. 2524 – ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท คาพลาสติกสากล จํากดั พ.ศ. 2529 – ปจจุบัน กรรมการผูจัดการ บริษัท ธนาพรชัย จํากดั พ.ศ. 2530 – 2537 กรรมการบริหาร บริษัท ทีพีไอ โพลีน จํากดั (มหาชน) พ.ศ. 2530 – ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ทีพีไอ โพลีออล จํากัด พ.ศ. 2531 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ไทยพลาสติกโพรดักส จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ไทยอินดัสเตรียมลเอสเตท จํากดั ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท อุตสาหกรรมโพลียูรีเทนไทย จํากัด พ.ศ. 2532 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท อุตสาหกรรมสหกรรมสหธัญญพืช จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ไทยพลาสติกฟลม จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท สหธัญญพืช จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท น้ํามันทีพีไอ จํากดั พ.ศ. 2533 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ THAI PETROCHEMICAL INDUSTRY (CAYMAN

ISLANDS) LTD. พ.ศ. 2533 – ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไนเตรทไทย จํากัด พ.ศ. 2534 – ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ไทย เอบเีอส จํากัด ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ทีพีไอ คอนกรีต จํากดั ประธานกรรมการ บริษัท ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร จํากดั กรรมการ บริษัท ไฮเทคนิตซู (ประเทศไทย) จํากัด พ.ศ. 2536 – ปจจุบัน กรรมการ บริษัท ไฮเทคอินดัสเตรียลเซอรวิส จํากัด ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ทีพีไอ ออลซีซ่ันส จํากัด พ.ศ.2537 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท ระยองแทงคเทอรมินัล จํากัด ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ทีพีไอ โฮลดิ้ง จํากัด กรรมการ บริษัท ไทยอนิเตอรเนชั่นแนล แท็งเกอร จํากดั พ.ศ. 2537 - 2544 กรรมการ บริษัท ทีพีไอ โพลีน จํากัด (มหาชน) พ.ศ. 2538 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท เทคโนโลยีทีพีไอ จํากัด

Page 12: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

9 ประธานกรรมการ บริษัท ผลิตไฟฟาทีพีไอ จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ทีพีไอ อะโรเมตกิส จํากัด (มหาชน)

ประธานกรรมการบริหาร บริษัท อุตสาหกรรมเหล็กกลาไทย จํากัด (มหาชน)

ประธานกรรมการ บริษัท โครงสรางพื้นฐานทีพีไอ จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท โพรพ็อกไซดไทย จํากดั ประธานกรรมการ บริษัท น้ํามันทีพีไอ (1995) จํากดั ประธานกรรมการ บริษัท น้ํามันทีพีไอ (1996) จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท น้ํามันทีพีไอ (1997) จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท น้ํามันทีพีไอ (1998) จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท น้ํามันทีพีไอ (1999) จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ทีพีไอพาณิชย จาํกัด ประธานกรรมการ บริษัท น้ํามันทีพีไอ (2001) จํากัด พ.ศ. 2539 – ปจจุบัน ประธานกรรมการ โรงกล่ันน้ํามันทีพีไอ (1997) จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ทีพีไอ โอเลฟนส จํากัด ประธานกรรมการ บริษัท ทีพีไอ อีโออีจี จาํกัด ประธานกรรมการ บริษัท ทีพีไอ แทงคเทอรมินัล จํากัด พ.ศ.2543 – ปจจุบัน ประธานกรรมการบริหาร บริษัท บางกอกสหประกันภัย จํากัด (มหาชน) พ.ศ. 2544 ข ปจจุบัน ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ทีพีไอ โพลีน จํากัด (มหาชน) เกียรติคุณสําคญัท่ีไดรับการยกยอง เครื่องอิสริยาภรณ มหาปรมาภรณชางเผือก (พ.ศ. 2542) ตําแหนงหนาท่ีทางสังคม

- กรรมการสมาคมสงออกขาวแหงประเทศไทย (พ.ศ.2525 – ปจจุบนั) - กรรมการสมาคมมิตรภาพไทย – จีน (พ.ศ.2532 – ปจจุบัน) - สมาชิกสภานติิบัญญัติแหงชาติ (พ.ศ. 2535 – 2537) - นายกสมาคมนักเรียนเกาประเทศนวิซีแลนด (พ.ศ. 2535 – 2537) - วุฒิสมาชิก (พ.ศ. 2537 – 2543) - กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิส่ิงแวดลอมเพื่อชีวิต (พ.ศ. 2537 – ปจจุบัน)

Page 13: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

10

ประวัติ คุณสมศักดิ ์ จิตติพลังศรี

เกิดเมื่อวันท่ี 29 ตุลาคม 2499 อายุ 49 ป ท่ีอยูปจจุบัน เลขที่ 12,14,16,18 ซอยจุฬาฯ 12 ถนนบรรทัดทอง แขวงวังใหม เขตปทุมวัน จ.

กรุงเทพฯ 10330 ประวัติการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ศึกษา ณ โรงเรียนวดับวรนเิวศ สายศิลป-ฝร่ังเศส ระดับปริญญาตรี ศึกษา ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คณะนติิศาสตรรุนที่ 41 (พ.ศ.2518 –

2523) การอบรมอื่น เขารับการอบรมหลักสูตร Mini MBA ธนาคารกรุงเทพจาํกัด (มหาชน)

ระยะเวลา 3 เดือน

รูปที่ 3 คุณสมศักดิ์ จิตตพิลังศร ี

Page 14: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

11เขารับการอบรมหลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจ สาธารณะสําหรับนักบริหารระดับสูง

รุนที่3 ของสถาบันพระปกเกลา สถานภาพ สมรส กับ นางจันทนา จติตพิลังศร ีจํานวนบุตร 3 คน ประกอบดวย

1. นางสาวธันยพร จิตติพลังศรี (บุตรสาว) จบการศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2. นายธันยวัฒน จิตติพลังศรี (บุตรชาย) จบการศึกษาเกยีรตนิิยมอันดับ1 ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร สาขาคอมพิวเตอร โดยไดรับการคัดเลอืกใหเขารวมโครงการโอลิมปกทางดานคอมพิวเตอร

3. ด.ญ. ธนพร จติติพลังศรี ปจจุบันศึกษาอยูโรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ผลงาน ปจจุบัน เปนประธานกรรมการบริหารบริษัทซัยโจ เด็นกิ อินเตอรเนชั่นแนลจํากดั โดยสามารถพัฒนาและสรางบริษัทผูผลิตและจําหนายเครื่องปรับอากาศของคนไทยใหสามารถแขงขันกับผูผลิตบริษัทขามชาติซ่ึงถือวาเปนผูผลิตรายใหญ 10 อันดับแรกของโลกในประเทศไทยดานเครื่องปรับอากาศ จนกระทัง่สามารถสรางยอดการขายติดอันดับ 2 ติดตอกันตลอด 5 ป ที่ผานมาโดยมีราคาขายไมต่ํากวาสินคาตางประเทศ

เกียรติประวัต ิ ไดรับการแตงตั้งเปนผูพิพากษาสมทบ เมื่อป พ.ศ. 2532 – 2534 รวมแลว 2

สมัย ไดรับการแตงตั้งเปนประธานรุน 2518 ของคณะนิตศิาสตร ม.ธรรมศาสตร ไดรับการแตงตั้งเปนประธานรุน ปศส.3 หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสาํหรับนักบริหารระดับสูง รุนที่ 3 สถาบันพระปกเกลา เปนผูบุกเบิกรวมกับกรมพัฒนาฝมือแรงงานเปดหลักสูตรการพัฒนาชวยเหลือลูกจางใหเปนเถาแก

Page 15: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

12

ประเด็นของวิทยากรแตละทาน วิทยากรทานแรก รศ.ดร. ณรงค เพ็ชรประเสริฐ

ปญหารอบดานที่มีผลกระทบตอประเทศไทยมาจาก วิกฤตการณภายอก สามประการ และภายในสามประการ

เร่ิมจากปจจัยภายอก 1 เร่ิมจากความขดัแยงทางเศรษฐกิจ และการเมืองของสังคมประเทศมหาอาํนาจตางๆ

กับประเทศไมใชประเทศไมใชมหาอํานาจ 2 จากผลของขอหนึ่งจะสงผลตอการใชความรุนแรง 3 น้ํามัน

ขณะนีต้ามความขัดแยงของประเทศตางๆทั่วโลก โดยเฉพาะ ประเทศมหาอํานาจจะมีสงครามอยูลึกๆ เพื่อชวงชิงความเปนเจา ในที่หมายถึง การแยงชิงตลาด การแยงชงิการเปนเจาทางความคิด การเมืองการปกครอง และ ยุทธศาสตร เราจะเหน็ไดจาก กรณีของ ประเทศ สหรัฐอเมริกา ประเทศจีน และรัสเซีย ซ่ึงจากการวจิยัของ CIA เปนหนวยงานขาวกรองสหรฐัอเมริกา จะทําการรวบรวมขอมูลขาวสารตางๆ จากทั่วโลก และรวมทั้งการทําลายลางคูแขง โดยการประมาณการของ หนวยงานขาวกรองของสหรัฐอเมริกา วาใน สิบหา ถึง สิบเจ็ดปขางหนา ถาปลอยให ประเทศจนี มี่การพัฒนาเทคโนโลยี และเศรษฐกิจทัดเทียมกับสหรัฐอเมริกา ประเทศสหรัฐอเมริกาจะสูญเสียความเปนมหาอํานาจในหลายๆดาน และในขณะนี ้ ประเทศไทยไดตกอยูภายใตอิทธิพล ของสหรัฐอเมริกา ในทกุมิติ ดังจะเหน็ไดจากคานิยมตางๆ เชน การฟงเพลง การดูภาพยนตร เปนตน จากคํากลาวของ ซุนวู ที่วา “ การสงครามที่ดีที่สุดคือการไมเสียเลือดเนื้อ” ณ วันนีเ้ราไดแพสหรัฐอเมรกิาในทกุมิติ โดยไมรูตัววาแพ และชัยชนะดังกลาวเรยีกวาชยัชนะเบด็เสร็จ และในภูมิภาคนีไ้ดตกอยูภายใตชัยชนะเบ็ดเสร็จของสหรัฐอเมริกา วิกฤตที่สามเรือ่งปญหาทางดานน้ํามัน ขณะนี้บริษัทยักษใหญที่มีอิทธิพลตอนํามันมากที่สุด ซ่ึงทางผูบรรยายเรียนกวา เจด็นางยกัษ ไดแก บริษทัเชฟรอน บริษัทเฮกซอน บริษัทโมบิล บริษัทเทกซาโก บริษัทกกัออยล และ บริษัทบริดทีส ปโตรเลียม ซ่ึงทั้งเจ็ดบริษัทจะไดรับสัมปทาน ประมาณ 80 เปอรเซ็นต จาก OPEC ซ่ึงแนวโนมของทั้งเจ็ดบริษัทนี ้ จะรวมตวักนัเหลือเพียงแค สองบริษัทและจะถกูควบคมุโยประเทศทีช่อบกักตุนน้ํามัน เพื่อนําไปใชในการพัฒนาประเทศ และจะสงผลกระทบตอราคาน้ํามัน ทําใหราคาน้ํามันสูงขึ้น

Page 16: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

13

ปจจัยภายใน

1 จะเห็นไดวาประเทศไทยจะใชนํามันในระบบขนสงเปนสวนมา และจากวิกฤตการณน้าํมัน ดังนั้นในการแกปญหาระยะยาวควรจะมีการเปลี่ยนแปลงระบบขนสง เชนจากการทีป่ระเทศไทยมแีมน้ําเปนจํานวนมาก ดังนั้นเพื่อเปนการประหยดัคาใชจายในหารขนสงควรที่จะเปลี่ยนการขนสงโดยการใชรถบรรทุกเปนหลัก ที่ส้ินเปลืองน้ํามันมากมาเปนการขนสง โดยการขนสงทางน้ําเปนหลัก ซ่ึงจะประหยดักวาการใชรถบรรทุก แตทุกคร้ังที่มีการพยายามที่จะใหมกีารเปลี่ยนแปลงไปเปนการขนสงทางน้ํา ก็จะมีผูที่เสียผลประโยชนบางรายออกมาโตแยง อีกประการการปรบัการขนสงทางรถไฟโดยการใชทางคูขนาน ซ่ึงจะชวยประหยัดเวลาและคาใชจายไดมาก และอีกวิธี คือ การใชพลังงานทดแทน อาทิเชน ไบโอดีเซล น้ํามันปาลมบริสุทธิ์ 2 สังคมไทยในปจจุบนัมีการเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรในยุคอดตี โดยสังเกตจากชาวนา ทีต่องเชาที่นาในการทํานา จากนายทนุ และใชเวลาเพียงสวนนอยในการทํานา โดยจะใชเวลาสวนใหญอ่ืนๆ อาทิเชน การเขามาทําการกอสรางในเมืองใหญเปนตน 3 การเมืองการปกครอง การเมืองคือการปฏิสัมพันธเชิงอํานาจของคน ประเทศไทยในปจจุบนัประเทศไทย รัฐบาลจะเปนผูที่มีอํานาจสูงสุด ซ่ึงผิดตอหลักรัฐธรรมนูญ แทนที่รัฐบาลจะกระตุนใหประชน ใหมคีวามสนใจในการใชอํานาจทางการเมือง กลับไมอยากใหประชาชนตื่นตวัทางการเมือง ซ้ึงจะมีผลทําใหไมสามารถชื้อเสียงทางการเมืองได 4 ปญหาสามจังหวดัชายแดนภาคใต สามจังหวดัมคีวามเสียงตอเศรษฐกิจเปนอยางมาก ซ้ึงเกิดจากจิตสํานกึทางประวตัิศาสตรของคนในพื้นที่ ที่เปลีย่นแปลงยาก ทางรัฐบาลจะตองละเอียดออน ถาทํางานไมถูกตองเกี่ยวกับสามจังหวดัชายแดนภาคใต ก็อาจจะสงผลรุกรามถึงเชียงใหม เพราะภาคเหนือมีขอบเขตติดตอกับประเทศ เพื่อนบาน ซ้ึงมีชนพื้นเมืองและเผาตางๆ ซ้ึงมีการเชื่อมโยงในหมูมุสลิม และอาจจะสงผลสืบเนื่องเหมือนสามจังหวดัชายแดนภาคใตได ปญหาสามจังหวดัชายแดนใตเปนปญหายืดเยื้อ โดยประเทศไทยไมถูกฝกใหมีทกัษะในการระวังภยั เมื่อเจอปญหาจะไมสามารถแกไขปญหาให เพราะไมมแีผน ระวงัภยั ยกตวัอยางเชนปญหา ซูนามิ และการแกไขปญหาของรัฐบาลไดแกปญหาแคเพียงสภาพแวดลอมตางๆเทานั้น เพื่อดงึดูดนักทองเทยีว และความเชื้อมันของนักลงทุน ดังจะเห็นไดจากการจัดงานที่ดึงดูดนักทองเทียวตางๆ มิไดแกไขปญหาทางดานจิตใจอยางจริงจัง ซ้ึงเปนเหตเุร้ือรัง ที่สงผลตอสภาพจิตใจและการดํารงชวีติตอไป

Page 17: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

14เพราะฉะนั้น ปญหาสามจังหวดัชายแดนภาคใตจึงเปนปจจยัเสี่ยง ตอความมนัคงของประเทศตอไป

วิทยากรทานที่สองคุณ ประชัย เลี่ยวไพรัตน วิทยากรทานที ่ 2 ไดบรรยายเกีย่วกับลักษณะเศรษฐกิจของประเทศไทยเปนสวนใหญ โดยไดเกริ่นนําวา ประเทศไทยนั้นไมไดเปนอิสระแตไดถูกสั่งงานมาจากประเทศสิงคโปรผานนายกรัฐมนตร ี ประเทศสิงคโปรนั้นไดการสนับสนุนจากประเทศสหรัฐอเมริกา ดังจะไดกลาวตอไปนี้ปจจบุันประเทศมหาอํานาจคือสหรัฐอเมริกาไดทําตัวเปนนักเลงทั้งในดานเศรษฐกิจและทางการทหาร อเมริกาเองไดยอมขาดดุลทางการคาเพื่อหวังประโยชนในทางอื่นๆ แตมีกระแสนิยมมาอยางตอเนื่องซึ่งประเทศตางยอมรบัและระบบการประเมินทางเศรษฐกิจไดคดิคนละแบบกบัประเทศไทย ทําใหอเมริกาเองไดเอาเปรียบทางเศรษฐกิจ เชน การพิมพธนบัตรนั้น เมื่อพิมพ 100 จะมีเงินทนุสํารองไมนอยกวา 60 แตอเมริกาเองมีแค 2 เปอรเซ็นต ทําใหอเมริกาไดเกรงวาจะมีการตอตานของประเทศที่มีไมพอใจ จากความไมเสถียรภาพนี้จึงไดทาํการสรางอํานาจทางการทหารขึ้น ตามหลักการทางรัฐศาสตรที่วา “ผูที่จะปกครองประเทศไดจะตองมีปน” โดยการบกุยึดประเทศอรัีกเพื่อเปนการเพิ่มความเชื่อมั่นใหกับตนเองและตอนนี้พยามยามที่จะทําการยึดประเทศอิหราน ทั้งนี้แสดงใหเห็นถึงความเปนมหาอํานาจ อเมริกาเองไดเขาทําการขยายอํานาจดังกลาวมายังแถบเอเชยีโดยเกรงวา เมื่อจีนมีการพัฒนาทั้งในดาน เทคโนโลยี และทางเศรษฐกิจ จะสามารถนําหนาอเมริกาได อเมริกาจึงทําการสนบัสนุนสิงคโปรเพื่อเปนเขี้ยวเล็บในภูมิภาคนี้ อเมริกาไดทําการขอเชาฐานทัพที่จังหวดัอุดรธานี โดยใชเครื่องบิน F-16 ที่มอีายุการใชงานมากกวาสิบปมาเปนคาเชา แสดงใหเห็นถึงการเอาเปรียบของอเมริกา เหมือนที่ทํากับประเทศที่แพสงคราม คือ ญ่ีปุน และ เยอรมัน โดยที่ญ่ีปุนนั้นปกครองอยางอิสรภาพแตหามกองกําลังทางทหาร จะมีแตกองกําลังปองกันประเทศ หามผลิตอาวุธนิวเคลียร และอาวุธสงคราม และที่เยอรมันนั้นกองกําลังทหารมีอเมริกาควบคุมอยู ที่เรียกวา นาโต จะเห็นไดวาประเทศมหาอํานาจอยางอเมริกานัน้ไดใชอํานาจทางเศรษฐกิจและการทหารเขามาเปนเครื่องตอรองกับประเทศที่ดอยกวา

วิกฤตการณเศรษฐกิจในอดตี เนื่องจากคนขายชาติที่ไดทาํการกวานซื้อเงินดอลลารแลว ทําการประกาศลอยตวัคาเงินบาททําธนาคารและบรษิัทไฟแนนซปดตัวลงไป 56 แหง แลวขายกิการให นกัลงทุนชาวตางชาติ คอืสิงคโปรเปนสวนใหญทําใหมีอํานาจในดานเศรษฐกิจและสงผลทางการเมือง ดังเห็นไดจากการที่ประเทศไทยมีโครงการ

Page 18: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

15ที่จะขุดคลองที่คอคอดกระ ซ่ึงจะผลกระทบตอประเทศสิงคโปรโดยตรง จึงทําใหโครงการนี้หยดุไป

ไดกลาวถึงทางดานการเมืองนั้น แทที่จริงแลวหามใหนักการเมืองหรือรัฐมนตรีถือหุนในบริษัทหรือ ถามีตองนําไปอยูในการควบคุมของแบงคชาติ ซ่ึงตางจากอเมริกา และถาหากมีการรวมอํานาจ ทั้ง 3 คือการรวมอาํนาจทางธุรกจิ อํานาจทางการเมืองและอํานาจของแหลงเงินทุน เรียกวาเผด็จการเบด็เสร็จ

ในเรื่องการเสนอโครงการเมคกะโปรเจคเนนเปนเรื่องทีด่ีในเรื่องของการสรางงานแตจะเพิ่มปญหา ในการคอรัปชั่นที่บานปลาย

วิทยากรทานที่สามคุณสมศักดิ์ จิตติพลังศรี

จากวิทยากรคนที่สาม ซ้ึงเปนปรานบริษัท ไซโจเดนกิ เมือ่ สิบแปดปทีผ่านมาเขาไดช้ือบริษัท “ไซโจเดนกิ ที่ทํางานเกี่ยวกับการคนควาและพัฒนา ที่ โอซากา ประเทศ ญ่ีปุน และหลังจากนัน้ไดทําการสรางบริษัทที่ประเทศไทย จากความคิดเหน็ของวิทยากรความเสี่ยงนั้นเกิดมาจากคน ดังจะเห็นไดจาก การใหความสําคญัและความรูสึกเปนเกยีจกบัผูที่มีฐานะ และตําแหนงหนาที่ แตในประเทศทีเ่จริญแลวจะใหความสําคัญตอการกระทําการกระทําที่ถูกตอง และดี ควรไดรับการยกยองนับถือ และใหเกียรติ ซ้ึงมใิชดูจากตําแหนงหนาที่การงาน อีกปญหาความเสียงคือปญหาทางดานพลังงาน คือน้ํามนั ซ้ึงจะใชในระบบขนสงถึง 80 เปอรเซ็นตและในนี้ 75 เปอรเซ็นตจะเปนน้าํมันดีเซลที่ใชในการสงตางๆ ดั้งนั้นวิธีการทางออกที่ดีที่สุดคือการใชรถไฟฟา ปจจัยที่มีความเสี่ยงตอประเทศไทยมีดังนี ้1. วิกฤตการณน้าํมัน และโครงการตางๆของรัฐบาล เชน เมคกะโปรเจค ซ่ึงโครงการนี้จะ

ทําใหกรุงเทพมีการแออัดขึน้ และทําใหยากตอการควบคุม สงผลทําใหเกิดปญหาตางๆมมามากขึ้น

2. ปญหาจาก 3 จงัหวัดชายแดนภาคใต ในฐานะที่เปนผูประกอบการ ปญหา 3 ชายแดนภาคใตจะสงผลกระทบตอผลบัญชีเงินสะพัด ซ่ึงเทากับ เงินที่เขามาลบกับเงินที่ออกไปแลวบวกกับดลุบริการ ซ่ึงดุลบริการนี้จะสญุเสียไป

3. ความสุจริตในการใชอํานาจ การฝกมองหาวิธีการในแบบที่เปนประโยชน ไมใชอํานาจผลประโยชนในทางทุจริต

Page 19: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

16

รัฐธรรมนญูแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔0

คําปรารภ หมวด๑ บททัว่ไป หมวด๒ พระมหากษัตริย หมวด๓ สิทธแิละเสรีภาพของชนชาวไทย หมวด๔ หนาที่ของบุคคล หมวด๕ แนวนโยบายพืน้ฐานแหงรัฐ หมวด๖ รัฐสภา หมวด๗ คณะรัฐมนตรี หมวด๘ ศาล หมวด๙ การปกครองสวนทองถ่ิน หมวด๑0 การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ หมวด๑๑ การตรวจสอบเงินแผนดิน หมวด๑๒ การแกไขเพิม่เติมรัฐธรรมนูญ บทเฉพาะกาล

Page 20: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

17

องคกรอิสระ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ให สิทธิ และเสรีภาพกบัประชาชน โดยมุงหวังใหประชาชน เขามามีสวนรวมทางการเมืองมากขึ้น นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญ ยังกําหนดใหมีองคกรตรวจสอบทางการเมืองมากมายหลายองคกร เพื่อใหสอดคลองกับความมุงหมายของการปฎิรูปทางการเมือง ที่ตองการใหเปนการเมืองใหม โดยองคกรตรวจสอบจะทําหนาทีแ่ตกตางกันไปตามอํานาจหนาที่ขององคกรนั้นๆ คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจราชการแผนดินของรัฐสภา คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหงชาติ (ปปช) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาต ิ สํานักงานศาลยุติธรรม คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.) คณะกรรมการปองกันและปราบปราบการฟอกเงิน (ไมใชองคกรตามรัฐธรรมนูญ แตถือเปนหนวยงานที่ ทําหนาที่ตรวจสอบ)

คณะกรรมการการเลือกต้ัง(มาตรา136-148)

การจัดการเลือกตั้งเดิม อยูที่ระบบราชการประจาํทําใหถูกกลาวหาวา การเลอืกตั้งมีพรรคการเมือง ใชกลไกของรัฐเอื้อประโยชนแกพรรคตนในการเลือกตั้งโดยวิธีการตาง ๆ แมจะจัดตั้งองคกรกลางขึ้นมาดูแลการเลือกตั้งใหอยางบริสุทธิ์ยุติธรรม แตก็ไมไดผล เพราะองคกรกลางไมอาจดูแลการเลือกตั้งไดจริง และไมอาจดําเนินการทางกฎหมายไดอยางเต็มที่ คณะกรรมการการเลือกตั้งเปนองคกรที่เกิดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 136 - 148 ประกอบดวย ประธาน 1 คน และกรรมการ 4 คน ซ่ึงพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา

Page 21: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

18มีหนาที่จดัการเลือกตั้งและการออกเสียงประชามติใหสุจริตและเที่ยงธรรม หากการเลือกตั้ง หรือการออกเสียงประชามติคร้ังใด ไมสุจริตและเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้ง สามารถสั่งใหเลือกตั้งใหม หรือออกเสียงประชามติใหมได กฎหมายทีเ่กีย่วของ 1. พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2541 2. พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ วาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2541 3. พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา(มาตรา196 - 198)

ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภา หรือที่เรียกกันวา ออมบุสแมน (Ombudsman) เปนสถาบันที่ใหประชาชน นําความทุกขที่ไดรับความไมเปนธรรม จากการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐมารองเรียน ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาเปนองคกรที่เกิดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ มาตรา196 - 198 มีจํานวนไมเกิน 3 คน ซ่ึงพระมหากษัตริย ทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา

มีหนาที่พิจารณาตรวจสอบและทํารายงานเสนอใหมีการแกไข โดยเสนอไปยงัหนวยงานที่รับผิดชอบ ถาหนวยงานไมปฏิบัติตาม ผูตรวจการแผนดนิรัฐสภาสามารถทํารายงานเสนอรัฐสภาและพิมพเผยแพรให สาธารณชนใชมติมหาชนวิพากษวิจารณหนวยงานนั้นได กฎหมายทีเ่กีย่วของ

พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยผูตรวจการแผนดนิของรัฐสภา พ.ศ. 2542

คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (สตง.)

สํานักงานคณะกรรมการตรวจเงนิแผนดนิเปนหนวยราชการที่ขึ้นกับฝายบริหาร จึงไมมีอิสระในการตรวจสอบการใชเงินของแผนดินอยางแทจริง คณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน (คตง.) ประกอบดวยประธาน 1 คน และกรรมการ 9 คน และผูวาการตรวจเงนิแผนดิน 1 คน ซ่ึงพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา

มีหนาที่ตรวจสอบการรับจาย การเก็บรักษา และการใชจายเงิน ทรัพยสิน และผลการดําเนินงานเกี่ยวกับการเงนิของแผนดิน ตลอดจนตรวจสอบรายงานการรับจายเงนิประจําป บัญชทีุนสํารองเงินตราประจําป การจัดเก็บ และประเมนิภาษีอากร คาธรรมเนียม และรายไดอ่ืนทีเ่กีย่วของกับ

Page 22: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

19การเงินแผนดนิ กฎหมายทีเ่กีย่วของ

พ.ร.บ.การตรวจเงนิแผนดนิ พ.ศ. 2542

ศาลปกครอง(มาตรา 276 - 280)

กฎหมายไมวาจะเปนรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายในลําดับใด รัฐ องคกร หรือเจาหนาที่ของรัฐจะใชอํานาจโดยมิชอบ กระทบตอสิทธิเสรีภาพของประชาชนมิได จึงตองมีองคกรและกระบวนการทีเ่ปนอิสระ มาตัดสินปญหาดงักลาว และเยยีวยาความเสยีหายที่เกิดขึ้นกบัประชาชน ศาลปกครองเปนองคกรที่เกดิขึ้นตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 276 - 280 มีศาลปกครองชั้นตน และศาลปกครองสูงสุด โดยไดรับการแตงตั้งจากพระมหากษัตริย มีหนาที่ในการพิจารณาพิพากษาคดีที่เปนขอพิพาทระหวางหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาที่ของรัฐ กับเอกชน หรือระหวางหนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาที่ของรัฐดวยกนัเอง

กฎหมายทีเ่กีย่วของ

พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ(ปปช)

การปองกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง และขาราชการประจําระดับสูง ไมสามารถดําเนินการไดอยางเต็มที่ อาจมีสาเหตุจากความไมวาจะเปนความอิสระใน กระบวนการในการสอบสวนการทุจริต คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ เปนองคกรที่เกิดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 297 - 302 ประกอบดวยประธาน 1 คน และกรรมการ 8 คน

มีหนาที่ไตสวนขอเท็จจรงิกรณีเจาหนาที่รัฐรํ่ารวยผิดปกต ิกระทําความผิดฐานทจุริตตอหนาที่ กระทําความผดิตอตําแหนงหนาที่ราชการ ตรวจสอบความถูกตองและความมีอยูจริง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของทรัพยสินและหนี้สินของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

Page 23: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

20กฎหมายทีเ่กีย่วของ 1. พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 2. พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ วาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง พ.ศ. 2542 3. พ.ร.บ.วาดวยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาตอหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2542

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ(มาตรา 199 - 200)

สิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย ทั้งสิทธิในชีวิต รางกาย เสรีภาพเปนสิทธิที่จะตองไดรับการคุมครอง การละเมิดสิทธิเปนสิ่งที่จะกระทํามิได ดังนั้นจึงจําเปนทีจ่ะตองมีหนวยงานที่ดูแลในเรื่องสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เปนองคกรตามรัฐธรรมนูญตาม มาตรา 199 - 200 ประกอบดวยประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการ 10 คน ซ่ึงพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภา

มีหนาที่ในการตรวจสอบและรายงานกระทํา หรือละเลยการกระทําที่เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมทั้งเสนอมาตรการแกไขตอบุคคลหรือหนวยงานทีก่ระทําการละเมดิสิทธิมนุษยชน ตลอดจนเสนอแนะนโยบาย ขอเสนอที่จะปรับปรุงกฎหมาย ระเบยีบ ขอบังคับตางๆตอรัฐสภา และคณะรัฐมนตรี กฎหมายทีเ่กีย่วของ พ.ร.บ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542

ศาลยุติธรรม (มาตรา 271 - 275)

ศาลยุติธรรม มีอํานาจพิพากษาคดีทั้งปวง มีอยู 3 ช้ัน คือ ศาลชั้นตน ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา เปนองคกรตามรัฐธรรมนูญตาม มาตรา 271 - 275 ประกอบดวยคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม(ก.บ.ศ.) คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม(ก.ต.) และ คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรม (ก.ศ.)

กฎหมายทีเ่กีย่วของ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม

Page 24: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

21คณะกรรมการปองกันและปราบปราบการฟอกเงิน(ปปง.)

คณะกรรมการ ปปง. ไมใชองคกรตรวจสอบตามรัฐธรรมนูญ แตก็ถือวาเปนหนวยงานของรัฐที่เปนฝายตรวจสอบเชนเดียวกัน โดยสํานักงานขึ้นตรงนายกรัฐมนตรี มีหนาที่ดําเนินการเก็บรวบรวม ติดตาม ตรวจสอบ ศึกษา รวมทั้งวิเคราะหรายงานและขอมูลตางๆที่เกี่ยวกบัการทําธุรกรรม ตลอดจนเก็บรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อดําเนินคดีกบัผูกระทําผิดกฎหมายการฟอกเงิน กฎหมายทีเ่กีย่วของ พ.ร.บ.ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542

การมีสวนรวมของประชาชนในรัฐธรรมนูญ

หมวด ๔ หนาท่ีของชนชาวไทย

มาตรา ๖๖ บุคคลมีหนาที่รักษาไวซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุตามรัฐธรรมนูญนี ้

มาตรา ๖๗ บุคคลมีหนาที่ปฏิบัติตามกฎหมาย

มาตรา ๖๘ บุคคลมีหนาที่ไปใชสิทธิเลือกตั้ง บุคคลซึ่งไมไปเลือกตั้งโดยไมแจงเหตุอันสมควรที่ทําใหไมอาจไปเลือกตั้งได ยอมเสียสิทธิตามที่กฎหมายบัญญัติ การแจงเหตุทีท่ําใหไมอาจไปเลือกตั้งและการอํานวยความสะดวกในการ ไปเลือกตั้ง ใหเปนไปตามที่กฎหมายบัญญัต ิ

มาตรา ๖๙ บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศ รับราชการทหาร เสียภาษีอากร ชวยเหลือ ราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ ปกปอง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติ และภูมิปญญาทองถ่ิน และอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ ตามที ่กฎหมายบัญญตัิ

Page 25: รายงาน - PR.SoLA KMUTTarts.kmutt.ac.th/ssc260/ssc260_2/reportsummana.pdf · คํานํา รายงานเล มนี้เป นส านหนึ่งของว

22มาตรา ๗๐ บุคคลผูเปนขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกจิ หรือของราชการสวนทองถ่ิน และเจาหนาทีอ่ื่นของรัฐ มี หนาที่ดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายเพือ่รักษาประโยชนสวนรวม อํานวยความสะดวก และ ใหบริการแกประชาชน ในการปฏิบัตหินาที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวของกับประชาชน บุคคลตามวรรคหนึ่งตองวางตนเปนกลางทางการเมือง

ในกรณีที่บุคคลตามวรรคหนึ่งละเลยหรือไมปฏิบัติใหเปนไปตามหนาที่ ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง บุคคลผูมีสวนไดเสียยอมมสิีทธิขอใหบุคคลตามวรรคหนึ่ง หรือผูบังคับบัญชาของบุคคลดังกลาวชี้แจงแสดงเหตุผลและขอใหดําเนินการใหเปนไป ตามบทบัญญัติในวรรคหนึง่หรือวรรคสองได