ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีที่ 21 - tistr...ห...

7
วว.บริการทดสอบบรรจุภ ณฑ์ ส�หร บสินค้าอ นตราย...แห่งเดียวในประเทศไทย 55 ปีวว. เสริมแกร่ง SMEs ขบเคลื่อนเศรษฐกิจฐานชีวภาพ ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีท่ 21

Upload: others

Post on 25-Aug-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีที่ 21 - TISTR...ห นตามแนวยาวห นตามแนวขวาง และห นตามแนวเฉ

วว.บริการทดสอบบรรจุภณัฑ์ส�หรบัสินค้าอนัตราย...แห่งเดียวในประเทศไทย

55 ปีวว. เสริมแกร่ง SMEs ขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานชีวภาพ

ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีที่ 21

Page 2: ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีที่ 21 - TISTR...ห นตามแนวยาวห นตามแนวขวาง และห นตามแนวเฉ

3

จดหมายข่าววว.ฉบับเดือนมิถุนายน2561น�าเสนอHighlight เป็นผล

งานวิจัยของศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่ประสบความส�าเร็จในการ

วิจัยและพัฒนาใหม่2ผลิตภัณฑ์ได้แก่ผลิตภัณฑ์นาโนเซรั่มบ�ารุงผิวหน้า...ชะลอริ้ว

รอยแห่งวัยจากสารสกัดใบบัวบก และ“เจเมทิคส์” (Gemetics) แคปซูลสารสกัด

ขิงบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนส�าหรับผู้ป่วยมะเร็งที่รับเคมีบ�าบัด ซึ่งล้วนเป็นงาน

วิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวงการแพทย์แผนไทย

ในฉบับยังมีสกู๊ปพิเศษที่กอง บก. ได้รวบรวมภาพบรรยากาศของการ

จัดงาน55ปี “TransformingSMEsthrough Innovation :FromLocal to

GlobalPlayersinBio-Economy”ระหว่างวันที่4-5มิถุนายน2561

นอกจากนี้ยังมีเรื่องราวการลงพื้นที่ของทีมนักวิจัย วว. เพื่อร่วมกันส่งต่อ

นวัตกรรมเสริมแกร่งโอทอปและเกษตรกรไทยช่วยให้เกิดการสร้างงานสร้างอาชีพ

สร้างรายได้ยกระดับภูมิภาค

ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีที่ 21

สามารถส่งค�าตอบมาได้ที่ กองประชาสัมพันธ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) เลขที่ 35 หมู่ 3 เทคโนธานี คลองห้า

คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 หรือทาง E-mail : [email protected] ภายในวัน

ที่ 20 กรกฎาคม 2561

1.คุณภิญญดา มโนนพคุณ กรุงเทพ

2.คุณสุดามีมงคลเกีย

รติ กรุงเทพ

3.คุณมณี วงศ์อริยจิต กรุงเทพ

รายชื่อผู้รับรางวัลประ

จ�าเดือนเมษายนมีดัง

นี้

คำ ถามฉบับนี้…”ห้องปฏิบัติการทดสอบบรรจุภัณฑ์ ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย วว.

สามารถทดสอบบรรจุภัณฑ์สินค้าชนิดใด เป็นแห่งเดียวในประเทศไทย ”

ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมอาหารสุขภาพ วว. ประสบความส�าเร็จ

ในการออกแบบและพัฒนา “เครื่องหั่นผลไม้อเนกประสงค์พร้อมทอด”

เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการผลิตผลไม้แปรรูป เช่น กล้วยฉาบ ทุเรียนทอด

มันทอด เผือกทอด เป็นต้น โดยออกแบบให้ใช้งานง่ายและสะดวก ช่วยลด

ระยะเวลาในการผลิตผลิตภัณฑ์แปรรูปจาผลไม้

คุณลกัษณะของเครื่อง ประกอบด้วย3ส่วนหลัก

1. ชุดใบมีดหั่นผลไม้ มีลักษณะเป็นจานหมุนเหวี่ยง ส�าหรับหั่น

ผลไม้ออกเป็นแผ่นบางๆ สามารถปรับระดับความหนา-บาง ได้ตั้งแต่ 1-5

มิลลิเมตร

2. ช่องป้อนวัตถุดิบ ออกแบบให้สามารถหั่นผลไม้ได้ 3 แบบ คือ

หั่นตามแนวยาว หั่นตามแนวขวาง และหั่นตามแนวเฉียง โดยสามารถถอด

เปลี่ยนช่องวัตถุดิบได้ง่าย

3.กระทะทอดออกแบบให้สามารถหั่นผลไม้และไหลลงกระทะได้

ในขั้นตอนเดียว

ก ร ะ ท ร ว ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ

เทคโนโลยี (วท.) ร่วมกับ องค์การพิพิธภัณฑ์

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (อพวช.)

จัดงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แห่งชาติระดับภูมิภาคครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่

4-10 มิ.ย. 2561 ณ ศูนย์ประชุมและแสดง

สินค้านานาชาติ จ.เชียงใหม่ เพื่อสร้างแรง

บันดาลใจให้กับเด็กเยาวชนและผู้เข้าร่วมงาน

ได้ตื่นตัวกับการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีด

ความสามารถทางความรู้ความเข้าใจใน วทน.

ที่ทันสมัย อีกทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อม

รองรับเยาวชนไทยให้ก้าวไปสู่ Thailand 4.0

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โอกาสนี้ วว. โดย ศูนย์เชี่ยวชาญ

นวัตกรรมพลังงานสะอาดและสิ่งแวดล้อมน�า

โดย ดร.เรวดี อนุวัฒนา นักวิจัยอาวุโส และ

ทีมนักวิจัย ร่วมจัดนิทรรศการและกิจกรรม

วว.โชว์ “ห้องเรียนวิทย์ พิชิตขยะ” @ งานมหกรรมวิทย์ภูมิภาคเชียงใหม่

เชิงปฏิบัติการ “ห้องเรียนวิทย์ พิชิตขยะ” น�า

เสนอการบริหารจัดการขยะและช้ีให้เห็นถึง

ประโยชน์จากสิ่งของเหลือใช้ต่างๆในกองขยะ

สร้างความตระหนักในการรักษาสิ่งแวดล้อม

ประสิทธิภาพของเครื่อง -อัตราการท�างานสูงสุด50กิโลกรัมต่อชั่วโมง

สนใจติดต่อกองการตลาดโทร.025779436-7หรือ

CallCentre025779300หรือ[email protected]

ของเยาวชนอีกทั้งยังช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ

ของเหลือใช้สร้างรายได้และสร้างอาชีพให้แก่

เยาวชนและประชาชนอีกด้วย

ที่ปรึกษา

ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ

นายสายันต์ตันพานิช

ดร.อาภารัตน์มหาขันธ์

ดร.ชุติมาเอี่นมโชติชวลิต

นายวิรัชจันทรา

ดร.จิตราชัยวิมล

นางสุวรรณาดอกไม้คลี่

บรรณาธิการ

น.ส.ยุพินพุ่มไม้

กองบรรณาธิการ

น.ส.ปัทมาลิ่วเลิศมงคล

น.ส.วรรณรัตน์วุฒิสาร

น.ส.กัลยาจงรัตนชูชัย

ฝ่ายจัดพิมพ์/สมาชิก

นางจันทนาเนียมวงษ์

นางวราพรขุนณรงค์

นายชัยณรงค์สุวรรณวงศ์

ฝ่ายภาพ

นายเธียรชัยสาระการ

นายณรงค์เดชวงศ์สะอาด

ฝ่ายศิลป์

นายเรวัตวิบูลย์ศิริชัย

นายก่อโชคบัณฑิตมงคล

นายปุณณภพโผผิน

สำนักงาน

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แห่งประเทศไทย(วว.)

เทคโนธานี35หมู่3ต.คลองห้า

อ.คลองหลวงจ.ปทุมธานี12120

โทร.025779000,025779360-61

โทรสาร025779009,025779362

Callcenter:025779300

E-mail:[email protected]

http//:www.tistr.or.th

www.facebook.com/tistr.or.th

วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่กิจกรรมผลงาน

วิจัยและบทความวว.ที่เป็นประโยชน์ต่อ

สาธารณชนภายใต้แนวคิด“O.Z.O.N.E

Concept”

พิมพ์ที่ห้างหุ้นส่วนจำกัดโรงพิมพ์รวมช่าง

21/2หมู่1ซอยเทียนทะเลแขวงแสมดำ

เขตบางขุนเทียนกทม.10150

กองบรรณาธิการ

3

วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

เครื่องหั่นผลไม้อเนกประสงค์พร้อมทอด

Page 3: ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีที่ 21 - TISTR...ห นตามแนวยาวห นตามแนวขวาง และห นตามแนวเฉ

ส่วนวนัที่ 5 มิถุนายน 2561 ไฮไลน์ของงาน "Taste of T I S TR " ได ้ รั บ เกี ยรติ จ าก รศ .นพ .

สรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี เป็นประธานเปิดงาน พร้อม

ปาฐกถาพิเศษเรื่อง “บทบาทของกระทรวง

วิทยาศาสตร ์ฯกับการพัฒนาผู ้ประกอบ

การด้านอาหารของไทย” โดยมี ดร.ลักษมี

ปลั่งแสงมาศ ผู้ว่าการ วว. พร้อมด้วย

คณะผู้บริหารวว.ร่วมต้อนรับ

55 ปี วว. เสริมแกร่ง SMEs ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานชีวภาพ“Transforming SMEs through Innovation : From Local to Global Players in Bio-Economy”

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย(วว.)กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับบริษัทยูบีเอ็ม

เอเชีย (ประเทศไทย) จ�ากัด และหน่วยงานพันธมิตรภาครัฐและเอกชน จัดงาน“Transforming SMEs through Innovation :

FromLocal toGlobalPlayers inBio-Economy”ระหว่างวันที่4-5มิถุนายน2561ณห้องบอลรูมAศูนย์การประชุมแห่ง

ชาติสิริกิติ์ เพื่อเปิดเวทีโชว์ศักยภาพงานวิจัยและพัฒนาถ่ายทอดเทคโนโลยีและบริการอุตสาหกรรมวว. ในการพัฒนาศักยภาพผู้

ประกอบการไทยมาเป็นพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานชีวภาพ(Bio-basedEconomy)ตามนโยบายไทยแลนด์4.0

พิธีเปิด 4 มิถุนายน 2561 ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เป ็นประธานในพิธีและปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “Transforming SMEs

through Innovation : From Local

to Global Players in Bio-Economy”

โอกาสนี้นายมนูเลียวไพโรจน์ประธานบริษัท

ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จ�ากัด และ

ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ ผู้ว่าการ วว. พร้อม

ด้วยคณะผู้บริหารจากหน่วยงานเครือข่ายทั้ง

ในและต่างประเทศร่วมเป็นเกียรติในงานฯ

...วว. เป็นหนึ่งในองค์กรหลักในการขับเคลื่อน Thailand 4.0มีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรด้าน

Bio Economy ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม บนความหลากหลาย

ทางชีวภาพ และเป็นมิตรกับสำิ่งแวดล้อม ซึ่งจะเป็น

Bio Economy Technology Platform ของประเทศ โดย วว. จะต้องก�หนดภารกิจที่มีความคมชัด ให้ความสำ�คัญกับการ

กิจกรรมท้ังสองวันได้รับความสนใจ

จากผู้เข้าร่วมสัมมนาฯ โดยมีผู้ร่วมงานเกือบ

1,000คนประกอบด้วยการบรรยายพิเศษ

และการเสวนาของวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง

ชาวไทยและชาวต่างประเทศ นิทรรศการ

ผลงานวิจัยพัฒนา อาทิผลิตภัณฑ์นาโนเซรั่ม

จากสารสกัดใบบัวบก ผลิตภัณฑ์แคปซูลสาร

สกัดขิงบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนส�าหรับ

ผู้ป่วยมะเร็งที่รับเคมีบ�าบัด บรรจุภัณฑ์

อัจฉริยะ(SmartPackaging)งานบริการเพื่อ

ยกระดับอุตสาหกรรมไทย ได้แก่ การบริการ

ทดสอบบรรจุภัณฑ์สินค้าอันตราย NQI for

Bio-Industry การทดสอบความปลอดภัยของ

ผลิตภัณฑ์เครื่องส�าอางด้วยผิวหนังจ�าลอง 3

มิติ การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส

การทดสอบคุณภาพและความปลอดภัยของ

ผลิตภัณฑ์อาหารและวัสดุสัมผัสอาหาร การ

ผลิตวัสดุอ้างอิงรับรอง การโชว์ Success

Case ผู้ประกอบการที่ประสบผลส�าเร็จใน

ระดับประเทศ และเครือข่ายพันธมิตรทั้งใน

และต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง การให้ค�าปรึกษา

และสนับสนุนด้านเทคโนโลยี ตลอดจนการจับ

คู่ธุรกิจแก่ผู้ประกอบการ

พัฒนาในพื้นที่ (Area Based) เพื่อน�ประเทศไปสำู่ Value Based Economy ที่มีผลต่อการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และการ

เพิ่มขีดความสำามารถแข่งขันของผู้ประกอบการไทยในเวทีโลก…

4

วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

5

วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

Page 4: ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีที่ 21 - TISTR...ห นตามแนวยาวห นตามแนวขวาง และห นตามแนวเฉ

ปัจจุบันโรคมะเร็งเป็นปัญหาทาง

สาธารณสุขที่ส�าคัญของโลก เนื่องจากมีผู้ป่วย

เพิ่มขึ้นทุกปี พ.ศ.2537พบว่าทั่วโลกมีผู้ป่วย

โรคมะเร็งมากกว่า 18 ล้านคนและในทุกๆปีมี

ผู้ป่วยใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ9ล้านคนองค์การ

อนามัยโลกได้คาดการณ์ไว้ว่าในปี พ.ศ.2563

ท่ัวโลกจะมีคนเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งมากกว่า

11 ล้านคนและจะเกิดในประเทศที่ก�าลัง

พัฒนามากกว่า7ล้านคน

ปัจจุบันวิธีการรักษาโรคมะเร็งที่ทั่ว

โลกยอมรับได้แก่ การผ่าตัด รังสีรักษา เคมี

บ�าบัด และฮอร์โมน ซึ่งเป็นการรักษาแผน

ปัจจุบัน ส�าหรับการรักษาโรคมะเร็งโดยการ

ใช้เคมีบ�าบัด อาการข้างเคียงที่พบบ่อยในผู้

ป่วยคือการคลื่นไส้อาเจียน ซึ่งอาการคลื่นไส้

อาเจียน จะเกิดถึงร้อยละ 90 ถ้าไม่มีการให้

ยาป้องกันการอาเจียน จะท�าให้เกิดอาการเช่น

อาการขาดน�้า การเสียสมดุลของอิเล็กโตรไลท์

เบื่ออาหารขาดอาหารน�้าหนักลดลงอย่างเร็ว

และท�าให้ผู้ป่วยปฏิเสธการรักษาในครั้งต่อไป

น�าไปสู่ความซับซ้อนของการรักษามากยิ่งขึ้น

อีกท้ังปัจจุบันยาป้องกันการอาเจียนในผู้ป่วย

ที่รับเคมีบ�าบัดล้วนแต่มีอาการข้างเคียง เช่น

ปวดศีรษะง่วงนอนอ่อนเพลียท้องเสีย

สถาบั น วิ จั ย วิ ทยาศาสตร ์ และ

เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดยศูนย์

เชี่ยวชาญนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพร จึงได้

วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ “แคปซูลสารสกัด

ขิง” ซึ่งมีสรรพคุณต้านอาเจียนจากการรับเคมี

บ�าบัด(Anti-nauseaandvomit)

นางธัญวรตัน์ กาจสงคราม นกัวิจยั ศูนย์เชี่ยวชาญนวตักรรมผลิตภณัฑ์สมุนไพร วว. กล่าวว่า การ

วิจัยเริ่มต้นจากเตรียมสารสกัดขิงโดยมีการ

ควบคุมคุณภาพโดยการวิเคราะห์สารส�าคัญ

คือ 6-Gingerol และ 6-Shogao จากนั้นได้

น�าสารสกัดขิงมาศึกษากลไกการต้านอาเจียน

ที่เกิดขึ้นโดยการศึกษาฤทธิ์ การหดตัวของ

บัวบกเป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก อยู่ใน

วงศ์ Umbelliferae มีชื่อทางพฤกษศาสตร์

ว่า Centella asiatica (Linn.) Urban

ประกอบด้วยสารส�าคัญกลุ่มมาเดแคสโซไซต์

(madecassoside) และเอเซียติโคไซต์ (Asia

ticoside) ปัจจุบันได้มีการพัฒนาสารสกัดใบ

บัวบกไร้สี ซึ่งได้มีการจ�าหน่ายในเชิงพาณิชย์

เป็นที่เรียบร้อยอย่างไรก็ตามสารสกัดใบบัวบก

ไร้สี ยังมีข้อจ�ากัดที่ต้องอาศัยนวัตกรรมและ

เทคโนโลยีทางเภสัชกรรมเพื่อใช้ในการวิจัย

และพัฒนาได้แก่การละลายความคงตัวและ

การซึมผ่านเข้าสู่ผิวหนังต�่า

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโน-

โลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โดยศูนย์เชี่ยวชาญ

นวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพร (ศนส.) จึงได้

ด�าเนินโครงการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เวช

ส�าอางเพื่อการชะลอวัยจากสารสกัดใบบัวบก

ที่ผ่านกระบวนการเอ็นแคปซูเลชัน โดยได้

รับงบประมาณกลางปี 2560 จากกระทรวง

สาธารณสุข เพื่อน�าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

และนวัตกรรมมาเพิ่มมูลค่าให้กับสมุนไพรไทย

นายสิทธิพงศ์ สรเดช นกัวิจัย ศูนย ์ เชี่ ยวชาญนวัตกรรมผลิตภณัฑ์สมุนไพร วว. ในฐานะ

หัวหน้าโครงการกล่าวว่าทีมงานได้น�าสารสกัด

ใบบัวบกไร้สีมาต่อยอดศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพ

พบว่ามีฤทธ์ิกระตุ้นการเจริญของเซลล์ผิวหนัง

มนุษย์ได้มากกว่าร้อยละ77และมีฤทธิ์กระตุ้น

การสร้างคอลลาเจน Type I ได้มากกว่า

3.23 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ซึ่งใกล้เคียงกับ

สารมาตรฐานวิตามินซี มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์

ไทโรซิเนสได้สูงกว่ากรดโคจิก 1.35 เท่า และ

มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของไขมันไม่อิ่มตัวสูง

กว่าวิตามินซี27.78 เท่า เมื่อพัฒนาสารสกัด

ใบบัวบกไร้สีให้กักเก็บอยู่ในอนุภาคนาโนรูป

แบบไมโครอิมัลชัน (Microemulsion) พบว่า

เทคโนโลยีการน�าส่งสารสกัดใบบัวบกท่ีเตรียม

ได้มีขนาดอนุภาคน้อยกว่า 20 นาโนเมตร

และสามารถซึมผ่านเข้าสู่ผิวหนังชั้นสตราตรัม

คอร์เนียมได้มากกว่าสารสกัดบัวบกในรูป

สารละลายถึง5เท่าเมื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์

นาโนเซรั่มบ�ารุงผิวหน้าเพ่ือชะลอร้ิวรอยแห่ง

วัย พบว่าผลิตภัณฑ์มีลักษณะใส ไม่มีสี นุ่ม

ลื่นมีความคงตัวดี ไม่เกิดการแยกชั้นหรือตก

ตะกอน

ผลจากการทดสอบความคงตัวของ

ผลิตภัณฑ์ฯ ที่ 45 องศาเซลเซียส เป็นระยะ

เวลา 3 เดือน พบว่า สามารถซึมเข้าสู่ผิวหนัง

ได้ดี และยังตรวจพบสารส�าคัญทั้งมาเดแคส

โซไซต์และเอเชียติโคไซต์ ซึ่งเป็นสารพฤกษ-

เคมีที่ออกฤทธิ์ชะลอริ้วรอยแห่งวัย ผลิตภัณฑ์

นี้ไม่ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อเซลล์ผิวหนัง

มนุษย์ จากการทดสอบประสิทธิภาพในเซลล์

เพาะเลี้ยงพบว่าผลิตภัณฑ์มีฤทธิ์กระตุ้นการ

เจริญของเซลล์ผิวหนังมนุษย์ได้มากกว่าร้อย

ละ 70 และสามารถกระตุ้นการสร้างคอล-

ลาเจน Type I ได้ใกล้เคียงกับวิตามินซี จาก

การทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัย

ในอาสาสมัคร 20 ราย พบว่าผลิตภัณฑ์มี

ประสิทธิภาพลดริ้วรอยแห่งวัยได้ดี และไม่

ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังหลังจาก

ทดสอบเป็นระยะเวลา48ชั่วโมง

ในอนาคต วว. จะต่อยอดผลงาน

วิจัยน้ีในรูปแบบมาร์คหน้าไฮโดรเจลผสม

สารสกัดบัวบกไร้สีบรรจุในอนุภาคนาโน เพื่อ

เพิ่มศักยภาพของงานวิจัยสู่เชิงพาณิชย์ตาม

นโยบายประเทศไทย 4.0 เพื่อขับเคลื่อน

เศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม

วว.พร ้อมถ ่ายทอดเทคโนโลยี

ผลิตภัณฑ์นาโนเซรั่มบ�ารุงผิวหน้า...ชะลอริ้ว

รอยแห่งวัยจากสารสกัดใบบัวบก ให้แก่ภาค

เอกชนเพื่อน�าไปผลิตเชิงพาณิชย์ สอบถาม

รายละเอียดเพิ่มเติมที่ วว. Call Center

โทร. 0 2577 9300

“เจเมทิคส์” (Gemetics) แคปซูลสารสกัดขิงบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน สำ หรับผู้ป่วยมะเร็งที่รับเคมีบำ บัด

ล�าไส้เล็กท่ีแยกจากหนูแรทที่ได้รับการป้อน

สารสกัดขิง (Exvivo study)พบว่าหนูที่ได้รับ

สารสกัดขิง มีการหดตัวของล�าไส้ลดลงจาก

70% เป็น 40% แสดงว่าสารสกัดขิงน่าจะมี

ผลยับยั้งการท�างานของ muscarinic recep-

tor ที่อยู่บนกล้ามเนื้อเรียบของล�าไส้เล็กจาก

คุณสมบัติเหล่านี้ จึงน�าสารสกัดขิงมาพัฒนา

เป็นผลิตภัณฑ์ชนิดแคปซูลและน�าไปทดสอบ

ฤทธิ์ต้านการคลื่นไส้อาเจียนในสุนัขป่วยโรค

มะเร็งที่ได้รับเคมีบ�าบัด โดยท�าการศึกษาแบบ

randomized,cross-overclinicaltrialจาก

ผลการทดลองพบว่าสุนัขท่ีได้รับแคปซูลสาร

สกัดขิงมีอุบัติการณ์ควบคุมกลุ่มอาการCINV

(Chemotherapeutic-induced Nausea

andVomiting)ในระยะเฉียบพลันและระยะ

ล่าช้าได้ผลเทียบเท่ากับสุนัขที่ได้รับยาMeto-

clopramide

ในส่วนความปลอดภัยของสารสกัด

ขิงเมื่อน�ามาทดสอบความเป็นพิษเฉียบพลัน

ทางปากพบว่าสารสกัดขิงมีค่าLD50มากกว่า

2,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม น�้าหนักตัว และ

ส ่วนผลิตภัณฑ์“แคปซูลสารสกัดขิง”มีค ่า

LD50

มากกว่า 15,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัมน�้า

หนัก แคปซูลสารสกัดขิงนับว่าเป็นผลิตภัณฑ์

เสริมอาหารต้านอาเจียนจากสมุนไพร ที่

มีประสิทธิภาพและความปลอดภัยเหมาะ

ส�าหรับใช้เป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพอีกทางเลือก

หนึ่ง

ผลิ ตภัณฑ ์ แคปซู ล ส า รสกั ด ขิ ง

บรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนส�าหรับผู้ป่วย

มะเร็งที่รับเคมีบ�าบัด ถือเป็นผลิตภัณฑ์ที่

ผลิตจากสมุนไพร มีประสิทธิภาพและความ

ปลอดภัยสูงเนื่องจากผ่านกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์มีการควบคุมคุณภาพทุกขั้นตอน

การผลิต รวมทั้งผ่านการทดสอบประสิทธิภาพ

และความปลอดภัยในสัตว์ทดลอง

วว.พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยี“เจเม

ทิคส์”(Gemetics)แคปซูลสารสกัดขิงบรรเทา

อาการคลื่นไส้อาเจียนส�าหรับผู้ป่วยมะเร็งที่รับ

เคมีบ�าบัด ให้แก่ภาคเอกชนเพื่อน�าไปผลิต

เชิงพาณิชย์ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่

วว.CallCenterโทร.025779300

นายสิทธิพงศ์ สรเดช นักวิจัยศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพรวว.

นางธัญวรัตน์ กาจสงคราม นักวิจัยศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมผลิตภัณฑ์สมุนไพรวว.

วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

7

วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

ผลิตภัณฑ์นาโนเซรั่มบำ รุงผิวหน้า...ชะลอริ้วรอยแห่งวัยจากสารสกัดใบบัวบก

Page 5: ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีที่ 21 - TISTR...ห นตามแนวยาวห นตามแนวขวาง และห นตามแนวเฉ

สถาบั นวิ จั ย วิ ทยาศาสตร ์ และ

เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ร ่วมกับ

หน่วยงานเครือข่าย ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์

บริการ ส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ

และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) สถาบัน

สารสนเทศทรัพยากรน�้ าและการเกษตร

ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แห่งชาติ ส�านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สภา

เกษตรกรแห่งชาติกรมการพัฒนาชุมชนและ

โครงการสานพลังประชารัฐจัดงาน“มหกรรม

วิทย์สร้างอาชีพยกระดับภูมิภาค”โดยพิธีเปิด

ได้รับเกียรติจาก ดร.อภิชัย สมบูรณ์ปกรณ์ ที่

ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี (วท.) เป็นประธานในพิธี

โอกาสนี้พลเอกถเกิงกานต์ศรีอ�าไพประธาน

คณะกรรมการบริหารวท.ดร.ลักษมีปลั่งแสง

มาศผู้ว่าการวว.นายวิชยันต์บูรณะกิจภิญโญ

รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ�านาจเจริญและคณะ

ผู้บริหารของหน่วยงานเครือข่าย ร่วมเป็น

เกียรติในงาน ในวันที่ 15มิถุนายน2561ณ

หอประชุมพญานาครินทร์ ศาลากลางจังหวัด

อ�าเภอเมืองจังหวัดอ�านาจเจริญ

ภายหลังจากพิธีเปิดฯ เป็นการ

ลงนามความร่วมมือระหว่าง สถาบันวิจัย

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

(วว.)โดยดร.ลักษมีปลั่งแสงมาศผู้ว่าการวว.

กับ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดย รศ.ดร.

ชวลิต ถิ่นวงศ์พิทักษ์รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย

และพันธกิจสังคมม.อุบลราชธานี เรื่อง“การ

พัฒนาเกษตรกร ผู้ประกอบการโอทอป และ

ระบบการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตร”โดย

ความร่วมมือดังกล่าวมีระยะเวลา5ปี

ตลอดระยะเวลา 2 วันของการจัด

งาน(15-16มิถุนายน2561)มีเกษตรกรและ

ผู้ประกอบการโอทอป ร่วมงานรวม 1,009

ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย วว. บริการทดสอบบรรจุภัณฑ์สำ หรับสินค้าอันตรายแห่งเดียวในประเทศไทย ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย สถาบัน

วิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศ

ไทย(วว.)โดยห้องปฏบิตักิารทดสอบบรรจภุณัฑ์

เป็นหน่วยงานเพียงแห่งเดียวในประเทศไทย

ที่ให้บริการทดสอบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง

สินค้าอันตรายซึ่งผลวิเคราะห์ทดสอบสามารถ

น�าไปขอเครื่องหมายUNMarkingเพื่อรับรอง

การส่งออกสินค้าอันตรายไปต่างประเทศได้

การขอรับรองUNMarkingจ�าเป็น

อย ่างยิ่ งที่บรรจุภัณฑ ์ต ้องผ ่านการตรวจ

สอบคุณภาพตามมาตรฐาน International

MaritimeDangerousGoodsCode(IMDG

Code) เพื่อความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน

และสิ่งแวดล้อม

ปัจจุบันมีการใช้งานสินค้าอันตราย

เป็นจ�านวนมากเช่นสารเคมีปุ๋ยยาฆ่าแมลง

พลุดอกไม้ไฟชิ้นส่วนรถยนต์ได้แก่แอร์แบ็ก

หรือถุงลมนิรภัย เป็นต้น ซึ่งการทดสอบ

ห้องปฏิบัติการทดสอบบรรจุภัณฑ์ ศูนย์

การบรรจุหีบห่อไทย วว. พร้อมให้บริการทดสอบและ

ให้ค�าปรึกษากับผู้ประกอบการด้านบรรจุภัณฑ์สินค้า

อันตรายโทร.025791121-30ต่อ3101,3102และ

0817028377www.tistr.or.th/tpc/

บรรจุภัณฑ์ส�าหรับสินค้าอันตรายจะแตกต่าง

กันไปตามประเภทของสินค้าอันตรายและ

บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุโดยอ้างอิงตามมาตรฐาน

สากล เช่น ISO 535 และ ASTM D5276

ทั้งน้ีวิธีการทดสอบบรรจุภัณฑ์ส�าหรับสินค้า

อันตราย จะแปรเปลี่ยนไปตามประเภทของ

บรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุ และสินค้าอันตรายที่จะ

บรรจุดังนี้

ประเภทของบรรจุภณัฑ์ วิธีการทดสอบตาม IMDG Code

กล่องกระดาษลูกฟูก 1.การทดสอบการดูดซึมน�้าของกระดาษผิวกล่อง

(Cobbtest)

2.การทดสอบการเรียงซ้อน(Stackingtest)

3.การทดสอบการตกกระแทก(Droptest)

ถงัพลาสติก ถงัโลหะปี๊บโลหะ

1.การทดสอบการตกกระแทก(Droptest)

2.การทดสอบการเรียงซ้อน(Stackingtest)

3.การทดสอบการรั่วซึม(Leakproofnesstest)

4.การทดสอบความทนทานต่อแรงดันภายใน

(Internalpressuretest)

กระสอบพลาสติกสาน 1.การทดสอบการตกกระแทก(Droptest)

“มหกรรมวิทย์สร้างอาชีพ ยกระดับภูมิภาค” @ จังหวัดอำ นาจเจริญ ส่งต่อนวัตกรรม เสริมแกร่งโอทอปและเกษตรกรไทย

คน ร่วมกิจกรรมฟังเสวนาและบรรยายความ

รู้หัวข้อต่างๆ จากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ อาทิ

การน�าเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมสู่เกษตรอัจฉริยะ,

การยกระดับผู้ประกอบการโอทอปและการยก

ระดับการเกษตรด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

และนวัตกรรม รวมทั้งการรับถ่ายทอด

เทคโนโลยีในหลักสูตรต่างๆ อาทิ เทคโนโลยี

การเพาะเลี้ยงเห็ดหลินจือและเห็ดเผาะ การ

ผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง เตาชีวมวลเพื่อ

ชุมชนการฝึกปฏิบัติออกแบบบรรจุภัณฑ์การ

แปรรูปอาหารและเครื่องดื่ม ความรู้พื้นฐาน

และเทคนิคการเตรียมสถานที่ผลิตและแปรรูป

ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อให้ได้มาตรฐานตามข้อ

ก�าหนดอย.และการฝึกปฏิบัติออกแบบบรรจุ

ภัณฑ์รวมถึงเรื่องการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว

ผลไม้และการตรวจสอบความแก่ของทุเรียนที่

ก�าลังเป็นที่สนใจอยู่ในขณะนี้ เป็นต้นพร้อม

ทั้งร่วมนิทรรศการความส�าเร็จในการพัฒนา

เกษตรกรด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ

นวัตกรรมของวว.และหน่วยงานเครือข่ายซึ่ง

ได้รับความสนใจเป็นอย่างดียิ่ง

8

วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

9

วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

Page 6: ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีที่ 21 - TISTR...ห นตามแนวยาวห นตามแนวขวาง และห นตามแนวเฉ

ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมวัสดุวว.จัด

ท�า “โครงการพัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ์

บล็อกประสาน” โดยได้ถ่ายทอดเทคโนโลยี

การก่อสร้างอาคารด้วยบล็อกประสานให้กับ

ราษฎรในเทศบาลต�าบลโนนบุรี อ.สหัสขันธ์

จ.กาฬสินธุ์ พร้อมสาธิตการใช้บล็อกประสาน

ก่อสร้างห้องน�้า โดยใช้บล็อกประสานจ�านวน

1,700ก้อนระยะเวลาก่อสร้าง5วันช่วยลด

ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างร้อยละ 30 เมื่อเทียบ

กับการก่อสร้างโดยใช้คอนกรีตทั่วไป โอกาส

นี้ ดร.อาภารัตน์ มหาขันธ์ รองผู้ว่าการกลุ่ม

วิจัยและพัฒนาด้านพัฒนาอย่างยั่งยืน วว. ให้

เกียรติเป ็นประธานในพิธีมอบห้องน�้าจาก

บล็อกประสาน วว. ให้แก่ นายรัตนชัย ไชย

ค�ามี นายกเทศมนตรีต�าบลโนนบุรี เพื่อเป็น

สาธารณะประโยชน์แก่ชุมชนเมื่อวันเสาร์ที่16

มิถุนายน2561ณวัดพุทธาวาสต�าบลโนนบุรี

อ�าเภอสหัสขันธ์จังหวัดกาฬสินธุ์

อนึ่ง โครงการพัฒนาและยกระดับ

ผลิตภัณฑ์บล็อกประสาน ถือเป็นโครงการ

ที่ วว. ด�าเนินงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อถ่ายทอด

เทคโนโลยีบล็อกประสานเชิงสังคม ส่งเสริม

การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนด้วยเทคโนโลยีบล็อก

ประสานสร้างงานสร้างอาชีพให้แก่ประชาชน

ในพื้นที่ที่ห่างไกลโดยปี2559-2560ที่ผ่านมา

วว. ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีบล็อกประสานให้แก่

ชาวบ้านจ�านวนทั้งสิ้น 800 ราย สามารถส่ง

เสริมและพัฒนาจัดวิสาหกิจอาทิกลุ่มวิสาหกิจ

ค.ดี จังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่

1 หมู่ 9 จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มอิฐประสาน

วิสาหกิจชุมชน อ.บึงบูรณ์ จังหวัดศรีสะเกษ

กลุ่มวิสาหกิจบ้านดินหนองไฮ อ.อุทุมพรพิสัย

จังหวัดศรีสะเกษรวมทั้งมีการถ่ายทอดความรู้

เพื่อน�าบล็อกประสานไปสร้างสิ่งปลูกสร้างเช่น

จังหวัดเชียงใหม่ :สร้างห้องน�้าและ

ถังเก็บน�้าให้กับมูลนิธิกะเหรี่ยง เพื่อพระคริสต์

อ.อมก๋อย

นักวิทยาศาสตร์ค้นพบวิธีการท�าให้

คอนกรีตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น โดย

การเพิ่มGraphene(ชั้นหนึ่งของคาร์บอนซึ่ง

มีความหนาหนึ่งอะตอม มีคุณสมบัติพิเศษ คือ

แข็งแรงกว่าเหล็กกล้าที่มีความหนาเท่ากันมาก

ถึง 100 เท่า ทั้งยังเป็นตัวน�าความร้อนและ

กระแสไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง)ลงไป

แต่ในขณะนี้นักวิจัยจากLancaster

University แห่งสหราชอาณาจักร ได้รายงาน

ถึงการค้นพบของผลลัพธ์ที่ดีและประหยัดยิ่ง

ขึ้นจากการใช้"Nanoplatelets"หรืออนุภาค

นาโน ซึ่งมีอยู่ในเส้นใยรากของผักประเภท

หัวอย่างแครอทและบีทรูท เมื่อรวมเข้ากับ

คอนกรีตผสม เพสต์ (ส่วนผสมของปูนซีเมนต์

กับน�้า) จะเพิ่มปริมาณ Calcium silicate

hydrate ซึ่งเป็นผลจากปฏิกิริยา "ไฮเดรชั่น"

(Hydration) ที่เกิดในระหว่างคอนกรีตก�าลัง

วว.ลงพื้นที่ถ่ายทอดเทคโนโลยีการก่อสร้างด้วยบล็อกประสานให้แก่เทศบาลตำ บลโนนบุรี จังหวัดกาฬสินธุ์

จังหวัดศรีสะเกษ : สร้างกุฏิพระ ที่

วัดบ้านภูมชรอบอ.กันทรลักษณ์

: สร้างป้อมยาม อบต.พรหมสวัสต์

อ.พยุห์

: ส ร ้ า ง ถั ง เ ก็ บ น�้ า ท่ี อุ ท ย า น

เฉลิมพระเกียรติป่าดงหลวงอ.อุทุมพรพิสัย

จังหวัดกระบี่ :สร้างอาคารผลิตผ้า

ปาเต๊ะของชุมชนบ้านเกาะหลวงอ.เมือง

นับเป็นอีกโครงการอีกหนึ่งโครงการ

เพื่อสังคมของ วว. โดยได้น�าองค์ความรู้ทาง

วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมสร้าง

อาชีพ สร้างรายได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของ

ประชาชนให้ดียิ่งขึ้น

ทีมนักวิจัยของสถาบันเทคโนโลยี

กลางสวิสที่นครซูริก (SFIT Zurich) ประเทศ

สวิตเซอร์แลนด์ ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสาร

NatureCommunications ว่าประสบความ

ส�าเร็จในการปลูกถ่ายเซลล์ผลิตยารักษาเบา

หวานในร่างกายของหนูทดลอง ท�าให้หนูที่

ป่วยสามารถควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดได้

เพียงได้รับเครื่องดื่มที่มีกาเฟอีนอย่างกาแฟชา

โคล่าหรือเครื่องดื่มชูก�าลังเท่านั้น

กระบวนการปลูกถ่ายเซลล์ดังกล่าว

เริ่มจากการดัดแปลงพันธุกรรมให้ยีนในเซลล์

มีลักษณะตามที่ออกแบบไว้ ซึ่งเมื่อเซลล์ชนิด

พิเศษน้ีเข้าสู่ร่างกายของหนูทดลองท่ีป่วยเบา

หวาน จะผลิตยาที่เรียกว่า GLP-1 ออกมาต่อ

เมื่อได้สัมผัสกับกาเฟอีนในกระแสเลือด

ศ.มาร์ติน ฟุซเซเนกเกอร์ ผู้น�าทีม

วิจัยบอกว่า เซลล์ที่ผลิตยารักษาเบาหวานนี้จะ

คิดค้นวิธีดื่มกาแฟรักษาเบาหวานแทนการฉีดอินซูลิน

ถูกบรรจุไว้ในแคปซูลเจลขนาดเล็กจ�านวนมาก

เพื่อป้องกันการต่อต้านจากภูมิคุ้มกันร่างกาย

โดยในแต่ละแคปซูลจะมีเซลล์ผลิตยาอยู่หลาย

ร้อยเซลล์ โดยยา GLP-1 จะไปกระตุ้นให้

เบตาเซลล์ในตับอ่อนผลิตอินซูลินเพื่อลดระดับ

น�้าตาลในเลือดหลังมื้ออาหาร หากต้องการ

ให้ยาออกฤทธิ์แรงขึ้น สามารถท�าได้เพียงดื่ม

เคร่ืองดื่มที่มีส่วนผสมของกาเฟอีนเข้มข้นขึ้น

กว่าเดิม

แพทย ์จะฉีดแคปซูลเหล ่านี้ เป ็น

จ�านวนหลายพันเข้าใต้ผิวหนัง ซึ่งมันจะเกาะ

ตัวกันอยู่เป็นกลุ่มเหมือนไข่ปลา แคปซูลดัง

กล่าวจะมีอายุการใช้งานได้นานราวครั้งละ 6

เดือน - 1 ปี โดยคนไข้สามารถรับการฉีดปลูก

ถ่ายซ�้าอีกได้

“วิธีนี้จะช่วยให้ผู ้ป่วยเบาหวานใช้

ชีวิตได้ตามปกติเหมือนคนทั่วไป ซึ่งมักจะจิบ

ชาหรือกาแฟหลังมื้ออาหารกันเป็นประจ�าอยู่

แล้ว คาดว่ายังคงต้องพัฒนาปรับปรุงวิธีการ

นี้ต่อไปอีก เพื่อให้น�ามาใช้ในมนุษย์ได้อย่าง

ปลอดภัยซึ่งคาดว่าไม่ต�่ากว่า10ปี”ศ.ฟุซเซ

เนกเกอร์กล่าว

ที่มา:https://www.bbc.com/thai

อนุภาคนาโนจากแครอทและบีทรูท เสริมความแข็งแกร่งให้กับคอนกรีต

แข็งตัว ซึ่งมีส่วนช่วยในเรื่องความแข็งแรงของ

คอนกรีต

ถ้ามีการผสมอนุภาคดังกล่าวเข้าไป

ก็จะสามารถลดจ�านวนคอนกรีตที่ต้องใช้กับ

โครงสร้างได้ ซึ่งจะส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมเป็น

อันมากเนื่องจากการผลิตปูนซีเมนต์นั้นจะต้อง

มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา

เป็นจ�านวนมาก

นอกจากนี้ Nano platelets ยัง

ช่วยเพิ่มความหนาแน่นของโครงสร้างคอนกรีต

ท�าให้โครงสร้างมีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น

และทนต่อการถูกกัดกร่อนมากขึ้น

ที่มา:https://news.thaiware.com

10

วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

11

วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

Page 7: ฉบับที่ 6 / มิถุนายน 2561 ปีที่ 21 - TISTR...ห นตามแนวยาวห นตามแนวขวาง และห นตามแนวเฉ

นางทิพยาจุลหวีฟอร์จูนผอ.ห้องปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ต้อนรับคณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่จากส�านักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้าตาลและคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือเยี่ยมชมงานบริการศทม.

ดร.ลักษมีปลั่งแสงมาศผู้ว่าการวว.พร้อมด้วยคณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดีกับ นางอัจฉรา เจริญสุข ผู้อ�านวยการสถาบันมาตรวิทยา(มว.) เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาปีที่ 20 ปี และร่วมเป็นเกียรติในพิธีเปิดอาคารพัฒนาและผลิตวัสดุอ้างอิง

วว.โดยศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมวัสดุจัดสัมมนาเรื่อง“การแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากยางพาราด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี”โดย ดร.อาภารัตน์ มหาขันธ์ รองผู้ว่าการกลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นประธานในพิธีเปิด

วว. เป็นเจ้าภาพร่วมกับหน่วยงานเครือข่าย ร่วมจัดนิทรรศการแสดงผลงานการยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนภายใต้โครงการคูปองวิทย์เพื่อโอทอป (STI for OTOP Upgrade) ในงาน OTOP Midyear 2018โอกาสนี้ โดยมี นายเพิ่มสุข สัจจาภิวัฒน์ หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงและดร.ลักษมีปลั่งแสงมาศผู้ว่าการวว.ร่วมเป็นเกียรติเนื่องในพิธีเปิดงานฯ

ดร.ลักษมี ปลั่งแสงมาศ ผู้ว่าการ วว. พร้อมด้วยคณะผู้บริหารบันทึกเทปอาเศียรวาทเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร

นายวิรัช จันทรา รองผู้ว่าการกลุ่มบริการอุตสาหกรรม วว. เป็นประธานเปิดการสัมมนา“ISO/IEC17025:2017จุดเปลี่ยนที่ต้องรู้มุ่งสู่ห้องปฏิบัติการที่เป็นเลิศ” ให้แก่ผู้ประกอบการในจังหวัดนครปฐม และจังหวัดใกล้เคียง

16 พฤษภาคม 2561 / ศูนย์ทดสำอบและมาตรวิทยา (ศทม.) บางปู

11 มิถุนายน 2561 /สำถาบันวิทยสำิริเมธี ปตท. วังจันทร์ จังหวัดระยอง

10 มิถุนายน 2561/ ณ อิมแพคเมืองทองธานี

12 มิถุนายน 2561 / โรงแรม ไมด้า แกรนด์ โฮเทล ทวารวดี จ.นครปฐม

8 มิถุนายน 2561 /ณ อาคารพัฒนาและผลิตวัสำดุอ้างอิง เทคโนธานี

วิสัยทัศน์:เป็นองค์กรชั้นน�าในการบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

18 มิถุนายน 2561 / สำตูดิโอ 1 สำถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 กรมประชาสำัมพันธ์