จดหมายข่าว - intropage...2 จดหมายข่าว สวญ....

4
จดหมายข่าว สวญ. ปี ที่ 9 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 57) 1 จดหมายข่าว สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2557 ที่ผ่านมา คุณศรินทร์ทิพย์ แววหงษ์ ผู้จัดการฝ่ ายวิจัยและบริหาร จัดการสิ่งแวดล ้อม สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. นาทีมงานวิจัย ได ้แก่ คุณแกมกาญจน์ ธรรมเดชศักดิ์ ดร.เฉลิมชัย เรืองชัยนิคม ดร.ร่มฉัตร รัตนอุดม และ ดร.สุวัฒน์ สูงเลิศส่งฟ้า เข ้าร่วมการประกวด Thailand Quality Prize 2014 รอบชิงชนะเลิศ ณ ศูนย์ประชุม Bitech บางนา ซึ่งจัดโดยสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ ่ น (สสท.) ในชื่อกลุ่มงาน Greenovation ในผลงานเรื่อง “โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบาบัดไขมันสาหรับสถานี บริการน้ามัน” โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบาบัดไขมัน าหรับสถานีบริการน้ามัน จากผลการประกวดรอบชิงชนะเลิศ กลู่ม Greenovation ได ้รับรางวัล Silver Award ใน ประเภทรางวัล Task Achieving นามาซึ่งความภาคภูมิใจแก่คณะทางานทุกคน อีกทั้งยัง ช่วยเสริมสร้างกาลังใจให้กับทีมงานในการสรรค์สร้างผลงาน เพื่อพัฒนาสังคมและ สิ่งแวดล ้อมที่ดียิ่งขึ้นต่อไป PTT Bact 1 จากแนวคิดในการพัฒนากระบวนการและผลิตภัณฑ์ที่ช่วย บาบัดน้าเสียได ้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทางทีมงานได คิดค ้นผลิตภัณฑ์และแนวทางในการปรับปรุงโดยมุ่งเน้นวิธี ทางชีวภาพ เพื่อความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไมก่อให ้เกิดสารเคมีตกค ้างต่อระบบนิเวศน์ โดยทีมงานได ้ทา การคัดเลือกแบคทีเรียที่เหมาะสมสาหรับการใช้งานใน สภาวะแวดล้อมของประเทศไทยและมีประสิทธิภาพการ ย่อยสลายน้ามันและไขมันได ้สูงมาใช ้ในการบาบัดน้าเสีย (Waste Water Treatment) โดยนาสายพันธุ์แบคทีเรีย จานวน 14 สายพันธุ์ มาทาการคัดเลือก และขยายผลใช ้- งานจริงในระบบบาบัดน้าเสียของร ้านอาหารในสถานีบริการน้ามันด ้วยแบคทีเรียสายพันธุ์ PTT Bact 1 โดยการวิเคราะห์พบว่าปริมาณน้ามันเริ่มต ้นเท่ากับ 21,961 มก./ล. เมื่อใช ้งาน ผลิตภัณฑ์ชีวภาพนี้เป็นระยะเวลา 5 วัน สามารถทาให ้ปริมาณไขมันในระบบลดลงไปได้สูง ถึง 70% โดยที่ปริมาณแบคทีเรียในระบบนั้นมีการลดลงแค่ 30%

Upload: others

Post on 07-Jul-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: จดหมายข่าว - IntroPage...2 จดหมายข่าว สวญ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 57) นักวิจัยน

จดหมายขา่ว สวญ. ปีท่ี 9 ฉบบัท่ี 2 (เม.ย.-มิ.ย. 57)

1

จดหมายข่าว สถาบนัวิจยัและเทคโนโลยี ปตท.

บริษทั ปตท. จ ากดั (มหาชน)

เมือ่วนัที ่4 เมษายน 2557 ทีผ่่านมา คณุศรนิทรท์พิย ์แววหงษ์ ผูจ้ัดการฝ่ายวจิัยและบรหิารจัดการสิง่แวดลอ้ม สถาบนัวจิัยและเทคโนโลย ีปตท. น าทมีงานวจิัย ไดแ้ก ่คณุแกมกาญจน ์ธรรมเดชศักดิ ์ดร.เฉลมิชัย เรอืงชัยนิคม ดร.ร่มฉัตร รัตนอุดม และ ดร.สวุัฒน์ สงูเลศิสง่ฟ้า เขา้ร่วมการประกวด Thailand Quality Prize 2014 รอบชงิชนะเลศิ ณ ศนูยป์ระชมุ Bitech บางนา ซึ่ง จัดโดยสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่ น (สสท.) ในชื่อกลุ่มงาน Greenovation ในผลงานเรื่อง “โครงการเพิม่ประสทิธภิาพการบ าบัดไขมันส าหรับสถานีบรกิารน ้ามัน”

โครงการเพิม่ประสทิธภิาพการบ าบดัไขมนัส าหรบัสถานบีรกิารน า้มนั

จากผลการประกวดรอบชงิชนะเลศิ กลู่ม Greenovation ไดรั้บรางวัล Silver Award ในประเภทรางวัล Task Achieving น ามาซึง่ความภาคภูมใิจแกค่ณะท างานทกุคน อกีทัง้ยังช่วยเสริมสรา้งก าลังใจใหก้ับทีมงานในการสรรค์สรา้งผลงาน เพื่อพัฒนาสังคมและสิง่แวดลอ้มทีด่ยี ิง่ข ึน้ตอ่ไป

PTT Bact 1 จากแนวคดิในการพัฒนากระบวนการและผลติภัณฑท์ีช่ว่ยบ าบดัน ้าเสยีไดอ้ยา่งมปีระสทิธภิาพมากขึน้ ทางทมีงานได ้คดิคน้ผลติภัณฑแ์ละแนวทางในการปรับปรุงโดยมุ่งเนน้วธิีทางชีวภาพ เพื่อความเป็นมิตรต่อสิง่แวดลอ้มและไม่กอ่ใหเ้กดิสารเคมตีกคา้งตอ่ระบบนเิวศน์ โดยทมีงานไดท้ าการคัดเลือกแบคทีเรียที่เหมาะสมส าหรับการใชง้านในสภาวะแวดลอ้มของประเทศไทยและมีประสทิธภิาพการย่อยสลายน ้ามันและไขมันไดส้งูมาใชใ้นการบ าบัดน ้าเสยี (Waste Water Treatment) โดยน าสายพันธุแ์บคทเีรียจ านวน 14 สายพันธุ ์มาท าการคดัเลอืก และขยายผลใช-้

งานจรงิในระบบบ าบัดน ้าเสยีของรา้นอาหารในสถานีบรกิารน ้ามันดว้ยแบคทเีรียสายพันธุ ์PTT Bact 1 โดยการวเิคราะหพ์บวา่ปรมิาณน ้ามันเริม่ตน้เทา่กบั 21,961 มก./ล. เมือ่ใชง้านผลติภัณฑช์วีภาพนีเ้ป็นระยะเวลา 5 วัน สามารถท าใหป้รมิาณไขมันในระบบลดลงไปไดส้งูถงึ 70% โดยทีป่รมิาณแบคทเีรยีในระบบนัน้มกีารลดลงแค ่30%

Page 2: จดหมายข่าว - IntroPage...2 จดหมายข่าว สวญ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 57) นักวิจัยน

2 จดหมายขา่ว สวญ.

ปีท่ี 9 ฉบบัท่ี 2 (เม.ย.-มิ.ย. 57)

นกัวจิยัน าเสนอศกัยภาพ R&D ดา้นพลาสตกิชวีภาพในงาน NAC 2014

เปิดตวัโครงการวจิยัการใชน้ า้มนัดเีซลบ ี20 ในรถบรรทกุขนาดใหญ ่

ผูบ้รหิารน าเสนอเรือ่งพลงังานทดแทนใน งานกองทพัอากาศวชิาการ 2557

เมื่อวันที ่3 เม.ย. 57 สถาบันวจิัยและเทคโนโลยี ปตท. (สวญ.) ร่วมกับ กรมธรุกจิพลงังาน จัดพธิเีปิด “โครงการศกึษาการใชน้ ้ามันดเีซลหมุนเร็วที่มสีว่นผสมของไบโอดเีซล ในอัตราสว่นรอ้ยละ 20 ในรถบรรทกุขนาดใหญ ่โดยวธิีการทดสอบภาคสนาม” ณ คลังน ้ามันล าลูกกา อ.ล าลูกกา จ.ปทุมธานี โดยไดรั้บเกยีรตจิาก ดร.คุรุจติ นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน เป็นประธานในพิธี และ คุณสมนึก บ ารุงสาลี อธิบดีกรมธุรกจิพลังงาน กล่าวเปิดงาน ซึ่งโครงการดังกล่าวนี้กรมธุรกิจพลังงาน ได ้มอบหมายให ้สวญ. เป็นผูด้ าเนินการ โดยไดรั้บการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนเพื่อส่งเสรมิการอนุรักษ์พลังงาน ส านักงานนโยบายและแผนพลงังาน พรอ้มกนันี ้บรษัิท พัสดภุัณฑไ์ทย จ ากัด และบรษัิท แอปป้า ฟอร์เวดิเดอร ์จ ากัด ไดร้่วมสนับสนุนรถบรรทกุขนาดใหญ่ บรษัิทละ 6 คัน เพื่อวิง่ทดสอบใชง้านจริง และบริษัท Volvo Group (Thailand) ไดร้่วมสนับสนุนขอ้มูลทางเทคนิคในการประเมินผลชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ภายหลงัการใชง้านส าหรับรถบรรทกุ Volvo อกีดว้ย

ภายในงาน ไดร้่วมกันปล่อยขบวนรถบรรทุกขนาดใหญ่ ทีเ่ขา้ร่วมทดสอบจรงิในภาคสนาม รวมระยะทาง 100,000 กโิลเมตร เพือ่เป็นการยนืยันผลการใชง้านจรงิ ทัง้นี้ขอ้มูลจากโครงการจะน ามาใชใ้นการพจิารณาวางแผนก าหนดแนวนโยบายการใชเ้ชือ้เพลงิทดแทนของประเทศตอ่ไป

ดร.นรนิทร ์กาบบวัทอง นักวจิัย ฝ่ายวจิัยและพัฒนาเทคโนโลยกีระบวนการปิ โ ต ร เ ลี ย ม แ ล ะ ปิ โ ต ร เ ค มี น า เ ส น อ ผ ล ง า น วิ จั ย เ รื่ อ ง R&D Commercialization “from Lab to Market” ณ หอ้งประชมุ CC-404 อาคารศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ภายใตห้ัวขอ้การสัมมนาเรื่อง แนวโนม้และศักยภาพการเตบิโตของอุตสาหกรรมพลาสตกิชวีภาพไทย ในงานประชุมวชิาการประจ าปี 2557 ของส านักงานพัฒนาวทิยาศาสตรแ์ละเทคโนโลยแีห่งชาต ิ(NSTDA Annual Conference 2014 หรอื NAC 2014) เมือ่วนัที ่1 เม.ย. 57 โดยมผีูส้นใจเขา้ร่วมฟังบรรยายเป็นจ านวนมาก

วันที่ 1 พ.ค. 57 คุณวิจิตร แตงนอ้ย ผูช้่วยกรรมการผู จั้ดการใหญ่สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท. ไดข้ึ้นเวทีบรรยายพิเศษในหัวขอ้ “เทคโนโลยกีารผลติพลังงานทดแทนเพื่ออนาคต” ในงานกองทัพอากาศวชิาการ 2557 ณ หอประชมุใหญ่ กองทัพอากาศ ซึง่การบรรยายกล่าวถงึสถานการณ์พลงังานทัง้ของไทยและทั่วโลก ปัจจัยทีผ่ลักดัน รวมถงึปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการพัฒนาพลังงานทดแทน และปิดทา้ยดว้ยการด าเนินการวจิัยและพัฒนาดา้นพลังงานทดแทนของ ปตท. ซึง่ถือว่าเป็นหน่วยงานหนึง่ทีเ่ป็นผูน้ าดา้นการพัฒนาพลงังานทดแทนของประเทศไทย

นอกจากนี้ ปตท. ยังไดจ้ัดแสดงบธูนทิรรศการดา้นพลังงานทดแทนทีท่างสถาบันวจิัยและเทคโนโลย ีปตท. ด าเนนิการอยู่ ซึง่ไดรั้บความสนใจจากผูร้่วมงานสมัมนาเขา้เยีย่มชมและสอบถามมากมาย

Page 3: จดหมายข่าว - IntroPage...2 จดหมายข่าว สวญ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 57) นักวิจัยน

3 จดหมายขา่ว สวญ.

ปีท่ี 9 ฉบบัท่ี 2 (เม.ย.-มิ.ย. 57)

แอโนดป้องกันการกัดกร่อน หรอื Sacrificial Anode เป็นโลหะทีม่คีวามว่องไวสงู ซึง่มกีารน ามาตดิไวบ้นพื้นผวิวัสดุทีม่คีวามว่องไวนอ้ยกว่าเพื่อป้องกันการกัดกร่อนทีจ่ะเกดิขึน้กับวัสดุนั้น โดยตัว Sacrificial Anode เองจะค่อยๆ สลายไปบนพื้นผวิโลหะทีไ่ดรั้บการป้องกนัการกดักร่อนนัน้เอง ซึง่เป็นทีม่าของค าว่า “Sacrificial" Anode ซึง่โดยปกตแิอโนดจะท ามาจากโลหะอัลลอยที่มีค่าศักย์เคมีไฟฟ้าเป็นลบมากกว่า หรือม ี“Active" Voltage สูงกว่า โลหะของโครงสรา้งที่ไดรั้บการป้องกนัการกดักร่อน ซึง่เปรยีบเสมอืนเป็นแคโทด

การป้องกนัแบบแคโทดกิ (Cathodic protection)

เมื่อผิวโลหะสัมผัสกับสารอิเล็กโทรไลต์ จะเกิดปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าที่เ รียกว่า การกัดกร่อน ซึ่งการกัดกร่อนนี้ เ ป็นกระบวนการเปลีย่นโลหะใหก้ลับไปสูส่ถานะตามธรรมชาตใินรูปของสนิแร่ และกระบวนการนี้จะสง่ผลใหโ้ลหะเกดิการสลายตัวและโครงสรา้งอ่อนแอลง ซึง่พื้นผวิโลหะดังทีก่ล่าวมาขา้งตน้นัน้ เรามกีารน ามาใชง้านกันอยู่รอบๆ ตัวเรา ตัง้แต่ท่อ อาคาร ไปจนถึง เรือ ซึง่การบ ารุงรักษาเพื่อใหโ้ลหะเหล่านั้นอยู่ในสภาพที่ดีพรอ้มใชง้านตลอดเวลา เป็นสิง่ที่ส าคัญอย่างยิ่ง ดังนัน้ จงึมคีวามจ าเป็นในการน าการป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดกิมาประยกุตใ์ชง้าน

ทัง้นี ้Sacrificial Anode เป็นอกีรูปแบบหนึง่ของการป้องกันการกัดกร่อนแบบแคโทดิก นอกเหนือจากรูปแบบอื่นๆ เช่น Plating, Galvanization, และ Formation of Alloys เป็นตน้

แอโนดป้องกนัการกดักรอ่น

Sacrificial Anode ท ามาจากโลหะชนดิใด?

วัสดุ 3 ชนดิทีม่คีวามวอ่งไวทีส่ดุและเหมาะสมส าหรับน ามาท าเป็น Sacrificial Anode ไดแ้ก่ แมกนีเซยีม อลูมเินียม และสงักะส ีโดยแมกนีเซยีมเป็นโลหะทีม่คีา่ศักยไ์ฟฟ้าเป็นลบมากทีส่ดุและเหมาะส าหรับงานท่อบนฝ่ังทีม่คีวามสามารถในการตา้นทานอเิล็กโทรไลต ์(ดนิและน ้า) ไดส้งู และถา้หากคา่ความแตกตา่งของศักยไ์ฟฟ้าสงูมากจนเกนิไป จะสง่ผลใหพ้ืน้ผวิที่ไดรั้บการปกป้องหรอืแคโทดจะเปราะแตกงา่ยหรอือาจท าใหเ้คลอืบผวิหลดุลอ่นได ้

สว่นสังกะสแีละอลูมเินียมนัน้ มักจะน าไปใชก้ับงานในสภาวะที่ต อ้งเผชญิกับน ้าเค็ม ซึง่มคีวามตา้นทานต ่ากว่า โดยมักจะน ามาใชก้ับส่วนของล าเรอื ทอ่นอกชายฝ่ัง และแทน่กา รผลิต นอกจากนี้ ยั ง ใ ช ก้ั บเครือ่งยนตส์ าหรับเรือเดนิทะเลทีใ่ช ้

น ้าเค็มในการระบายความรอ้น หรอืใชก้ับใบพัดและหางเสือของเรือขนาดเล็ก และพื้นผวิภายในของถังจัดเก็บ (Storage Tanks) เป็นตน้

Page 4: จดหมายข่าว - IntroPage...2 จดหมายข่าว สวญ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 57) นักวิจัยน

4 จดหมายขา่ว สวญ.

ปีท่ี 9 ฉบบัท่ี 2 (เม.ย.-มิ.ย. 57)

สนใจจดหมายข่าว สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท.

สามารถดาวน์โหลดได้ที่

http://www.pttplc.com/th/About/rti/Pages/rti-publications.aspx

•ผูช่้วยกรรมการผูจ้ดัการใหญ่ สถาบนัวิจยัและเทคโนโลยี ปตท.

•ผูจ้ดัการฝ่ายแผนและบริหารงานวิจยั

•ผูจ้ดัการฝ่ายวิจยัและพฒันาผลิตภณัฑปิ์โตรเลียมและเช้ือเพลิงทางเลือก

•ผูจ้ดัการฝ่ายเทคนิคพลงังานประยกุตแ์ละเคร่ืองยนตท์ดสอบ

•ผูจ้ดัการฝ่ายวิจยัและพฒันาเทคโนโลยีกระบวนการปิโตรเลียมและปิโตรเคมี

•ผูจ้ดัการฝ่ายวิจยัธรณีวิทยาและวิศวกรรมปิโตรเลียม

•ผูจ้ดัการฝ่ายวิจยัและบริหารจดัการสิ่งแวดลอ้ม

โดยปกต ิการตดิตัง้ Sacrificial Anodes บนพืน้ผวิมักจะใชล้วดตะกั่วหรอืตดิตัง้แบบสายคาดรัดเพือ่ใหแ้อโนดสามารถยดึตดิกับโครงสรา้งทีไ่ดรั้บการปกป้องไดด้ ีซึง่การใชล้วดตะกั่วจะเป็นการเชือ่มหรือการยดึตดิแอโนดไปกับพื้นผวิ สว่นการใชแ้อโนดทีม่สีายคาดรัดนัน้ อาจท าการเชือ่มสายคาดรัดยดึตดิไปกับโครงสรา้งโดยตรงหรืออาจท าหนา้ทีเ่ป็นจุดส าหรับตดิตัง้แอโนดได ้re the straps can either be welded directly to the structure or the straps can be used as locations for attachment.

ขอ้ดขีองระบบ Sacrificial Anode คอื ไม่จ าเป็นตอ้งอาศัยแหล่งพลังงานจากภายนอก ติดตัง้ไดง้่าย ถา้หากค่าแรงดันไฟฟ้าและกระแสระหวา่งแอโนดและพืน้ผวิทีไ่ดรั้บการป้องกันต า่จะไม่กอ่ใหเ้กดิกระแสจรจัด (Stray Current) มากนัก และ การตดิตามและตรวจสอบสามารถท าไดง้า่ยส าหรับผูท้ีไ่ดรั้บการฝึกอบรมมาแลว้

ทีม่าและภาพประกอบ: http://www.physics.kku.ac.th/315205/sites/default/files/chapter11.pdf http://chemwiki.ucdavis.edu/Analytical_Chemistry/Electrochemistry/Case_Studies/Corrosion/Sacrificial_Anode http://www.sunrui.net/Engineering/PipelineTank/70971.htm http://www.corrosion-doctors.org/CP/Sacrificial.htm http://www.performancemetals.com/anodes/AnodeFAQs.shtml http://www.galvanizeit.org/corrosion/corrosion-protection/sacrificial-anodes

สว่นขอ้เสยี เชน่ คา่ความจไุฟฟ้าทีจ่ ากดัตามมวลของแอโนด และเมือ่อยู่ในสภาพแวดลอ้มทีค่วามตน้ทานสงู การท างานจะไมม่ปีระสทิธภิาพเทา่ใดนัก