ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ...

22
1

Upload: others

Post on 15-Jan-2020

9 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

1

Page 2: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

2

ขอบเขตเนื้อหา

แนวขอสอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ 5 แนวขอสอบ พรบ.ระเบยีบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534

แกไขเพิ่มเติม ถึงฉบับที ่8 พ.ศ. 2553 13 แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551

แกไขเพิ่มเติม ฉบับที ่2 พ.ศ. 2558 33 แนวขอสอบ พรบ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ.ศ.2557 54 แนวขอสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ 62 แนวขอสอบ พรบ.องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540

และแกไขเพิ่มเติม ถึง(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552 65 แนวขอสอบ เทศบาล พ.ศ.2496 และแกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 13) พ.ศ.2552 86 แนวขอสอบ พรบ.สภาตาํบลและองคการบริหารสวนตําบลพ.ศ.2537

และแกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2552 114 แนวขอสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติม (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2549 141 แนวขอสอบ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมือง

ที่ดี พ.ศ. 2546 153 แนวขอสอบ ระเบียบฯ งานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 167 แนวขอสอบระเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 189 ระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และท่ีแกไขเพิ่มเติม

ถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2554 201 แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุ พ.ศ. 2535

และท่ีแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2552 205 แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสดุดวยวิธี

ทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2549 252 แนวขอสอบ พระราชบญัญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช 2475

แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2543 262

Page 3: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

3

แนวขอสอบพระราชบัญญัติภาษบีํารงุทองที่ พ.ศ. 2508 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 268

แนวขอสอบพระราชบัญญัติภาษีปาย พ.ศ. 2510 แกไขเพิ่มเติม (ฉบบัที่ 2) พ.ศ. 2534 278 แนวขอสอบพระราชบัญญัติวาดวยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาตอ

หนวยงานของรัฐพ.ศ. 2542 283 แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน

การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินขององคกรปกครอง สวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 แกไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที ่2) พ.ศ. 2543 287

Page 4: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

4

แนวขอสอบ พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 แกไขเพิ่มเติม ถงึฉบับที่ 8 พ.ศ. 2553

4.ในการกําหนดตําแหนงและอัตราเงินเดือนนั้น จะตองคํานึงถึงส่ิงใดเปนหลัก ก. คุณภาพและปริมาณงาน ข. คุณภาพ และประสิทธิภาพ ค. คุณภาพ ประสิทธิภาพ และประสทิธิผล ง. คุณภาพ ปริมาณงานและประสิทธิผล ตอบ ก. คุณภาพและปริมาณงาน

การแบงราชการออกเปนสวนตาง ๆ ตามท่ีบัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้ ใหกําหนดตําแหนงและอัตราเงินเดือนโดยคํานึงถึงคณะภาพและปริมาณงานของสวนราชการนั้น ๆ ไวดวย (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 5) 5.ผูใดรักษาการตาม พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผนดิน นี้ ก. นายกรัฐมนตร ี ข. ปลัดกระทรวง ค. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตร ี ง. คณะรัฐมนตร ี ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรีรักษาตามพระราชบัญญัตินี้ (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 6) 6.ในการจัดระเบียบบรหิารราชการสวนกลางนั้นจะประกอบดวยอะไรบาง ก. สํานักนายกรัฐมนตร,ี กระทรวง, ทบวง , กรม ข. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตร,ี กระทรวง, ทบวง , กรม ค. สํานักนายกรัฐมนตร,ี ปลัดสํานักนายกรัฐมนตร,ี กระทรวง , ทบวง , กรม ง. จังหวัด, อําเภอ ตอบ ก. สํานักนายกรัฐมนตรี, กระทรวง, ทบวง , กรม

ใหจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง ดังนี้ (1) สํานักนายกรัฐมนตรี (2) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเทากระทรวง (3) ทบวง ซึ่งสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง

Page 5: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

5

(4) กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ซึ่งสังกัดหรือ ไมสังกัดสํานักนากยกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง (พรบ. ระเบยีบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 7)

7.สํานักนายกรัฐมนตรีมฐีานะเปนหนวยงานใด ก. กระทรวง ข. ทบวง ค. กรม ง. หนวยงานอิสระ ตอบ ก. กระทรวง สํานักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเปนกระทรวง (พรบ. ระเบียบบรหิารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 7 วรรค 2) 8.การบริหารราชการสวนกลางนั้นมีฐานะเปนอยางไร ก. นิติรัฐ ข. นิติบุคคล ค. รัฐวิสาหกิจ ง. หนวยงานอิสระ ตอบ ข. นิติบุคคล

การบริหารราชการสวนกลางมีฐานะเปนนิติบุคคล (พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 7 วรรค 3)

9.อํานาจหนาที่ของสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรไีดแกขอใด ก. ราชการประจําทั่วไปของสํานักนายกรัฐมนตรี ข. ราชการที่มิไดกําหนดใหเปนหนาที่ของกรมใดกรมหนึ่ง ค. กํากับและเรงรัดการปฏิบัติราชการของสวนราชการในสํานักนายกรัฐมนตร ี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับราชการประจํา ทั่วไปของสํานักนายกรัฐมนตรี และราชการที่คณะรัฐมนตรีมิไดกําหนดใหเปนหนาที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีโดยเฉพาะ รวมทั้งกํากับและเรงรัดการปฏิบัติราชการของสวนราชการในสํานักนายกรัฐมนตรีใหเปนไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของสํานักนายกรัฐมนตรี ยกเวนราชการสวนราชการซึ่งกฎหมาย

Page 6: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

6

แนวขอสอบ ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2558

22.การจายเงินเดือนและเงินประจําตาํแหนง ใหขาราชการพลเรือน ตองไดรับความเห็นชอบ

จากหนวยงานใด ก. สํานักงบประมาณแผนดิน ข. กระทรวงการคลัง ค. ปลัดสํานักนายกรัฐมนตร ี ง. ก.พ. ตอบ ข. กระทรวงการคลัง

การจายเงินเดือนและเงินประจําตําแหนงใหขาราชการพลเรือนใหเปนไปตาม ระเบียบที่ ก.พ. กําหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 37)

23.วัน เวลา ทํางาน วันหยุดราชการตามประเพณี และการลาหยุดราชการของขาราชการพลเรือน ใหเปนไปตามที่ผูใดกําหนด ก. ก.พ. ข. อ.ก.พ. ค. คณะรัฐมนตร ี ง. ปลัดกระทรวง ตอบ ค. คณะรัฐมนตรี

วันเวลาทํางาน วันหยุดราชการตามประเพณี วนัหยุดราชการประจําป และ การลาหยุดราชการของขาราชการพลเรือน ใหเปนไปตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 39) 24. ในการรับบุคคลเพือ่บรรจุเขารับราชการและแตงตั้ง ใหดํารงตําแหนงตองคํานึงถงึส่ิงใด ก. ความสามารถของบคุคล ข. ความเสมอภาค ความเปนธรรม ค. ประโยชนของทางราชการ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

การรับบุคคลเพื่อบรรจุเขารับราชการและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงตองคํานึงถึงความรูความสามารถของบุคคล ความเสมอภาค ความเปนธรรม และประโยชนของทางราชการ (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 42)

Page 7: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

7

25.ในการบริหารทรัพยากรบุคคล ของขาราชการพลเรือนสามัญนั้นตองคํานึงถึงส่ิงใดเปนหลัก ก. ผลสัมฤทธิ์ของงาน ข. ประสิทธภิาพขององคกร ค. ลักษณะงาน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

การบริหารทรัพยากรบคุคล ตองคาํนึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพขององคกรและ ลักษณะของงาน โดยไมเลือกปฏิบัตอิยางไมเปนธรรม (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 42) 26.ขอใดมิใชสวนที่นํามาพิจารณาความดีความชอบ การเล่ือนตําแหนงและการใหประโยชนอื่นแกสวนราชการ ก. ผลงาน ข. ศักยภาพ ค. ความประพฤต ิ ง. ความคิดเห็นทางการเมือง ตอบ ง. ความคิดเห็นทางการเมือง

การพิจารณาความดีความชอบ การเล่ือนตําแหนง และการใหประโยชนอื่นแกขาราชการ ตองเปนไปอยางเปนธรรมโดยพิจารณาจากผลงาน ศักยภาพ และความประพฤติ และจะนําความคิดเห็น ทางการเมืองหรือสังกัดพรรคการเมืองมาประกอบการพจิารณามิได (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 42) 27.ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ มีกี่ประเภท อะไรบาง ก. 2 ประเภท, บริหาร และอํานวยการ ข. 3 ประเภท, บริหาร อาํนวยการและวิชาการ ค. 4 ประเภท, บริหาร อาํนวยการ วชิาการและทั่วไป ง. 5 ประเภท, บริหาร อาํนวยการ วชิาการ ทั่วไป และพิเศษ ตอบ ค. 4 ประเภท, บริหาร อํานวยการ วิชาการและทั่วไป

ตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญม ี4 ประเภท ดังตอไปนี้ บริหาร อํานวยการ วิชาการและทั่วไป (พรบ.ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.2551 มาตรา 45)

Page 8: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

8

แนวขอสอบ พรบ.องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเตมิ ถึง(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2552

25.ผูใดสามารถเรียกประชุมสภาองคการบริหารสวนจังหวัดตามกฎเกณฑที่กําหนด ก. ประธานสภาองคการบริหารสวนจังหวัด ข. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ค. สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

พรบ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 25 เมื่อเปนการจําเปนเพื่อประโยชนแหงองคการบริหารสวนจังหวัด ประธานสภาองคการบริหารสวนจังหวัดอาจเรียกประชุมสภาองคการบริหารสวนจังหวัดเปนสมัยวิสามัญก็ได หรือนายกองคการบริหารสวนจังหวัด หรือสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสามของจํานวนสมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดเทาที่มีอยู อาจทําคํารองย่ืนตอประธานสภาองคการบริหารสวนจังหวัดขอใหเปดการประชุมสมัยวิสามัญได 26.ขอใดกลาวไมถูกตองเก่ียวกับการประชุมสมัยวิสามัญ ก. ใหมีกําหนดเจ็ดวัน ข. ขยายเวลาตองไดรับความเห็นชอบจากสภาดวยเสียงสองในสาม ค. ถาตองการขยายออกไปไดไมเกินเจ็ดวัน ง. ไมมีขอใดกลาวไมถูกตอง ตอบ ข. ขยายเวลาตองไดรับความเห็นชอบจากสภาดวยเสียงสองในสาม

คําอธิบายดังขอขางตน 27.ขอบังคับการประชุมสภาองคการบริหารสวนจังหวัดใหเปนไปตามระเบียบที่ใครกําหนด ก. กระทรวงกลาโหม ข. กระทรวงมหาดไทย ค. กระทรวงยุติธรรม ง. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน ตอบ ข. กระทรวงมหาดไทย

พรบ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 26 ขอบังคับการประชุมสภาองคการบริหารสวนจังหวัดใหเปนไปตามระเบียบที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด

Page 9: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

9

แนวขอสอบ เทศบาล พ.ศ.2496 และ แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 13) พ.ศ.2552

9.เม่ือไดมีการจัดตั้งเทศบาล ตาม พรบ.ฉบับนี้ ใหมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ภายในก่ีวันนับแตวันที่ไดจัดตั้งเปนเทศบาล ก. ภายใน 15 วัน ข. ภายใน 30 วัน ค. ภายใน 45 วัน ง. ภายใน 60 วัน ตอบ ค. ภายใน 45 วัน

เมื่อมีการจัดตั้งเทศบาลตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายวาดวยสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล ใหเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่นภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่ไดจัดตั้งเปนเทศบาล (มาตรา 8 พรบ.เทศบาล แกไขเพิ่มถงึฉบับ 13 พ.ศ.2552) 10.ในระหวางที่ไมมีนายกรัฐมนตรีใหผูใดปฏิบัติหนาที่นายกเทศมนตรีไดเปนการช่ัวคราว จนถึงวันประกาศผลการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี ก. ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. นายอําเภอ ตอบ ก. ปลัดองคการบริหารสวนตําบล

ในระหวางที่ไมมีนายกเทศมนตรี ใหปลัดองคการบริหารสวนตําบลซึ่งดํารงตําแหนงอยูกอนวันที่จัดตั้งเทศบาลปฏิบัติหนาที่ปลัดเทศบาล และใหปฏิบัติหนาท่ีนายกเทศมนตรีเทาที่จําเปนไดเปนการชั่วคราว จนถึงวันประกาศผลการเลือกตั้งนายกเทศมนตรี (มาตรา 8 พรบ.เทศบาล แกไขเพิ่มถึงฉบับ 13 พ.ศ.2552) 11.ทองถิ่นอันเปนที่ตั้ง ศาลากลางจังหวัดหรือทองถิ่นชุมนุมชนท่ีมีราษฎรตั้งแต 10,000 คนขึ้นไป หมายถึงขอใด ก. เทศบาลตําบล ข. เทศบาลนคร ค. เทศบาลเมือง ง. เทศบาลทองถิ่น ตอบ ค. เทศบาลเมือง

Page 10: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

10

เทศบาลเมือง ไดแก ทองถิ่นอันเปนที่ตั้งศาลากลางจังหวัด หรือทองถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแตหนึ่งหมื่นคนขึ้นไป ทั้งมีรายไดพอควรแกการท่ีจะปฏิบัติหนาที่อันตองทําตามพระราชบัญญัตินี้ และซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเปนเทศบาลเมือง ประกาศกระทรวงมหาดไทยนั้นใหระบุชื่อและเขตของเทศบาลไวดวย (มาตรา 10 พรบ.เทศบาล แกไขเพิ่มถึงฉบับ 13 พ.ศ.2552) 12.ทองถิ่นชุมชนท่ีมีราษฎรตั้งแต 50,000 คนขึ้นไป ใหยกฐานะเปนเทศบาลใด ก. เทศบาลสภาตําบล ข. เทศบาลนคร ค. เทศบาลเมือง ง. เทศบาลทองถิ่น ตอบ ข. เทศบาลนคร

เทศบาลนคร ไดแก ทองถิ่นชุมนุมชนที่มีราษฎรตั้งแตหาหมื่นคนข้ึนไป ทั้งมีรายไดพอควรแกการท่ีจะปฏิบัติหนาที่อันตองทําตามพระราชบัญญัตินี้ และซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะเปนเทศบาลนคร ประกาศกระทรวงมหาดไทยนั้นใหระบุชื่อและเขตของเทศบาลไวดวย (มาตรา 11 พรบ.เทศบาล แกไขเพิ่มถึงฉบับ 13 พ.ศ.2552) 13.การเปล่ียนช่ือเทศบาลหรือการเปล่ียนแปลงเขตเทศบาล ใหกระทําโดยกฎหมายใด ก. ประกาศกระทรวงมหาดไทย ข. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ค. กฎ ง. ขอบังคับ ตอบ ก. ประกาศกระทรวงมหาดไทย

ภายใตบังคับมาตรา 9 มาตรา 10และมาตรา11การเปล่ียนชื่อเทศบาลหรือการเปล่ียนแปลงเขตเทศบาล ใหกระทําโดยประกาศกระทรวงมหาดไทย(มาตรา 12 พรบ.เทศบาล แกไขเพิ่มถึงฉบับ 13 พ.ศ.2552)

14.ในกรณีที่เปนการเปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองหรือเทศบาลนคร ใหผูใดสิ้นสุดอํานาจหนาที่เม่ือพนกําหนด 1 ป ก. กํานัน ข. ปลัดอําเภอ ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. ปลัดองคการบริหารสวนตําบล ตอบ ก. กํานัน

Page 11: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

11

แนวขอสอบ พรบ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2552

14.เมื่อมีการสอบสวนแลว ปรากฏวาสมาชิกสภาตําบลบกพรองในความประพฤติ ผูใดมีอํานาจส่ังใหพนจากตําแหนงได

ก. ผูวาราชการจังหวัด ข. นายกองคการบริหารสวนตําบล ค. ประธานสภาตําบล ง. คณะรัฐมนตรี ตอบ ก. ผูวาราชการจังหวัด

ผูวาราชการจังหวัดส่ังใหพนจากตําแหนง เมื่อไดสอบสวนแลวปรากฏวาบกพรองในทางความประพฤติ (พ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 มาตรา 12 ขอ 7) 15.มติของสภาตําบล สามารถใหสมาชิกสภาตําบลพนจากตําแหนงไดโดยมีมติดังกลาว ตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาเทาใด ก. ไมนอยกวา 1 ใน 2 ข. ไมนอยกวา 1 ใน 3 ค. ไมนอยกวา 2 ใน 3 ง. ไมนอยกวา 3 ใน 4 ตอบ ค. ไมนอยกวา 2 ใน 3

สภาตําบลมีมติใหพนจากตําแหนงโดยเห็นวามีความประพฤติในทางที่จะนํามาซึ่งความเสื่อมเสียประโยชนของตําบล มติดังกลาวตองมีคะแนนเสียงไมนอยกวาสองในสามของจํานวนสมาชิกสภาตําบลทั้งหมดเทาที่มีอยู (พ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 มาตรา 12 ขอ 5) 17.เมื่อตําแหนงสมาชิกสภาตําบลที่ไดรับเลือกตั้งวางลง ใหมีการเลือกตั้งใหมภายในกี่วัน นับแตวันที่ครบวาระ ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน ตอบ ค. 45 วัน

เมื่อตําแหนงสมาชิกสภาตําบลซึ่งไดรับเลือกตั้งวางลงเพราะครบวาระการดํารงตําแหนง ใหมีการเลือกตั้งภายในสี่สิบหาวันนับแตวันที่ครบวาระ (พ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 มาตรา 13)

Page 12: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

12

29.ผูใดมีหนาที่รับผิดชอบงานธุรการและการจัดการประชุมและงานอื่นใดตามที่สภาตําบลมอบหมาย ก. เจาพนักงานสภาตําบล ข. เลขานุการ ค. เลขานุการสภาตําบล ง. ขาราชการสภาตําบล ตอบ ค. เลขานุการสภาตําบล

เลขานุการสภาตําบลมีหนาที่รับผิดชอบงานธุรการและการจัดการประชุมและงานอื่นใดตามท่ีสภาตําบลมอบหมาย (พ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 มาตรา 20)

30.สวนที่ 1 ของ พรบ. สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 กลาวถึงเรื่องใด ก. รายไดและรายจายของสภาตําบล ข. สมาชิกสภาตําบล ค. อํานาจหนาที่ของสภาตําบล ง. อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนตําบล ตอบ ค. อํานาจหนาที่ของสภาตําบล 31.สภาตําบลมีรายไดจากที่ใด ก. ภาษีบํารุงทองที่ ภาษีโรงเรือนและท่ีดิน ข. คาธรรมเนียม คาใบอนุญาต ค. คาธรรมเนียมใบอนุญาตการพนัน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

สภาตําบลมีรายไดซึ่งองคการบริหารสวนจังหวัดจัดสรรใหตามหลักเกณฑที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด ดังตอไปนี้

(1) ภาษีบํารุงทองที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดินภาษีปาย อากรการฆาสัตวและผลประโยชนอื่นอันเกิดจากการฆาสัตวที่จัดเก็บไดในตําบลนั้น

(2) คาธรรมเนียม คาใบอนุญาต และคาปรับ ตามที่จะมีกฎหมายกําหนดไวที่จัดเก็บไดในตําบลนั้น

(3) คาธรรมเนียมใบอนุญาตการพนันตามกฎหมายวาดวยการพนันที่เก็บเพิ่มข้ึนตามขอบัญญัติจังหวัดในเขตตําบลนั้น

(4) ภาษีมูลคาเพิ่ม และภาษีธุรกิจเฉพาะ ที่องคการบริการสวนจังหวัดไดรับจัดสรร (5) ภาษีสุรา และภาษีสรรพสามิต ที่องคการบริหารสวนจังหวัดไดรับจัดสรร (6) ภาษีและคาธรรมเนียมรถยนตและลอเล่ือน ที่องคการบริหารสวนจังหวัดไดรับ

จัดสรร (พ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 มาตรา 29)

Page 13: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

13

แนวขอสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิน่ พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549

10.ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น จะประกอบดวยกี่คน

ก. สิบคน ข. สิบเอ็ดคน ค. สิบสองคน ง. สิบส่ีคน ตอบ ค. สิบสองคน

11.ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ก. ผูบริหารองคการบริหารสวนจังหวัด 1 คน ข. ผูบริหารเทศบาล 3 คน ค. ผูบริหารองคการบริหารสวนตําบล 5 คน ง. ผูบริหารกรุงเทพมหานคร 2 คน ตอบ ก. ผูบริหารองคการบริหารสวนจังหวัด 1 คน 12.ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น คัดเลือกโดยวิธีใด ก. เลือกกันเองตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีนายกรัฐมนตรีกําหนด

ข. คัดเลือกโดยนายกรัฐมนตรี ค. คัดเลือกโดยมติของที่ประชุม ครม. ง. คัดเลือกโดยคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตอบ ก. เลือกกันเองตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีนายกรัฐมนตรีกําหนด

13.ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น นี้ประกอบดวยกี่คน

ก. 10 คน ข. 11 คน ค. 12 คน ง. 13 คน ตอบ ค. 12 คน

Page 14: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

14

25.ภารกิจที่เปนการดําเนินการซ้ําซอนระหวางรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือ ภารกิจที่รัฐจัดใหบริการในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น ใหดําเนินการใหเสร็จส้ินภายในกี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ค. 4 ป 26.ภารกิจที่รัฐจัดใหบริการในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่น และกระทบถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น ใหดําเนินการใหเสร็จส้ินภายในกี่ป

ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ค. 4 ป

27.ภารกิจที่เปนการดําเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลใหดําเนินการใหเสร็จส้ินภายในกี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ค. 4 ป

28.ในวาระเริ่มแรกใหคณะกรรมการจัดทําแผนการกระจายอํานาจ และแผนปฏิบัติการ เพื่อกําหนดข้ันตอนใหเสร็จส้ินภายในระยะเวลาใดนับแตวันที่คณะกรรมการเริ่มปฏิบัติหนาที่

ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป ตอบ ก. 1 ป พ.ร.บ.กําหนดแผนฯ พ.ศ.2542 มาตรา 35 ในวาระเริ่มแรก ใหคณะกรรมการ

จัดทําแผนตาม มาตรา 30 และแผนปฏิบัติการตาม มาตรา 32 ใหแลวเสร็จภายในหนึ่งปนับแตวันที่ กรรมการเริ่มปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้

29.ในวาระเริ่มแรก นายกรัฐมนตรี จัดใหมีการเลือกผูแทน องคกรปกครองสวนทองถิ่นและสรรหาผูทรงคุณวุฒิ ใหเสร็จส้ินภายในกี่วัน ก. 30 วัน ข. 45 วัน ค. 60 วัน ง. 90 วัน

Page 15: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

15

ระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และที่แกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2554

2. กลุมจังหวัดท่ีคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ มีอักษรยอวาอยางไร

ก. คนจ. ข. ค.น.จ. ค. กนจ. ง. ก.น.จ.

ตอบ ง. ก.น.จ. “กลุมจังหวัด” หมายความวา กลุมจังหวัดท่ีคณะกรรมการนโยบายการบริหารงาน

จังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) ไดพิจารณาจัดตั้งข้ึนและไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ซึ่งไดรับการจัดสรรงบประมาณรายจายตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม 3. งบประมาณรายจายที่กลุมจังหวัดไดรับตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป หมายถึงขอใด ก. งบประมาณจังหวัด ข. งบประมาณกลุมจังหวัด ค. งบประมาณรายจาย ง. งบประมาณกลุมรายจาย ตอบ ข. งบประมาณกลุมจังหวัด

“งบประมาณจังหวัด” หมายความวา งบประมาณรายจายที่จังหวัดไดรับตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติม เพื่อดําเนินการตามแผนปฏิบัติราชการประจําปของจังหวัด

“งบประมาณกลุมจังหวัด” หมายความวา งบประมาณรายจายที่กลุมจังหวัดไดรับตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายเพิ่มเติมเพื่อดําเนินการตามแผนปฏิบัติราชการประจําปของกลุมจังหวัด 4. สํานักเบิกสวนกลาง หมายความถึงหนวยงานใด ก. กรมบัญชีกลาง ข. กระทรวงการคลัง ค. สํานักงานคลังจังหวัด ง. สํานักงบประมาณ

ตอบ ก. กรมบัญชีกลาง

Page 16: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

16

“สํานักเบิกสวนกลาง” หมายความวา กรมบัญชีกลาง 5. สํานักเบิกสวนภูมิภาค หมายความถึงหนวยงานใด ก. กรมบัญชีกลาง ข. กระทรวงการคลัง ค. สํานักงานคลังจังหวัด ง. สํานักงบประมาณ

ตอบ ค. สํานักงานคลังจังหวัด “สํานักเบิกสวนภูมิภาค” หมายความวา สํานักงานคลังจังหวัด

6. อักษรยอของ การบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ คือ ก. ก.น.จ. ข. ก.บ.จ. ค. ก.บ.ง. ง. ก.จ.บ.

ตอบ ก. ก.น.จ.

7. รายงานประจําปที่แสดงถึงความสําเร็จในการปฏิบัติงานของสวนราชการและรัฐ วิสาหกิจ ตองนําสงสํานักงบประมาณภายในกี่วันนับแตวันส้ินปงบประมาณ ก. สิบหาวัน ข. สามสิบวัน

ค. ส่ีสิบหาวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ง. หกสิบวัน รายงานประจําปที่แสดงถึงความสําเร็จในการปฏิบัติงานของสวนราชการและรัฐ

วิสาหกิจที่เชื่อมโยงกับเปาหมายการใหบริการกระทรวง โดยมีตัวชี้วัดท่ีชัดเจนสง สํานักงบประมาณภายในหกสิบวันนับแตวันส้ินปงบประมาณ 8. สวนราชการและรัฐวิสาหกิจจะตองจัดทําแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณสงใหสํานักงบประมาณพิจารณาวันเริ่มตนปงบประมาณไมนอยกวากี่วัน

ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. ส่ีสิบหาวัน ตอบ ข. สิบหาวัน สวนราชการและรัฐวิสาหกิจจัดทํา แผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ

สงใหสํานักงบประมาณพิจารณาใหความเห็นชอบกอนวันเริ่มตนปงบประมาณไมนอยกวาสิบหาวัน ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีสํานักงบประมาณกําหนด

Page 17: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

17

9. กรณีรายการครุภัณฑ หรือส่ิงกอสรางที่ไมอาจจัดหาไดนั้น เปนรายการที่ไดรับการจัดสรรงบประมาณโดยมีเงินนอกงบประมาณสมทบอยูแลว ใหใชเงินนอกงบประมาณไปเพิ่มไดไมเกินรอยละเทาใดของวงเงินรายการนั้น ก. รอยละสอง ข. รอยละหา ค. รอยละเจ็ด ง. รอยละสิบ ตอบ ง. รอยละสิบ

กรณีรายการครุภัณฑ หรือส่ิงกอสรางที่ไมอาจจัดหาไดนั้น เปนรายการที่ไดรับการจัดสรรงบประมาณโดยมีเงินนอกงบประมาณสมทบอยูแลว ใหใชเงินนอกงบประมาณไปเพิ่มไดไมเกินรอยละสิบของวงเงินรายการนั้น แตหากเงินนอกงบประมาณมีไมเพียงพอและจะใชเงินงบประมาณรายจายไปเพิ่ม ใหเพิ่มไดไมเกินรอยละสิบของวงเงินในสวนที่ เปนงบประมาณรายจายรายการนั้น 10. รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใชจายงบประมาณ ตองจัดสงดวยระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐเมื่อส้ินระยะเวลาในแตละไตรมาสภายในระยะเวลากี่วันนับแตวันสิ้นไตรมาส ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. ส่ีสิบหาวัน

ตอบ ข. สิบหาวัน รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใชจายงบประมาณ ตามเกณฑการวัดของ

ตัวชี้วัดผลสําเร็จตามที่กําหนดไว หรือตามที่ไดตกลงกับสํานักงบประมาณ ตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใชจายงบประมาณ พรอมทั้งระบุปญหา อุปสรรคและแนวทางแกไข ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีสํานักงบประมาณกําหนด และจัดสงดวยระบบอิเล็กทรอนิกสภาครัฐเมื่อส้ินระยะเวลาในแตละไตรมาสภายในสิบหาวันนับแตวันส้ินไตรมาส

11. รายงานประจําปที่แสดงถึงความสําเร็จในการปฏิบัติงานของสวนราชการและรัฐ วิสาหกิจที่เชื่อมโยงกับเปาหมายการใหบริการกระทรวง จะตองสงสํานักงบประมาณภายในระยะเวลากี่วันนับแตวันส้ินปงบประมาณ

ก.สิบหาวัน ข. สามสิบวัน ค.ส่ีสิบหาวัน ง. หกสิบวัน

Page 18: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

18

แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพัสด ุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2552

46. การซื้อหรือการจางโดยวิธีตกลงราคา คือ การซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งมีมูลคาเทาใด

ก. ราคาไมเกิน 100,000 บาท ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ค. ราคาเกิน 2,000,000 บาท ง. ไมจํากัดวงเงิน ตอบ ก. ราคาไมเกิน 100,000 บาท การซ้ือหรือการจางโดยวิธีตกลงราคา ไดแก การซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม

เกิน 100,000 บาท 47. การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคา คือ การซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งมีมูลคาเทาใด

ก. ราคาไมเกิน 100,000 บาท ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ค. ราคาเกิน 2,000,000 บาท ง. ไมจํากัดวงเงิน ตอบ ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท การซื้อหรือการจางโดยวิธีสอบราคา ไดแก การซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน

100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท 48. การซื้อหรือการจางโดยวิธีประกวดราคา คือ การซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งมีมูลคาเทาใด

ก. ราคาไมเกิน 100,000 บาท ข. ราคาเกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท ค. ราคาเกิน 2,000,000 บาท ง. ไมจํากัดวงเงิน ตอบ ค. ราคาเกิน 2,000,000 บาท การซื้อหรือการจางโดยวิธีประกวดราคา ไดแก การซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งซึ่งมีราคา

เกิน 2,000,000 บาท

Page 19: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

19

49. การซื้อโดยวิธีพิเศษ คือ การซื้อหรือการจางครั้งหนึ่งมีมูลคาเทาใด ก. ราคาไมเกิน 100,000 บาท ข. ราคาเกิน 100,000 บาท ค. ราคาเกิน 2,000,000 บาท ง. ไมจํากัดวงเงิน ตอบ ข. ราคาเกิน 100,000 บาท

50. การซื้อโดยวิธีพิเศษ สามารถทําไดในกรณีใด ก. เปนพัสดุที่จะขายทอดตลาด

ข. เปนพัสดุที่ตองซื้อเรงดวน หากลาชาอาจจะเสียหายแกราชการ ค. เปนพัสดุเพื่อใชในราชการลับ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ การซื้อโดยวิธีพิเศษ ไดแก การซื้อครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท ใหกระทําได

เฉพาะกรณีหนึ่งกรณีใด ดังตอไปนี้ ( 1) เปนพัสดุที่จะขายทอดตลาด โดยสวนราชการ หนวยงานตามกฎหมายวาดวย

ระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น หนวยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น รัฐวิสาหกิจ องคการระหวางประเทศ หรือหนวยงานของตางประเทศ

(2) เปนพัสดุที่ตองซื้อเรงดวน หากลาชาอาจจะเสียหายแกราชการ (3) เปนพัสดุเพื่อใชในราชการลับ (4) เปนพัสดุที่มีความตองการใชเพิ่มข้ึนในสถานการณที่จําเปน หรือเรงดวน หรือ

เพื่อประโยชนของสวนราชการ และจําเปนตองซื้อเพิ่ม (Repeat Order) (5) เปนพัสดุที่จําเปนตองซื้อโดยตรงจากตางประเทศหรือดําเนินการโดยผานองคการ

ระหวางประเทศ (6) เปนพัสดุที่โดยลักษณะของการใชงาน หรือมีขอจํากัดทางเทคนิคท่ีจําเปนตองระบุ

ย่ีหอเปนการเฉพาะ ซึ่งหมายความรวมถึง อะไหล รถประจําตําแหนง หรือยารักษาโรคที่ไมตองจัดซื้อตามชื่อสามัญในบัญชียาหลักแหงชาติ ตามขอ 60

(7) เปนพัสดุที่เปนที่ดินและหรือส่ิงกอสรางซึ่งจําเปนตองซื้อเฉพาะแหง (8) เปนพัสดุที่ไดดําเนินการซื้อโดยวิธีอื่นแลวไมไดผลดี

Page 20: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

20

51. การจางโดยวิธีพิเศษ คือการจางครั้งหนึ่งมีวงเงินเทาใด ก. ราคาไมเกิน 100,000 บาท ข. ราคาเกิน 100,000 บาท ค. ราคาเกิน 2,000,000 บาท ง. ไมจํากัดวงเงิน ตอบ ข. ราคาเกิน 100,000 บาท การจางโดยวิธีพิเศษ ไดแก การจางครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท ใหกระทํา

ไดเฉพาะกรณีหนึ่งกรณีใด ดังตอไปนี้ (1) เปนงานที่ตองจางชางผูมีฝมือโดยเฉพาะ หรือผูมีความชํานาญเปนพิเศษ (2) เปนงานจางซอมพัสดุที่จําเปนตองถอดตรวจ ใหทราบความชํารุดเสียหาย

เสียกอนจึงจะประมาณ คาซอมได เชน งานจางซอมเครื่องจักร เครื่องมือกล เครื่องยนต เครื่องไฟฟา หรือเครื่องอิเล็กทรอนิกส เปนตน

(3) เปนงานที่ตองกระทําโดยเรงดวน หากลาชาอาจจะเสียหายแกราชการ (4) เปนงานที่ตองปกปดเปนความลับของทางราชการ (5) เปนงานที่จําเปนตองการจางเพิ่มในสถานการณที่จําเปน หรือเรงดวน หรือเพื่อ

ประโยชนของสวนราชการ และจําเปนตองจางเพิ่ม (Repeat Order) (6) เปนงานที่ไดดําเนินการจางโดยวิธีอื่นแลวไมไดผลดี

52.ในการประกาศเชิญชวน ในการซื้อและการจาง อยางนอยใหแสดงรายการตามขอใด

ก. รายละเอียดเฉพาะของที่ตองการซื้อ หรืองานที่ตองการจาง ข. ประสบการณ และผลงานของผูเสนอที่มีลักษณะและประเภทเดียวกัน ค. สมรรถภาพ ในสวนที่เกี่ยวของกับเจาหนาที่ เครื่องมือ และโรงงาน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ประกาศเชิญชวน อยางนอยใหแสดงรายการดังตอไปนี้ (1) รายละเอียดเฉพาะของที่ตองการซื้อ หรืองานที่ตองการจาง (2) ประสบการณ และผลงานของผูเสนอที่มีลักษณะและประเภทเดียวกัน (3) สมรรถภาพ ในสวนที่เกี่ยวของกับเจาหนาที่ เครื่องมือ และโรงงาน (4) ฐานะการเงิน (5) หลักเกณฑทั่วไปในการพิจารณาคัดเลือก (6) สถานที่ในการขอรับ หรือขอซื้อเอกสารคุณสมบัติเบื้องตน

Page 21: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

21

53.ในประกาศเชิญชวนในการซื้อหรือการจางคร้ังแรก ตองประกาศโฆษณาและแจงลักษณะโดยยอของพัสดุที่ตองการซื้อหรืองานที่ตองการจาง จะตองกระทํากอนวันรับซองขอเสนอไมนอยกวากี่วัน ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน

ตอบ ค. 30 วัน ในประกาศครั้งแรก ใหกําหนดสถานที่ วัน เวลารับขอเสนอ ปดการรับขอเสนอ และ

เปดซองขอเสนอ พรอมทั้งประกาศโฆษณาและแจงลักษณะโดยยอของพัสดุที่ตองการซื้อหรืองานที่ตองการจาง และกําหนดเวลาใหพอเพียงเพื่อเปดโอกาสใหแกผูที่สนใจจัดเตรียมขอเสนอ ทั้งนี้ จะตองกระทํากอนวันรับซองขอเสนอไมนอยกวา 30 วัน โดยประกาศทางวิทยุกระจายเสียงและลงประกาศในหนังสือพิมพ หากเห็นสมควรจะสงประกาศเชิญชวนไปยังผูมีอาชีพขายหรือรับจางทํางานนั้นโดยตรงหรือโฆษณาดวยวิธีอื่นอีกก็ได 54. คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกผูมีคุณสมบัติเบื้องตน ประกอบดวยผูใดบาง

ก. ประธานกรรมการและกรรมการอื่นอยางนอยสองคน ข. ประธานกรรมการและกรรมการอื่นอยางนอยสามคน ค. ประธานกรรมการและกรรมการอื่นอยางนอยส่ีคน ง. ประธานกรรมการและกรรมการอื่นอยางนอยหาคน ตอบ ง. ประธานกรรมการและกรรมการอื่นอยางนอยหาคน ใหหัวหนาสวนราชการแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกผูมีคุณสมบัติเบื้องตน

ประกอบดวย ประธานกรรมการและกรรมการอื่นอยางนอยหาคน โดยใหแตงตั้งจากขาราชการจากขาราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ โดยคํานึงถึงลักษณะหนาที่และความรับผิดชอบของผูไดรับแตงตั้งเปนสําคัญ และในจํานวนนี้ตองมีผูชํานาญการในเรื่องที่จัดซื้อหรือจัดจางนั้นอยางนอยหนึ่งคน 55. คณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกผูมีคุณสมบัติเบื้องตน ใหแตงตั้งข้ึนจาก ก. ขาราชการ หรือ พนักงานราชการ ข. พนักงานมหาวิทยาลัย

ค. พนักงานของรัฐ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

Page 22: ขอบเขตเนื้อหา · แนวข อสอบ พรบ.สภาตําบลและองค การบร ิหารส วนตําบลพ.ศ.2537

22

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740