รายงานการวิจัย เรื่อง...

81
รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ นาวาอากาศโท ดร.สุมิตร สุวรรณ โรงเรียนนายเรืออากาศ กองบัญชาการฝกศึกษาทหารอากาศ

Upload: others

Post on 18-Mar-2020

16 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

รายงานการวิจัย

เร่ือง

ความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

นาวาอากาศโท ดร.สุมิตร สุวรรณ

โรงเรียนนายเรอือากาศ กองบัญชาการฝกศกึษาทหารอากาศ

Page 2: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ และปจจัย

ท่ีมีผลตอความสนใจ รวมทั้งนําเสนอแนวทางในการสรางความสนใจใหเยาวชนเขาศึกษาในโรงเรียน

นายเรืออากาศ โดยใชการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) สรุปผลการวิจัยไดวา เยาวชนที่เปน

กลุมตัวอยางสวนใหญ รอยละ 62.10 ไมมีความสนใจที่จะเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ

ในขณะที่มีเยาวชนใหความสนใจเขาศึกษา รอยละ 37.90 และมีความสนใจที่จะเขาศึกษา อยูในระดับ

ปานกลาง โดยกลุมอาชีพบิดาและมารดามีผลตอความสนใจในการเขาศึกษาโรงเรียนเรียนนายเรือ

อากาศ ซ่ึงกลุมที่บิดาและมารดามีอาชีพเกษตรกรรมมีความสนใจเขาศึกษามากกวากลุมอาชีพอ่ืน ๆ

สําหรับแนวทางในการสรางความสนใจใหเยาวชนเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ ควรทําการ

โฆษณาประชาสัมพันธในเรื่อง ช่ือเสียงของสถาบัน การทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

การมีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต การมีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น ความมั่นคงใน

อาชีพ รายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ โดยเฉพาะการเปนนักบิน การสอบคัดเลือก

ท่ีปราศจากระบบพรรคพวกหรือเสนสาย การมีเครื่องแบบที่สงางาม เปนอาชีพที่มีความภาคภูมิใจใน

เกียรติยศและศักดิ์ศรี การยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม การสรางชื่อเสียงใหกับตนเอง

ครอบครัวและวงศตระกูล การมีโอกาสไดเปนนักบิน การมีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต ทําให

ครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย การมีระเบียบวินัย การมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

นอกจากนั้นควรปรับปรุงระบบการศึกษาของโรงเรียนนายเรืออากาศในเรื่องการใหมีอิสระเสรีใน

การศึกษาและปฏิบัติงานมากขึ้น ปรับระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ ใหเหมาะสมกับสภาพสังคมในระบอบ

ประชาธิปไตย ปรับระบบอาวุโส ปรับการปกครองบังคับบัญชาหรือส่ังการที่เนนการใชอํานาจ

ปรับคุณสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อายุ เพิ่มรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน

เงินเดือน สวัสดิการ จัดระบบการสอบคัดเลือกที่เปดเผย โปรงใส และตรวจสอบได และอาจเปดรับ

นักศึกษาพลเรือนที่มีคุณสมบัติบางประการไมเหมาะสมจนทําใหไมสามารถเขารับราชการทหารไดเขา

มาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ เพ่ือสรางความสนใจใหกับเยาวชนไดมากขึ้น อีกทั้งยังเปนการ

ผลิตบัณฑิตที่มีระเบียบวินัยและมีความอดทนใหกับประเทศชาติได

Page 3: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

สารบัญ หนา

บทคัดยอ ก

สารบัญ ข

สารบัญตาราง ค

สารบัญแผนภาพ ง

บทที ่1 บทนาํ 1

ความเปนมาและความสาํคญัของปญหา 1

วัตถุประสงค 4

สมมุติฐาน 4

ขอบเขตการศกึษา 4

คําจํากัดความ 4

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5

บทที ่2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 6

บทที ่3 วิธีดําเนินการวจิัย 39

บทที ่4 ผลการวิจัย 43

บทที ่5 สรุปผลการวิจัย 65

บรรณานุกรม 70

ภาคผนวก 73

ประวัติผูวิจยั 75

Page 4: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

สารบัญตาราง ตารางที ่ หนา

1 แสดงจํานวนผูมาสมัครสอบในโรงเรียนนายเรืออากาศตั้งแตป พ.ศ.2543–2547 (ม.4) 3

2 แสดงจํานวนประชากรและกลุมตัวอยาง 39

3 แสดงจํานวนแบบสอบถามคืนทีไ่ดรับคืน 41

4 แสดงขอมลูทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 44

5 แสดงความสนใจในการเขาศึกษาในสถาบันการศึกษาตาง ๆ 46

6 แสดงความคิดเห็นในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ 48

7 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางโรงเรียนที่ต้ังอยูในพื้นทีต่างกัน 50

8 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางโรงเรียนที่ต้ังอยูในกรุงเทพ ฯ และตางจังหวัด 52

9 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางเพศชายกับเพศหญิง 53

10 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางผลการศึกษาสะสม 55

11 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางอาชีพบิดา 57

12 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางอาชีพมารดา 59

13 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางรายไดครอบครัว 61

Page 5: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที ่ หนา

1 แสดงความนิยมของคนไทยกับระบบราชการไทย 19

2 แสดงการจัดสวนราชการของโรงเรียนนายเรืออากาศ พ.ศ.2545 30

Page 6: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

บทที่ 1

บทนํา 1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ประเทศไทยตั้งแตสมัยอาณาจักรสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทรตอนตน มีการปกครองใน

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย จนกระทั่งวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ไดเปลี่ยนแปลงการปกครอง

เปนแบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนพระประมุข กําลังทหารไดกอกําเนิดมาพรอมกับชนชาติ

ไทย มีบทบาทสําคัญในการทําสงคราม เปนเครื่องมือและกลไกของรัฐหรือฝายการเมืองในการรักษา

อธิปไตยของชาติหากมาตรการทางการทูตประสบความลมเหลว โดยการตัดสินใจของรัฐสภาหรือ

นักการเมืองที่เปนผูบริหารประเทศ ตามแนวทางการปกครองในระบอบประชาธิปไตย นอกจากนั้นยังมี

หนาที่ในการชวยเหลือประชาชนในยามปกติอีกดวย ในปจจุบันกําลังทหารหรือกองทัพไดพัฒนา

ใหเจริญกาวหนามาตามลําดับ ไดมีการจัดแบงเปนกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ

ตามลักษณะของภารกิจและหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย จัดเปนสวนราชการขึ้นตรงกระทรวงกลาโหม

มีอํานาจหนาที่ในการปองกันประเทศและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักร จากภัยคุกคามทั้ง

ภายนอกและภายในประเทศ (Ministry of Defense < http://www.mod.go.th>) ดังปรากฏใน

บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับปจจุบัน พุทธศักราช 2540 มาตรา 72 วา “รัฐ

ตองจัดใหมีกําลังทหารไวเพื่อพิทักษรักษาเอกราช ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย

ผลประโยชน แหงชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระ

ประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ” การเตรียมกําลังทหารในอดีตนั้นใชวิธีการเกณฑประชาชน

ธรรมดาเขามาเมื่อมี ศึกสงคราม แตในปจจุบันไดมีการต้ังสถาบันการศึกษาในสังกัด

กระทรวงกลาโหมเพื่อเตรียมกําลังพลของแตละเหลาทัพเอง โดยกําลังพลในระดับนายทหารชั้นสัญญา

บัตรมาจากโรงเรียนนายเรืออากาศ โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา โรงเรียนนายเรือ มีการกําหนด

ไวเปนกฎหมายอยางชัดเจนใน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 21 คือ

“กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษาเฉพาะทางตามความ

Page 7: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตองการและความชํานาญของหนวยงานนั้นได โดยคํานึงถึงนโยบายและมาตรฐานการศึกษาของ

ชาติ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง”

ในปจจุบันสถาบันการศึกษาของกระทรวงกลาโหมไดลดจํานวนการผลิตลง ตามแนวทางการ

ปฏิรูประบบราชการภาครัฐ อันเนื่องจากบทบาทดานความมั่นคงลดนอยลงตามสถานการณของโลก

ไดเปลี่ยนจากยุคของสงครามเย็น (Cold War) ท่ีมุงเนนการแขงขันอุดมการณทางการเมืองและ

การทหาร มาเปนการพัฒนาเศรษฐกิจที่มีลักษณะเศรษฐกิจเปนแบบทุนนิยมอุตสาหกรรม ซึ่งเนนการ

ผลิตสินคาและบริการ เพื่อการคาและกําไร (วิทยากร เชียงกูล,2537: 247) ระบบระหวางประเทศตาง

ๆ ไมวาจะเปนระบบเศรษฐกิจ การคา การเงิน หรือขาวสาร จึงเปนแบบไรพรมแดนหรือโลกาภิวัตน

(Globalization) สามารถรับรูและสื่อสารไดทั่วทุกภูมิภาคของโลกอยางรวดเร็ว ปญหาที่เกิดขึ้นใน

ระดับโลกจึงเปนเรื่องเกี่ยวกับการกอการราย ยาเสพติด และความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอม (สมพงษ

ชูมาก, 2540: 210) ในสวนของภัยคุกคามที่มีตอประเทศไทยจะไมปรากฏในลักษณะที่ชัดเจนเหมือน

ในสมัยกอน แตอาจเกิดขึ้นใน 2 ลักษณะ คือ ความขัดแยงที่เกิดจากการแยงชิงผลประโยชนระหวาง

ประเทศ เชน ผลประโยชนทางทะเล การขุดเจาะน้ํามัน แรธาตุ แหลงประมง ปญหาความไมชัดเจน

เรื่องเสนเขตแดน เปนตน และความขัดแยงที่เกิดจากปญหาทางสังคม เชน ศาสนา ชาติพันธุ

วัฒนธรรม ซ่ึงอาจมลัีกษณะคลายกับสงครามกองโจรและจํากัดอยูในพื้นที่ของความขัดแยงเทานั้น (สุ

รชาติ บํารุงสุข, 2537: 37 - 39) เชน ในกรณีของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต นอกจากนั้นความ

กาวหนาทางเทคโนโลยีเปนจักรกลสําคัญของการเติบโตและพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งมีผลกระทบตอชีวิต

ความเปนอยูของมนุษยชาติ กลุมเทคโนโลยีที่สําคัญนี้อาจจําแนกเปน 5 กลุม คือ เทคโนโลยี

สารสนเทศ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุภัณฑสมัยใหม เทคโนโลยีดานการพลังงาน และ

เทคโนโลยีดานอวกาศ (รังสรรค ธนะพรพันธุ,2543: 19)

สําหรับประเทศไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงโครงสรางจากระบบเศรษฐกิจการเกษตรเปนอุตสา-

หกรรมและการบริการ กลุมพอคา นักธุรกิจ ชนชั้นกลาง แรงงาน และนักอาชีพตาง ๆ มีจํานวนและ

อํานาจตอรองเพิ่มขึ้น กลุมขาราชการซึ่งเคยเปนกลุมผลประโยชนในสังคมที่มีขนาดใหญที่สุดและ

มีการจัดระเบียบที่เปนปกแผนแนนหนาที่สุดเริ่มเปลี่ยนไป โดยมีแนวโนมลดลงเร่ือย ๆ (สมชาย

ภคภาสวิวัฒน, 2543: 107) ในขณะเดียวกันการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่ใหความสําคัญใน

Page 8: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

เรื่องสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของมนุษย และความเปนอิสระในการดํารงชีวิตมากขึ้น ทําให

ทัศนคติ คานิยม วิถีชีวิต และความเปนอยูของคนไทยเปลี่ยนไป รวมทั้งเยาวชนคนไทยรุนใหม ใน

ขณะที่ระบบการบังคับบัญชาของทหารเปนระบบที่สอนใหรูจักระเบียบวินัย รูจักความอดทนอดกลั้น

รู จักการปฏิบัติตามคําสั่งของผู บังคับบัญชา มีระบบอาวุโส ซ่ึงเปนระบบของเผด็จการไมใช

ประชาธิปไตย อันเนื่องจากการปฏิบัติงานของทหารมักตองอยูในรูปแบบของคําสั่ง ซ่ึงยากตอการ

หลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธได (อํานวย สาตรเพ็ชร, 2542: 36) การเปลี่ยนแปลงตามที่กลาวมานี้ นาจะทําให

เยาวชนรุนใหมมีความสนใจที่จะเปนทหารโดยเขารับการศึกษาในสถาบันการศึกษาของกองทัพ

นอยลง เชนในกรณีของโรงเรียนนายเรืออากาศ ดังแสดงในตารางที่ 1 ในขณะที่ประชากรในวัยเรียนมี

จํานวนเพิ่มขึ้นทุกป โดยในป พ.ศ.2541 มีเยาวชนที่กําลังศึกษาอยูในโรงเรียน จํานวน 13.01 ลานคน

ในป พ.ศ.2544 เพ่ิมขึ้นเปน 13.08 ลานคน และในป พ.ศ.2545 เพิ่มขึ้นเปน 13.21 ลานคน (National

Statistical Office < http:// www.nso.go.th) แตอัตราการมาสมัครสอบเขาโรงเรียนนายเรืออากาศ

กลับลดนอยลง ตารางที่ 1 แสดงจํานวนผูมาสมัครสอบในโรงเรียนนายเรืออากาศตั้งแตป พ.ศ.2543–2547 (ม.4)

ป พ.ศ. โรงเรียนนายเรืออากาศ (คน)

พ.ศ.2543

พ.ศ.2544

พ.ศ.2545

พ.ศ.2546

พ.ศ.2547

17,919

16,262

17,801

18,830

14,669

จากปรากฎการณที่กลาวมา ทําใหผูวิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาวาในปจจุบันเยาวชนไทยยงัมี

ความสนใจที่จะเขามาเปนทหารหรือไม เพราะอะไร โดยศึกษาในกรณีของการเขาศึกษาในโรงเรียน

นายเรืออากาศ และปจจัยใดที่ผลตอความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษา เพ่ือเปนแนวทางในการ

สรางความสนใจใหเยาวชนเขามาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ สําหรับการเปนทหารตามระบบ

การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยตอไป

Page 9: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

2. วัตถุประสงค

1. เพื่อศึกษาความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

2. เพื่อศึกษาปจจัยที่ผลตอความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

3. เพื่อนําเสนอแนวทางในการสรางความสนใจใหเยาวชนเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ

3. สมมุติฐาน

1. เยาวชนมีความสนใจในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศนอย

2. ปจจัยที่ผลตอความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ ไดแก ที่ต้ังของ

โรงเรียน เพศ ผลการศึกษาสะสม อาชีพบิดา อาชีพมารดา รายไดครอบครัว 4. ขอบเขตการศึกษา

ศึกษาความสนใจของผูที่กําลังศึกษาอยูในระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2547 ของ

โรงเรียนที่ต้ังอยูในจังหวัดกรุงเทพมหานคร 2 โรงเรียน ไดแก โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย โรงเรียนหอวัง

และโรงเรียนที่ต้ังอยูในตางจังหวัด 3 โรงเรียน โดยแบงตามภาค ๆ ละ 1 โรงเรียน และเลือกเฉพาะใน

พ้ืนที่ที่มีหนวยงานของกองทัพอากาศตั้งอยู ดังนี้

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กองบิน 23 จังหวัดอุดรธานี ไดแก โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

ภาคเหนือ กองบิน 41 จังหวัดเชียงใหม ไดแก โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย

ภาคใต กองบิน 53 จังหวัดประจวบคีรีขันธ ไดแก โรงเรียนประจวบวิทยาลัย

5. คําจํากัดความ

เยาวชน หมายถึง ผูที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศกึษาปที่ 3 ปการศึกษา 2547

Page 10: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

6. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. ทําใหทราบความสนใจและปจจัยที่ผลตอความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียน

นายเรืออากาศ

2. เปนแนวทางในการสรางความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศตอไป

Page 11: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยทีเ่กีย่วของ

การศึกษาวิจัยใน เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ ผูวิจัย

ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้

ตอนที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

ตอนที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับการจูงใจ

ตอนที่ 3 แนวคิดเกี่ยวกับสถาบันการศึกษาของกองทัพ : โรงเรียนนายเรืออากาศ

ตอนที่ 4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

ตอนที่ 1 แนวคิดเก่ียวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

1. พฒันาการทางการเมอืงการปกครองของไทย

การเมืองการปกครองของไทยตั้งแตอดีตถึงปจจุบันมีวิวัฒนาการโดยสรุป คือ สมัยอาณาจักร

สุโขทัยมีการปกครองแบบพอปกครองลูก เสมือนครอบครัวใหญ มีพลเมืองไมมากไมตองมีการเมือง

การปกครองที่ซับซอน ในยามสงครามทุกคนเปนทหาร ตอมาสมัยอาณาจักรอยุธยามีการปกครอง

แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย พระมหากษัตริยมีอํานาจเด็ดขาดทางการเมืองเปนเจาชีวิตหรือสมมุติเทพ

ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ไดมีการแบงการปกครองออกเปนฝายทหารกับฝายพลเรือน ฝาย

ทหารมีอัครเสนาบดี เรียกวา สมุหกลาโหม ฝายพลเรือน เรียกวา สมุหนายก ทั้ง 2 ฝายตองออกรบ

ในยามศึกสงคราม ในขณะที่ระบบสังคมแบงออกเปน 3 ชนชั้น คือ ชนชั้นปกครอง ไดแก กษัตริย

เชื้อพระวงศ ขุนนาง พระสงฆ ชนชั้นสามัญ ไดแก ไพร ซ่ึงแบงออกเปนไพรหลวงกับไพรสม และพวก

ทาส มีระบบไพรซ่ึงเปนการจัดระเบียบและคุมกําลังคนเพื่อเกณฑแรงงาน การเก็บภาษีและการรบ

ในยามสงคราม และมีระบบศักดินาซึ่งมาจากการยึดครองที่นาตามฐานะทางสังคม เปนระบบที่จัด

ชนชั้นในสังคมใหเหลื่อมลํ้าตามอํานาจและฐานะ เปนกลไกของการแบงฐานะและตําแหนงของคนใน

ทางการบริหาร (ลิขิต ธีรเวคิน, 2539: 5-37) ระบบศักดินานี้สนับสนุนความแตกตางระหวางชนชั้น

Page 12: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ในสังคมไทย และติดอยูในจิตสํานึกของคนไทยอันขัดแยงกับจิตสํานึกประชาธิปไตย มีการจัดแบงดังนี้

(อมร รักษาสัตย,2544: 37-38)

บรรดาศักดิ์ หมายถึง ฐานะของขุนนางซึ่งไดรับพระราชทานเนื่องจากตําแหนง อาจเรียก ยศ

เชน ขุน หลวง พระ พระยา เจาพระยา สมเด็จเจาพระยา

ราชทินนาม หมายถึง นามบรรดาศักดิ์ช้ันสัญญาบัตรที่พระเจาแผนดินพระราชทาน ซ่ึงมัก

เกี่ยวของกับตําแหนงที่ดํารงอยู เชน หลวงประดิษฐมนูธรรม

ยศ หมายถึง เครื่องกําหนดฐานะหรือช้ันของบุคคลเปนยศชั้นตาง ๆ เชน ทหารมียศตั้งแต

สิบตรีถึงจอมพล พลเรือนมียศ เชน อํามาตยตรี โท เอก

เครื่องราชอิสริยาภรณ หมายถึง เครื่องประดับเกียรติยศหรือเหรียญตรา เพื่อแสดงระดับช้ัน

ของขาราชการ

หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ไดยกเลิกบรรดาศักดิ์ ราชทินนาม และยศ

พลเรือน เหลือแตยศทหารตํารวจเทานั้น

ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนยังคงเหมือนกับสมัยอยุธยา จนกระทั่งสมัยรัชกาลที่ 5

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดมีการปฏิรูปในหลาย ๆ ดานทั้งดานพลเรือนและดาน

ทหาร มีการตั้งกระทรวงตามแบบตะวันตก สรางกองทัพสมัยใหมเพื่อตอตานลัทธิจักวรรดินิยมและเพื่อ

คุมครองราชบัลลังกใหรอดพนจากการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ และในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 ใน

สมัยรัชกาล ที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ไดมีการเปล่ียนแปลงการปกครองเปนแบบ

ประชาธิปไตย ท่ีมีพระมหากษัตริยอยูใตกฎหมายรัฐธรรมนูญ (ลิขิต ธีรเวคิน, 2539: 70)

2. หลักการประชาธปิไตย

การปกครองในระบอบประชาธิปไตยถือวาดีที่สุดในยุคปจจุบัน เนื่องจากเปนการปกครองที่

เห็นความสําคัญของประชาชน ไมใชบุคคลเดียวหรือกลุมเดียว มีความเชื่อมั่นในสติปญญา เหตุผล

และความสามารถของมนุษยในการตัดสินใจเลือกผูนํา เปลี่ยนตัวผูนํา รวมทั้งการเลือกแนวทางพัฒนา

สังคมของตนไดอยางถูกตอง ไมวาจะไดรับการศึกษาแตกตางกันเพียงใด แตขณะเดียวกันก็มีหลักการ

ท่ีระบุวา การใชอํานาจตองมีเง่ือนไขเพื่อปองกันมิใหมีการใชอํานาจในทางที่ผิดหรือริดรอนสิทธิ

Page 13: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

เสรีภาพของประชาชนได จึงใหสิทธิแกประชาชนที่จะเรียกอํานาจกลับคืนได (กมล สมวิเชียร, 2523:

53 – 82 )

เซมัวร มารติน ลิบเซท (Seymour Martin Lipset) ใหคํานิยาม ประชาธิปไตย หมายถึง ระบบ

การเมืองที่เปดโอกาสโดยใชวิถีทางปกติธรรมดา ตามรัฐธรรมนูญที่จะใหมีการเปลี่ยนตัวผูปกครองได

และเปนกลไกทางสังคมที่ชวยใหมีการแกปญหาในสังคมอันเกิดจากการตัดสินใจท่ีขัดแยงกันระหวาง

กลุมผลประโยชนตาง ๆ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยจึงเทากับเปดโอกาสใหประชาชนสวน

ใหญไดใชอิทธิพลของตนเขามากําหนดการตัดสินใจนโยบายสาธารณะ โดยเลือกบุคคลเขาดํารง

ตําแหนงทางการเมือง นอกจากนั้นยังมีอุดมการณที่ยึดมั่นในความเสมอภาคและเสรีภาพของบุคคล

ซ่ึงจะตองไดรับการคุมครอง รัฐมีหนาที่สงเสริมการกินดีอยูดี สงเสริมใหแตละคนใชความสามารถของ

ตนอยางเต็มที่ รวมทั้งเคารพและปกปองสิทธิสวนบุคคล ซ่ึงคนเราตองมีความเสมอภาคกันทั้งในทาง

การเมือง เศรษฐกิจ สังคม นั่นคือ คนเราเมื่อเกิดมายอมเทาเทียมกัน มีฐานะทางสังคมไมแตกตางกัน

มีโอกาสเทากัน ภายใตกฎหมายเดียวกัน มีเสรีภาพในการเลือกเปาหมายและวิธีการในการดํารงชีวิต

ของตนเอง (ทินพันธุ นาคะตะ, 2543: 2)

อมร รักษาสัตย (2544: 113) กลาวถึง ประชาธิปไตย มหีลักการ 4 ประการ

1. หลักความเสมอภาค คือ ความเทาเทียมกันระหวางเพ่ือนมนษุย

2. หลักความเปนอิสระเสรี คือ มีอิสระเสรีในความคิดและการดําเนินชีวิต

3. หลักเหตุผลนิยม คือ การใชเหตุผลและความสมเหตุสมผล

4. หลักศีลธรรม คือ บรรทัดฐานสวนหนึ่งของความสมเหตุสมผล

ชัยอนันต สมุทวาณิช (2519:15-19) ช้ีใหเห็นถึงทัศนคติทางการเมืองแบบประชาธิปไตยของ

บุคคลโดยทั่วไปที่ไดจากหลักการประชาธิปไตย และคนพบความรูของนักรัฐศาสตรจะมีลักษณะดังนี้

1. มีความเชื่อวาสิทธิเสรีภาพเปนสิ่งศักดิ์สิทธิท่ีติดตามมาพรอมกับความเปนมนุษย

ความเห็นแตละบุคคลจึงเปนสิ่งจําเปนมากที่สุด นอกจากนั้นยังตองรูจักวิพากษวิจารณอยางมีเหตุมี

ผลและสรางสรรค โดยยึดหลักเหตุผลที่วางอยูบนขอเท็จจริงโดยปราศจากอคติ

Page 14: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

2. มีทัศนคติที่ยอมรับในความเทาเทียมกันของคน ซ่ึงไมไดหมายถึงความเทาเทียมกันใน

ทุก ๆ ดาน แตหมายถึงความเสมอภาคตามกฎหมายและทางการเมือง คนทุกคนตองไดรับการ

คุมครองจากรัฐและการปฏิบัติจากเจาหนาที่ของรัฐอยางเทาเทียมกัน โดยไมมีการแบงแยกเชื้อชาติ

กําเนิด เพศ หรือฐานะทางเศรษฐกิจสังคม

3. มีทัศนคติที่เชื่อมั่นในประสิทธิภาพทางการเมืองของตน คือ จะตองรูสึกวาตนเองมีความ

เขาใจและสามารถทําใหเกิดขึ้นไดโดยการกระทําของตน และสามารถทําใหผูมีอํานาจทางการเมือง

ทําตามที่ตนตองการได

4. มีทัศนคติวารัฐบาลเปนเครื่องมือของสังคม ซ่ึงสามารถสนองความตองการของแตละคน

ได แตในขณะเดียวกันก็มองวาการเมืองเปนสิ่งจําเปนที่เกี่ยวของกันโดยตรงกับประชาชน มิใชเปนเรื่อง

สกปรก

5. มีทัศนคติที่มีความศรัทธาและเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง และเพื่อนมนุษยใน

การใชสติปญญา การรูจักใชเหตุผลในการพิจารณาปญหา ยึดหลักเหตุผลดวยวิธีการทดสอบคนหา

ตามแบบวิทยาศาสตร โดยถือวาความรูทั้งหลายนั้นเกิดมาจากประสบการณซ่ึงไมมีส่ิงใดเปน สัจ

จธรรมไปตลอดกาล เมื่อมีการคนควาที่กาวหนาขึ้นสิ่งที่เคยเปนจริงในยุคหนึ่งก็อาจเปลี่ยนแปลงได

6. มีทัศนคติที่ยอมรับการประนีประนอม (Compromise) ในความขัดแยงที่เกิดขึ้น โดย

จะตองเปนผูรูจักปรับตัวใหเขากับสภาพการณใหม ๆ แมตนเองจะไมพอใจ แตก็จะตองมีความอดทน

และยอมรับในความเห็นของคนอื่น ๆ ถาความคิดเห็นนั้นสมเหตุสมผลและไดรับการยอมรับจากเสียง

ขางมาก

7. มีทัศนคติในการยอมรับและเคารพในกติกาของสังคม ทั้งนี้เนื่องจากการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตย คือ การปกครองโดยกฎหมาย ไมใชเปนการปกครองระบอบเหตุผลแหงรัฐ

(Reasons of the State) ดังนั้นกฎหมายจึงเปนกติการวมกันที่ทุกคนจะตองยึดถือและปฏิบัติตาม

อยางเครงครัด เมื่อพิจารณาวากฎหมายนั้นถูกตองและสมเหตุผล

ประชาธิปไตยนอกจากจะหมายถึงการปกครองแลวยังเปนวิถีชีวิตที่บุคคลอาจจะใชวิถีชีวิต

รวมกันไดอยางมีเหตุมีผล มีเสรีภาพ และอยางยุติธรรม วิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตยนั้นเปนสิ่งที่พบ

เห็นไดในประเทศที่ประชาธิปไตยไดหยั่งรากไวอยางมั่นคง หลักการที่ใชเปนมาตรฐานและเครื่อง

กําหนดคุณลักษณะประชาธิปไตยของสังคมตาง ๆ ไวดังนี้ (จรูญ, 2528: 35 – 41)

Page 15: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

1. การใชเหตุผลดวยการทดลองหรือการทดสอบจากสภาพความเปนจริง ประชาชนใน

ประเทศประชาธิปไตยเชื่อมั่นวาเหตุผลเปนสิ่งที่ดีงามและสามารถใชเหตุผลประยุกตไดในสภาพการณ

ตาง ๆ ของโลกและความสัมพันธระหวางมนุษย

2. การใหความสําคัญแกบุคคล หลักขอน้ีทําใหวิถีชีวิตแบบเสรีประชาธิปไตยแตกตางจาก

ระบบเผด็จการอื่น ๆ นั่นคือ สถาบันทางการเมืองในสังคม เชน กลุมชนหรือพรรคการเมืองจะตอง

จัดตั้งขึ้นเพื่อรับใชบุคคล

3. ความเชื่อมั่นที่วารัฐเปนเพียงเครื่องมือเทานั้น ความเชื่อเชนนี้ถือวารัฐเปนกลไกที่จะตอง

ใชเพื่อวัตถุประสงคที่สําคัญกวาตัวรัฐนั้น

4. การยึดถือหลักของความสมัครใจ วิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยนั้นตองการใหบุคคลทํา

กิจการตาง ๆ ดวยความสมัครใจ ดังนั้นการปฏิบัติการตาง ๆ ของบุคคลจึงควรเปนไปตามความรูสึก

ความตองการ ไมมีการบังคับ

5. หลักที่เชื่อกันวามีกฎหมายสูงสุดอยูเหนือกฎหมายแหงรัฐ กฎหมายระดับสูง นาจะ

หมายถึงความสําคัญที่ถูกตองและหลักเหตุผลเปนสิ่งที่ดีงาม

6. การยึดถือหรือใหความสําคัญในเร่ืองวิธีการ ระบบประชาธิปไตยเชื่อวาชีวิตของมนุษย

น้ันแมจะมีจุดหมายปลายทาง แตจะตองอาศัยวิธีการหรือวิถีทางดวย เพื่อที่จะบรรลุถึงวัตถุประสงค

เหลานั้น

7. ความเชื่อม่ันเกี่ยวกับหลักการของการอภิปรายและความยินยอมประชาธิปไตยนั้น ไม

เชื่อวาผูใดจะสามารถขาด “ความจริง” ไวแตเพียงผูเดียว หรือมิฉะนั้นก็เชื่อวาในทางปกครองการเมือง

ยังไมมีส่ิงใดที่เรียกกันวาเปนสัจจธรรม ดังนั้นจึงตองมีการอภิปรายแสดงเหตุผลเพ่ือหาขอยุติที่ถูกตอง

ท่ีเปนความคิดเห็นของคนสวนใหญ และชอบธรรมดวยหลักฐานขอเท็จจริง

8. น้ําใจประชาธิปไตย คือ ความสํานึกและความยึดมั่นในหลักการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยดวยการยึดถือวาเปนการปกครองที่เปนประโยชนตอบุคคล และมีสวนรวมมากกวา

ระบอบอ่ืน ดังนั้นจะตองฝกหัดตัวเองใหจิตใจเปนประชาธิปไตย เชน จิตใจกวางขวาง

9. ความสํานึกเกี่ยวกับคุณคาและศักดิ์ศรีของบุคคล ถือวาบุคคลมีความเทาเทียมกันใน

ฐานะที่เปนมนุษย แมวาจะมีลักษณะอยางอื่นไมเหมือนกัน เชน เพศ วัย ความรู รสนิยม ยอมรับความ

แตกตางในดานความคิดเห็นมีความอดทนตอสภาพที่อาจไมถูกใจตน เชน พฤติกรรมของบุคคลอื่นที่

Page 16: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตางจากตน แตเปนสิทธิโดยชอบของบุคคลนั้นและไมเปนการขัดตอศีลธรรมหรือเสรีภาพของบุคคลใด

ฝกหัดที่จะหาทางออกดวยการประนีประนอมและถือ “แนวทางสงบสันติ” เปนหลักปฏิบัติที่สําคัญ

10. เคารพกฎเกณฑและกติกาของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ไดแก การเคารพ

เสียงขางมากของประชาชน การปองกันสิทธิของฝายขางนอย ความเสมอภาคระหวางบุคคล การ

วิพากษวิจารณ การปฏิบัติตามกฎหมายที่ไดบัญญัติขึ้นตามวิถีทางประชาธิปไตย และการขจัด

ความเห็นแกตัวหรือการลุแกอํานาจใด ๆ

11. ความสนใจที่มีสวนรวมในการปกครองตนเอง ตองสรางนิสัยเกี่ยวกับการหาความรูใน

กิจการบานเมือง ฝกหัดใชความคิดเห็นในการแกปญหาตาง ๆ ที่เปนกิจสาธารณะ และควรเขามีสวน

รวมในกลุมการเมืองหรือกิจการทางการเมือง เชน เปนสมาชิกของพรรค การใชความคิดเห็น ความ

รอบคอบในการออกเสียงเลือกตั้ง

12. ความเปนพลเมืองดี หมายถึง การปฏิบัติตนเปนพลเมืองที่มีคุณภาพในระบอบการ

ปกครองแบบประชาธิปไตย เชน การแสวงหาความรู ปฏิบัติตามนโยบายของชาติ ไมละเมิดกฎหมาย

มีสวนรวมในการทํานุบํารุงประเทศในการเสียภาษีอากร เขารวมในกิจการที่เปนประโยชนตอสังคม

ตาง ๆ เทาที่เวลาจะอํานวยให

13. การฝกหัดมองโลกในทางดีและคิดเห็นในแงดี เชน มีความหวังและมีศรัทธาที่ระบบ

ประชาธิปไตยนั้นเปนการปกครองที่สามารถใหประโยชนได และเนื่องจากการปกครองแบบนี้จะตอง

ยอมรับความเสมอภาคระหวางมนุษย และตองรวมมือกับบุคคลอื่นในการปกครองตนเอง ฉะนั้น

จะตองรูจักเคารพความสําคัญและความคิดเห็นของบุคคลอื่น จะตองมองคนอื่นในแงดีและมีขอ

สันนิษฐานไวกอนวาบุคคลทั่วไปมีความสุจริตและตั้งใจดี ซ่ึงจะชวยใหเกิดความรวมมือได

14. รูจักการใชเหตุผลท้ังในการคิดวิพากษวิจารณและปฏบิัติทั้งนี้เพื่อจะทําใหการปกครอง

เปนไปดวยดี เพราะการแสดงออกเชนนั้นยอมมีความหนักแนนมั่นคงในตนเอง มีน้ําหนักและกอใหเกิด

การกระทําในทางสรางสรรค และเปนการชวยยับยั้งการกระทําที่ใชอํานาจอันมิชอบของผูทําหนาที่

ปกครอง

รูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตยเทาที่ปรากฏโดยทั่วไป มีอยู 3 แบบ แตละแบบมี

จุดหมายรวมกัน คือ ตองการใหประชาชนปกครองตนเอง คงแตกตางกันในลักษณะของกรรมวิธีใน

รายละเอียด กลาวคือ

Page 17: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

1. ระบบรัฐสภา มีกระบวนการ คือ ใหประชาชนเลือกผูแทนเพ่ือไปปฏิบัติหนาที่ในสภา

นิติบัญญัติ ผูแทนเหลานี้จะเปนผูกําหนดตัวบุคคลที่จะเปนฝายบริหาร (หรือคณะรัฐบาล) สภานิติ

บัญญัติจะทําหนาที่ออกกฎหมาย พรอมกับการควบคุมรัฐบาล สภา ฯลฯ มีอํานาจสูงสุด เพราะถือวา

เปนตัวแทนของปวงชน คณะรัฐบาลตองรับผิดชอบตอสภา และจะอยูในตําแหนงเทาที่สภาเห็นสมควร

หากสภาลงมติไมไววางใจ รัฐบาลตองลาออก

2. ระบบประธานาธิบดี มีกระบวนการ คือ ใหประชาชนมีสวนรวมดวยการเลือก

ผูแทนราษฎรในสภาซึ่งเปนฝายนิติบัญญัติ และเลือกประธานาธิบดีซ่ึงเปนฝายบริหารใหอํานาจนิติ

บัญญัติ (สภา) อํานาจบริหาร (ประธานาธิบดี) และอํานาจตุลาการ (ศาล) มีฐานะเทาเทียมกัน คอย

ยับยั้งและถวงดุลอํานาจซึ่งกันและกัน เพ่ือมิใหหนวยใดมีอํานาจมากที่สุดดวยวิธีการนี้ ประชาชนจะ

ไดรับหลักประกันในเรื่องสิทธิเสรีภาพอยางเต็มที่

3. ระบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา เปนการผสมผสานระหวาง 2 วิธีแรกเขาดวยกัน คือ

ใหประชาชนเลือกสภานิติบัญญัติและเลือกประมุขของประเทศโดยตรง ใหสภานิติบัญญัติกําหนดตัว

คณะรัฐบาล คณะรัฐบาลตองรับผิดชอบตอสภา แตอํานาจบริหารในสวนสําคัญอยูในมือของ

ประธานาธิบดี ซ่ึงไมตองรับผิดชอบตอสภา อํานาจของสภากับประธานาธิบดีเทาเทียมกันเปนอิสระตอ

กัน สภาจะควบคุมฝายบริหารไดเพียงสวนเดียวเทานั้น คือ สวนที่เปนอํานาจของคณะรัฐบาล 3. บทบาทของทหารกบัการเมืองการปกครอง

มาเคียเวลลี (Nicold Machiavelli) ปรัชญาเมธีทางการเมืองไดใหทัศนะในเรื่องการทหารวา

การเมือง คือ เรื่องของการทหาร การรักษาอํานาจทางการเมืองไวไดหรือขยายอิทธิพลไดดวยอํานาจ

ของกองทัพที่แข็งแกรง ขณะเดียวกันผูปกครองตองระมัดระวังมิกระทําการใดใหประชาชนเกลียดชัง

เพราะถาประชาชนเกลียดชังผูปกครองก็จะอยูไมได ทหารจึงไดมีบทบาทในการเมืองควบคูกันมา

ต้ังแตกอนที่คนไทยจะสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยเปนราชธานีแหงแรก น่ันคือ พระเจาแผนดินเปนผูมี

อาญาสิทธิ์ในการปกครอง และเปนนักรบที่มีความสามารถจึงเปนผูนําทางทหารดวย (สมบัติ

ธํารงธัญวงศ, 2545: 132)

Page 18: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ชัยอนันต สมุทวาณิช (2535: 149) ไดกลาววา รัฐเปนองคกรทางการเมืองที่มีความ

สลับซับซอน ประกอบดวย

1. ดินแดน

2. ประชากร 3. ความตอเนื่อง 4. รัฐบาล

5. การปฏิบัติหนาทีท่างดานความมัน่คง การดูแลความเปนระเบียบเรียบรอย การใหความ

ยุติธรรมและสวัสดิการสังคม

6. ทรัพยากร 7. การคลัง 8. ระบบราชการ 9. อํานาจอธิปไตย

10. การดํารงอยูในสังคมแหงรัฐตาง ๆ หรือสังคมโลก

ดังนั้นรัฐทุกรัฐจึงมีรัฐบาลเปนศูนยรวมอํานาจและเปนองคกรที่ใชอํานาจรัฐในการทาํหนาที่หลกั

3 ดาน คือ

1. การรักษาความมั่นคง 2. การดูแลความเปนระเบียบเรียบรอยและการใหความยุติธรรม

3. การใหสวัสดิการทางสังคม

ขาราชการทั้งทหารและตํารวจจึงเปนกลไกของรัฐ (ระบบราชการ) ในการใชกําลังบังคับ เปน

มิติดานความมั่นคงในการรักษาความสงบภายในสังคมและปองกันการรุกรานจากภายนอก โครงสราง

ของรัฐในดานนี้จึงมีความสําคัญและมีความเปนมาที่ยาวนานและตอเนื่อง และไดรับการพัฒนา

ปรับปรุงใหมีความทันสมัยเขมแข็งอยูเสมอ กองทัพและทหารจึงมีลักษณะทางการเมืองเปนดานหลัก

เพราะกองทัพเปนกลไกหลักของรัฐในการใชอํานาจที่มีความรุนแรง ซ่ึงมีกฎหมายรองรับ เปนการ

ปฏิบัติงานตามระบบราชการที่มีกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับ ที่เนนหลักสาธารณะประโยชนท่ัวไป

และความกาวหนาของชีวิต รวมถึงการเลื่อนฐานะทางสังคมที่ขึ้นอยูกับการมีตําแหนงในวงราชการ

Page 19: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ทําใหเจาหนาที่ของรัฐเปนกลุมชนชั้นพิเศษแตกตางไปจากชนชั้นหรือกลุมคนกลุมอ่ืน ๆ ในสังคม

(ชัยอนันต สมุทวาณิช, 2535: 236 - 238)

บทบาทของทหารและกองทัพสมัยใหมไดเริ่มขึ้นในป พ.ศ.2430 เมื่อพระบาทสมเด็จพระ

จุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดต้ังโรงเรียนนายรอยทหารบก พรอมกับการตั้งโรงเรียนขาราชการพลเรือน

เพื่อเปนการสรางขาราชการที่ดี ตอมาในป พ.ศ.2448 ไดมีการออกพระราชบัญญัติลักษณเกณฑทหาร

ซ่ึงเทากับเปนการยกเลิกระบบไพรแบบดั้งเดิม (ชัยอนันต สมุทวาณิช, 2535: 206) การสรางองคกร

ทหารสมัยใหมน้ีมีผลในทางเสริมความเขมแข็งใหแกบรรดาขาราชการ ท่ีไดรับพระราชทานยศขุนนาง

จากพระมหากษัตริย องคสมัยใหมนี้มีอาวุธสมัยใหมที่เสริมแรงใหแกศักยภาพแหงอํานาจทาง

การเมืองของบุคคลในเครื่องแบบ ซ่ึงเปนกลุมเดียวที่สามารถทาทายราชบัลลังกได จนกอการ

รัฐประหารและเปลี่ยนแปลงการปกครองเปนแบบประชาธิปไตย ท่ีมีพระมหากษัตริยอยูใตกฎหมาย

รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 โดยคณะราษฎร ซ่ึงประกอบดวย ขาราชการทหารและ

พลเรือน (ลิขิต ธีรเวคิน, 2539: 70) ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงนี้เปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการขัดแยง

ภายในชนชั้น ปกครองระหวางอํานาจรัฐที่มีพระมหากษัตริย ทรงเปนศูนยกลางของอํานาจกับกลไก

ของรัฐ ซ่ึงประกอบดวยขาราชการทหารและพลเรือนที่มีจิตสํานึกในการรับใชรัฐมากกวารับใช

สถาบัน พระมหากษัตริย เพ่ือเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการขยายตัวของระบบ

ราชการทั้งทหารและพลเรือน ประชาธิปไตยจึงเปนแบบราชการ (ชัยอนันต สมุทวาณิช, 2535: 268)

หลังจากนั้นกองทัพตองตกอยูภายใตอํานาจอิทธิพลของคณะผูนําทหาร และไดเขาผูกพันกับ

ปญหาอํานาจของรัฐและปญหาการเมืองจนถึงยุคปจจุบัน ทหารไดเขามามีบทบาทสําคัญตอการ

เปลี่ยนแปลงและผลักดันใหมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครอง ในยุคแรกไดเขามามีบทบาท

ในการพัฒนาทางการเมืองที่มีเจตนารมณอันบริสุทธิ์ เพ่ือการพัฒนาประเทศไปสูความเจริญกาวหนา

และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉพาะในชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ต้ังแตป

พ.ศ.2492 รัฐไทยตองเผชิญกับการทาทายของพรรคคอมมิวนิสต กลไกของรัฐ (กองทัพ) ตองดํารงอยู

ดานเดียว คือ การตอสูทางการทหารกับกองกําลังตางชาติในมิติของสงครามเย็น ในระยะเวลาตอมา

บทบาทดังกลาวของทหารไดเปลี่ยนแปลงไปเปนผูขัดขวางการพัฒนาทางการเมือง มีการใชกําลัง

ทหารทําการปฏิวัติรัฐประหารโคนลมรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง มีการประกาศกฎอัยการศึก การยุบ

Page 20: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

รัฐสภา การจับคุมขังนักการเมืองและปญญาชนฝายที่ไมเห็นดวย บางครั้งรุนแรงถึงขั้นสังหาร มีการ

ยกเลิกการเลือกตั้งทั่วประเทศ ใชอํานาจการปกครองลักษณะเผด็จการอํานาจของผูนําทหาร ดังเชนใน

ยุคการปกครองของ จอมพล ป.พิบูลสงคราม จอมพล สฤษด์ิ ธนะรัชต และจอมพล ถนอม กิตติขจร

จนกระทั่งเกิดเหตุการณวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 การเมืองไทยไดมีการพัฒนาไปสูระบอบ

ประชาธิปไตยมากขึ้น เนื่องจากขบวนการเรียกรองประชาธิปไตยประชาชนและนักศึกษาสามารถ

ผลักดันใหผูนําทหารเผด็จการตองสละอํานาจทางการเมืองใหกับผูนําพลเรือนหรือพลังประชาธิปไตย

และเหตุการณวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 ทําใหนิสิตนักศึกษาเขารวมขบวนการกับพรรคคอมมิวนิสต

แหงประเทศไทย จนถึงรัฐบาลสมัย พลเอก เปรม ติณสูลานนท เปนนายกรัฐมนตรี ไดมองเห็นวา

การปกครองไทยที่ผานมาภายใตเผด็จการทหารยุคตาง ๆ ไมสามารถที่จะตอสูกับลัทธิคอมมิวนิสตได

แตกลับเปนประโยชนให พรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทยเขมแข็งขึ้น จนสามารถขยายอํานาจและ

อิทธิพลไดอยางกวางขวางทั่วประเทศ ดังนั้นหนทางที่จะตอสูกับคอมมิวนิสตไดจึงตองพัฒนาการ

ปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยใหมีประสิทธิภาพ โดยนําเอานโยบายการเมืองนําการทหาร

ประกาศใชในรูปของคําสั่งสํานักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523 เร่ือง แผนรุกทางการเมือง ตอมาในรัฐบาล

ของ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัน นํามาซ่ึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคมอีกครั้ง เมื่อถูก

รัฐประหารจากคณะรักษาความสงบและเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ในวันที่ 23 กุมพาพันธ พ.ศ.2534

การรัฐประหารคร้ังนี้ไดรับแรงสนับสนุนจากประชาชนที่กําลังหมดศรัทธาในพฤติกรรมคอรับช่ันของ

รัฐบาล แตพอในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2535 ไดเกิดความไมสงบและเกิดเหตุการณนองเลือดอีกครั้ง

เมื่อประชาชนไดตอตานคณะรักษาความสงบและเรียบรอยแหงชาติ (รสช.) ที่พยายามจะสืบทอด

อํานาจทางการเมืองโดยมอบให พลเอก สุจินดา คราประยูร เปนนายกรัฐมนตรีคนตอไป ทําใหรัฐบาล

ของ พลเอก สุจินดา คราประยูร ตองใชกําลังทหารเขาปราบปรามประชาชนอยางรุนแรง สงผลตอ

ภาพพจนและเกียรติภูมิของประเทศ จนในที่สุด พลเอก สุจินดา ตองลาออกจากตําแหนง นําไปสูการ

เลือกตั้งและการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่มีความเปนประชาธิปไตย มีการปฏิรูปการเมืองโดยการ

ราง รัฐธรรมนูญจากตัวแทนของประชาชนและไดประกาศใชในป พ.ศ.2540

การที่ทหารเขามามีบทบาททางการปกครองมาโดยตลอดนั้น เม่ือพิจารณาหนาที่ความ

รับผิดชอบของทหาร ทําใหเห็นบทบาทของทหารที่มีความผูกพันเกี่ยวกับการปกครองไดดังนี้

Page 21: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

1. บทบาทกองทัพกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้น ตามพื้นฐานทางรัฐศาสตร

กองทัพมีความสัมพันธและมีความสําคัญตอรัฐ (State) อยางแนนแฟนมาตั้งแตในอดีตจนถึงปจจุบัน

เพราะรัฐมีกองทัพเพื่อทําหนาที่พิทักษรักษาคุมครองค้ําจุนรัฐ และเปนกลไกรัฐ (state machine)

ท่ีสําคัญ เนื่องจากถากองทัพพังทลายจะทําใหรัฐตองลมสลาย เหตุการณเปลี่ยนแปลงของรัฐในแตละ

ยุคแตละสมัยเกิดขึ้นเพราะกองทัพที่คํ้าจุนอยูไดพังทลายลง ดังนั้นกองทัพจึงเปนสถาบันที่คูกับรัฐมี

ความเกี่ยวพันกับความมั่นคงของรัฐ โดยเฉพาะในดานการเมืองการปกครอง และเปนสถาบันที่คํ้าจุน

ใหรัฐดํารงอยูอยางมั่นคงไดดังเชนประเทศในกลุมเสรีประชาธิปไตย คือ สหรัฐอเมริกา ฝร่ังเศส

อังกฤษ เยอรมันตะวันตก ฯลฯ หรือกลุมประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสตคือ สหภาพโซเวียต จีน คิวบา

เวียดนาม ฯลฯ ก็ตองมีกองทัพไวรักษาอธิปไตยของรัฐและคุมครองค้ําจุนรัฐดวยกันทั้งนั้น ในแงของ

การเมืองการปกครอง กองทัพสะทอนถึงระบบการปกครองของประเทศไวเชนกัน คือ ถากองทัพเปน

เผด็จการประเทศนั้นก็จะเปนเผด็จการหรือเปนของคนสวนนอย ถากองทัพเปนประชาธิปไตยประเทศ

น้ันก็จะเปนประชาธิปไตย เพราะกองทัพเปนของประชาชน และถือวาระบอบประชาธิปไตยนั้นเปนการ

ปกครองของประชาชน

2. ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองตั้งแตป พ.ศ.2475 เปนตนมา กองทัพหรือ

ทหารสวนใหญมีความปรารถนาที่จะใหประชาชนมีความเปนอยูที่ดี ปราศจากการถูกขูดรีดจาก

เผด็จการ และอิทธิพลอํานาจมืดที่มีอยูและตองการที่จะใหบานเมืองเปนประชาธิปไตย โดยที่กองทัพ

เปนแกนนําในการตอสูเพื่อใหไดมาซึ่งประชาธิปไตย ดังเชน ในชวงป พ.ศ. 2523 ที่รัฐบาลไดประกาศ

คําสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523 เร่ือง นโยบายการตอสูเพื่อเอาชนะคอมมิวนิสตท่ีฝายทหารไดยึดถือ

และเปนแกนนําตอสูจนกระทั่งสามารถไดรับชัยชนะโดยพ้ืนฐาน

สําหรับสังคมไทยในยุคตนศตวรรษที่ 21 การรัฐประหารถือเปนความแปลกแยกกับการ

พยายามปรับตัวใหเขากับกระแสโลกาภิวัตนของคนไทยและสังคมไทย ผูนําทหารและขาราชการไทย

ไมควรแมแตจะคิดถึงวิธีการนี้ ความเปนพลเมือง (citizenship) สําคัญกวาความเปนทหารหรือ

ขาราชการมาก ถาทําความเขาใจดีพอ วิธีการของพลเมือง คือ การเรียกรองและกดดันรัฐบาลใหทํา

เพ่ือประโยชนของสังคมหรือการสนองตอบสังคมดวยการแปรนโยบายรัฐบาลที่เปนประโยชนตอ

สวนรวมไปสูการปฏิบัติ จะนําผลดีมาสูผูนําทหารและขาราชการทั้งโดยตรง คือ การยอมรับในวิชาชีพ

ทหาร ขาราชการในสายตาของสังคม และความมั่นคงเขมแข็งของสังคมโดยรวม ดังนั้นตองแยกให

Page 22: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ออกระหวางวิธีการของทหารและขาราชการตามอาชีพกับวิธีการของทหารและขาราชการการเมือง

ตลอดจนวิธีการของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยที่ตางออกไปอีกระดับหนึ่ง (เสนีย คําสุข,2546:

114)

ดังนั้น การตอสูภายในประเทศในหวงระยะเวลาการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทย จึงมีความ

สับสนวุนวายยุงยากกวาประเทศในทางตะวันตก ในสวนบทบาทของกองทัพในหวงระยะการ

เปลี่ยนแปลงมีความสําคัญมากเนื่องจากกองทัพกับรัฐบาลเปนของแยกจากกันไมได เพราะกองทัพมี

หนาที่พิทักษคํ้าจุนจึงทําใหมีบทบาท เมื่อการเปลี่ยนแปลงสิ้นสุดลงแลว คือ อาจมีบทบาททั้งดาน

การทหารและดานการเมือง ทําใหเห็นไดวาในชวงแหงการเปลี่ยนแปลงกองทัพจะตองเขาไปเกี่ยวของ

กับการเมืองอยางหลีกเลี่ยงไมได แตเมื่อเหตุการณส้ินสุดลงแลว บทบาทของกองทัพตองเปลี่ยนไปอีก

รูปหนึ่ง คือ จะตองถอนตัวจากทางการเมืองเพื่อใหประชาชนเขามามีสวนในการปกครองอยางแทจริง

ระยะเวลาระหวาง พ.ศ.2500 – 2546 รวม 46 ป พรรคการเมืองมีบทบาททางการเมืองที่เนนไปในการ

เอาชนะการเลือกตั้งอยู 28 ป อีก 18 ปท่ีเหลือ บทบาททางการเมืองตกอยูกับฝายคณะรัฐประหารหรือ

พรรคของผูนําทหาร และขาราชการที่ใชกลไกรัฐเขายึดอํานาจรัฐบาล ขาราชการยังไมไวใจพรรค

การเมือง ยังใชกลไกของรัฐทําการรัฐประหารหรือสรางอิทธิพลกดดันพรรคการเมือง แตถาการ

รัฐประหารไมเกิดขึ้นอิทธิพลทางการเมืองของผูนําทหารและขาราชการจะลดนอยลง (เสนีย คําสุข,

2546: 112)

การเปลี่ยนแปลงในเหตุผลและโครงสรางของรัฐไทยไดรับผลโดยตรงจากสภาพการณทาง

สากล ความขัดแยงและยุทธศาสตรในระดับโลกของมหาอํานาจ เหตุผลของรัฐเกี่ยวกับการพัฒนาจึง

กลายเปนเหตุผลใหมของรัฐไทย เนื่องจากสหรัฐอเมริกามีนโยบายตอสูกับคอมมิวนิสตดวยการเรงรัด

พัฒนาชนบทและสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การรับเอายุทธศาสตรความมั่นคงและการ

พัฒนาแบบใหมมาใชสงผลตอรัฐไทย มีการนําเอาการพัฒนาเศรษฐกิจเขามาแทนประชาธิปไตย ทาํให

สถาบันหลักดั้งเดิมที่เปนแหลงอํานาจทางสังคมและการเมือง ไดแก สถาบันพระมหากษัตริย สถาบัน

สงฆ และสถาบันขาราชการ (ทั้งทหารและพลเรือน) สามารถมีบทบาทและมีสวนรวมในการพัฒนาได

มากขึ้น ในขณะที่สถาบันพระมหากษัตริยไมทรงสามารถมีสวนรวมในกิจกรรมทางการเมืองเพราะทรง

อยูเหนือการเมือง สถาบันพระสงฆก็ไมสามารถเขารวมทางการเมืองไดเพราะไมใชกิจของสงฆ สวน

Page 23: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

กองทัพและคณะทหารถูกกันออกจากการรวมใชอํานาจจะตองเปนเครื่องมือและกลไกของผูที่มีอํานาจ

ทางการเมือง ซึ่งไดแก พรรคการเมืองที่มีกําลังอํานาจทางเศรษฐกิจและอิงอยูกับประชาชนผูมีสิทธิ

ออกเสียงเลือกตั้งทําใหขาราชการตองตกอยูภายใตอํานาจและการควบคุมของนักการเมือง นอกจากนี้

ภายใตสมัยแหงการพัฒนา กลไกลของรัฐดานการกลอมเกลา คือ สถาบันการศึกษาทุกระดับได

ขยายตัวอยางรวดเร็ว ดังจะเห็นไดจากจํานวนของขาราชการครูที่มีจํานวนมากที่สุดในจํานวน

ขาราชการ พลเรือนทุกประเภท ซึ่งยุทธศาสตรการพัฒนาที่เนนความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เปน

เหตุใหรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเขาแทรกแซงนโยบายเศรษฐกิจไทย โดยผานทางความตกลงวาดวยความ

ชวยเหลือทางเศรษฐกิจและวิชาการ จนมีผลใหไทยมีนโยบายเศรษฐกิจแบบเปดและอนุญาตใหทุน

เอกชนทั้งคนไทยและตางประเทศเขามาในระบบเศรษฐกิจไดตลอดเวลา เพ่ือชวยในการพัฒนา

เศรษฐกิจซ่ึงเปนวิธีการ แกปญหาความดอยพัฒนา ในขณะที่มิติการพัฒนาไดสรางอํานาจใหแก

กลไกของรัฐ หนวยงานตาง ๆ ของรัฐไดเขามามสีวนรวมในการพัฒนาอยางกวางขวาง รวมทั้งกองทัพ

ดวย สงผลใหงบประมาณและจํานวนบุคลากรทางการศึกษา การเกษตรและการสาธารณสุขได

ขยายตัวในอัตราสวนที่สูงกวาการขยายตัวดานการปองกันประเทศซึ่งก็มีมากอยูแลว จนกระทั่งการทา

ทายจากพรรคคอมมิวนิสตลดนอยลงและจบในป พ.ศ.2532 มิติทางความมั่นคงในแงการทหารจึงลด

นอยลงดวย (ชัยอนันต สมุทวณิช, 2535: 245 - 270) อยางไรก็ตามจะเห็นไดวากองทัพไทยไดมี

บทบาทในการรวมพัฒนาประเทศสรุปได 5 ลักษณะ คือ (จารุภัทร เรืองสุวรรณ, 2537: 39)

1. งานชวยเหลือประชาชน เชน การรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลทหาร หนวยเสนารักษ

การบรรเทาสาธารณภัย

2. การปฏิบัติของกองอํานวยการกลางรักษาความปลอดภัยแหงชาตติามโครงการพัฒนาการ

เคลื่อนที่ในทองถิ่นทุรกนัดาร เชน การสรางถนน การเจาะบอน้ําบาดาล การพัฒนาอาชพี

3. งานพัฒนารวมกับมิตรประเทศ เชน การสรางสนามบนิสัตหีบและนครพนม

4. งานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่เพื่อความมั่นคง เชน โครงการน้ําพระทยัจาก

ในหลวง โครงการพัฒนาดอยตุง

5. งานพัฒนากําลังพลของกองทัพ เชน โครงการฝกอบรมทหารกองประจําการ

การเปลี่ยนแปลงที่กลาวมาไดสงผลกระทบตอระบบราชการ การเติบโตของภาคเอกชน

การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทรัพยากร บุคคล ตลอดจนทัศนคติและพฤติกรรมการทํางาน ทําใหระบบ

Page 24: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ราชการตองหันมาทบทวนบทบาทของตนเองมากขึ้น เพื่อมิใหเปนองคกรที่ลาหลังและกาวไมทันโลก

แตองคกรในระบบราชการทําใหเกิดปญหามากมายตั้งแตความลาชา การทํางานไรประสิทธิภาพ

การกําหนดบทบาทขององคกรไมชัดเจน คาใชจายตอหนวยดําเนินการเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เปนระบบศูนย

รวมอํานาจ อํานาจการตัดสินใจอยูที่สวนกลางไมสามารถสนองความตองการของประชาชนในทองถิ่น

ได อีกทั้งแนวโนมการเขารับราชการลดลง ซ่ึงตางจากอดีตที่คนไทยเชื่อวา “สิบพอคายังไมเทาหนึ่ง

พญาเล้ียง” ปจจุบันความเชื่อนี้ไดเปลี่ยนไป ยกเวนในชนบทยังคงมีความยําเกรงในตัวขาราชการและ

เห็นวาขาราชการเปนผูที่มีเกียรติและศักดิ์ศรี มีบารมีสูงกวาอาชีพอ่ืน (สุจิต บุญบงการ, 2542: 69)

ขาราชการมีรายไดนอยกวาภาคเอกชนมาก คนรุนใหมไมมีความใฝฝนที่จะเปนขาราชการ ในขณะที่

ความนิยมเขาทํางานในภาคเอกชนไดเพ่ิมขึ้นเร่ือย ๆ ดังรูป (รุง แกวแดง, 2538 : 42) แผนภาพที่ 1 แสดงความนยิมของคนไทยกับระบบราชการไทย

รอยละของความนยิม

เอกชน

ราชการ

พ.ศ.2500 2510 2520 2530 2540 ป

นอกจากนั้นระบบราชการไมสามารถดึงดูดคนดีคนเกงเขาสูระบบได ในป พ.ศ.2539 พบวา

บางสาขามีอัตราการสูญเสียกําลังคนถึงรอยละ 30 ตอป ภาคราชการซึ่งเคยเปนกําลังสําคัญกําลัง

เสื่อมลง (แนงนอย ศรีวราธนบูลยและสิทธิลักษณ เอ้ือจิตถาวร อางถึงใน อมรวิชช นาครทรรพ, 2540:

31) ซ่ึงนายแพทยประเวศ วะสี (2538: 85) ไดวิเคราะหวาระบบราชการ คือ มะเร็งรายของประเทศ

โดยชี้ใหเห็นสาระสําคัญ คือ

1. ผูบริหารระดับสูงไมมีเวลาศึกษาหาความรูใหม ๆ ตองเซ็นหรือลงนามหนังสือมาก

2. ระบบราชการมีเสนทางการเดินหนังสือที่ยาวมาก กําหนดงานไวหลายขั้นตอน

3. ไมมีการกระจายอาํนาจ งานทกุเรื่องตองขึ้นมาขางบนตลอดเวลา

Page 25: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

4. เติบโตอยางรวดเร็ว มีการเพิ่มสวนราชการตลอดเวลา

ชัยอนนัต สมุทวณิช (2537: 31) ไดสรุปปญหาหลักของระบบราชการ 4 ประการ คือ

1. เปาหมายนโยบายขาดความแนนอนและชัดเจน

2. โครงสรางมีการรวมอาํนาจเขาสูสวนกลางทําใหงานลาชา มีสายการบังคับบัญชา

(Hierarchy) ที่ยาว การจัดองคกรไมชัดเจนไมสอดคลองกับสภาพเศรษฐกิจและการเมือง การขยาย

ขอบเขตอํานาจหนวยงานเพื่อผลประโยชนของคนในองคกรมากกวาผลประโยชนของราชการ ขาดการ

วางแผนทีม่ีประสิทธิภาพและขาดการประสานระหวางหนวยงานดวยกนั

3. การบริหารงานบุคคล การจัดอัตรากําลังไมเหมาะสม ขาดความสมดุลระหวางงานกับ

บุคลากร พฤติกรรมทางการบริหารราชการไมเอ้ืออํานวยตอการบริหาร มีการเลนพรรคเลนพวก สงผล

ใหระบบการสรรหาบุคลากรไมมีประสิทธิภาพ ขาดหลักการประเมินเพื่อโยกยายแตงตั้งและการ

พิจารณาความดีความชอบ นอกจากนี้ขาราชการยังใหความสําคัญกับผูบังคับบัญชามากกวา

ตอบสนองความตองการของประชาชน ทําใหการปฏิบัติงานไมตอบสนองนโยบายของรัฐและความ

ตองการของประชาชน และขาราชการมีปญหาเรื่องรายไดไมพอกับคาครองชีพขาดจริยธรรม สงผลให

เกิดการฉอราษฎรบังหลวง ขวัญกําลังใจของขาราชการคอนขางต่ํา

4. กฎระเบียบวิธีปฏิบัติมีขั้นตอนมากทําใหขาดความคลองตัวมาก กฎหมายหลายฉบับ

ลาสมัย ไมเหมาะกับสภาพการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจและสังคมในปจจุบัน นอกจากนี้

กฎระเบียบบางอยางมีชองวางใหขาราชการหาผลประโยชนสวนตัว (corruption) ได

วรเดช จันทรศร (2540: 59) บอกวา ระบบบริหารราชการแผนดินของไทย ไดมีการบริหารงาน

โดยเนนการรวมอํานาจเขาสูสวนกลางไปยังกระทรวง ทบวง กรม ไมมีการแกไขใหสอดคลองกับความ

เจริญของเอกชน ความเจริญของประชาคมโลกและระบอบประชาธิปไตยปญหาหลักก็คือ

1. ภาคราชการรวมอํานาจ ขยายอํานาจ ขยายฐานกําลัง สรางกฎระเบียบที่เนนการ

ควบคุมและดําเนินการโดยภาคราชการ ทําใหเกิดความเปนองคกรขนาดใหญที่สลับซับซอนยากตอ

การแกไขเพราะมีปญหายึดโยงเชื่อมไปทั้งระบบ ผูกขาดและยัดเยียดความคิด ขาดการมีสวนรวมจาก

ประชาชนและภาคเอกชน ตลอดจนผูปฏิบัติหรือกลไกตาง ๆ ในภาคราชการดวยกันเอง เปนลักษณะ

ท่ีไมเปนไปในทิศทางเดียวกันกับกระบวนการประชาธิปไตย

Page 26: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

2. กลไกตาง ๆ ที่จะเอื้อตอการบริหารและการปฏิรูปงานของรัฐใหมีคุณภาพ เกิดสภาพ

ปญหาสะสมและลุกลามเปนลูกโซ ไดแก โครงสรางและรูปแบบองคกรของรัฐในระดับตาง ๆ ระบบ

การเงินและงบประมาณ การวางกฎเกณฑการบริหาร การใชอํานาจและการตัดสินใจเจาหนาที่ของรัฐ

ระบบการควบคุมการตรวจสอบการทํางาน ระบบการประเมินผล การปฏิบัติงาน ระบบการบริหารงาน

บุคคล จรรยาวิชาชีพ คานิยมและวัฒนธรรม

3. การควบคุมจากฝายบริหารที่มีมากเกินไปทําใหงานเกดิความลาชา (Red Tape)

ตอนที่ 2 แนวคิดเก่ียวกับการจูงใจ

การจูงใจ (Motivation) หมายถึง สภาวะที่ถูกกระตุนใหแสดงพฤติกรรมอยางใดอยางหนึ่ง เพ่ือ

บรรลุจุดหมายปลายทางที่ต้ังไว การจูงใจแบงออกเปน 2 ประเภท คือ (สุชา จันทนเอม, 2540: 101-

103)

1. ปฐมภูมิ เกิดขึ้นมาพรอมกับการเกิดของคน ไมตองเรียนรู เปนความตองการของ

รางกายหรือสรีระ เชน ความหิว ความกระหาย ความตองการทางเพศ การพักผอนนอนหลับ อากาศ

การขับถาย

2. ทุติยภูมิ เกิดจากการเรียนรู เปนแรงจูงใจทางสังคม (Social motives) มีผูใหทรรศนะไว

ดังตอไปนี้

มอรแกน (Morgan) แบงการจูงใจแบบทุติยภูมิ ออกเปน 2 ประเภท คือ

1. ความตองการผูกพันกับผูอ่ืน เพราะมนุษยเปนสัตวสังคม ตองอยูรวมกับผูอื่น นอกจาก

พอ แม พ่ีนอง

2. ความตองการฐานะ กลุมชนที่อยูรวมกันจํานวนมาก การแบงระดับช้ันจะเกิดขึ้นเสมอ

คนสวนมากจึงพยายามสรางฐานะของตนเองใหทัดเทียมหรือดีกวาคนอื่น ๆ ในสังคมเดียวกัน ฐานะ

ทางสังคมมีหลายรูป เชน ตําแหนง เกียรติยศ อํานาจ

เมอรเรย (Murrag) แบงความตองการออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ

1. ความตองการทางสรีระ

Page 27: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

2. ความตองการทางจิตใจ มี 5 กลุม คือ

2.1 ความตองการเกี่ยวกับส่ิงของ

2.2 ความตองการที่จะแสดความทะเยอทะยาน มีอํานาจ มีกําลังใจปรารถนาที่จะ

สัมฤทธิผ์ลในสิ่งตาง ๆ และตองการเกียรติยศชื่อเสียง

2.3 ความตองการเกี่ยวกับการใชอํานาจ การตอตาน การยอมแพ

2.4 ความตองการที่จะทําใหผูอ่ืนหรือตนเองบาดเจ็บ

2.5 ความตองการเกี่ยวกับความรักที่มีตอตนเองและตอผูอ่ืน

โธมัส (Thomas) แบงความตองการของมนษุยออกมาในรูปของความปรารถนา 4 อยาง คือ

1. ความปรารถนาที่จะมีความมั่นคงปลอดภัย

2. ความปรารถนาที่จะใหผูอ่ืนยอมรับ

3. ความปรารถนาที่จะไดรับการตอบสนองจากเพื่อน

4. ความปรารถนาที่จะมีประสบการณใหม ๆ

มาสโลว (Maslow,1954: 80) ไดกลาววา มนุษยมีความตองการหลายอยาง สามารถลําดับ

ขั้นความตองการเปน 5 ขั้น โดยเรียงจากต่ําสุดไปสูงสุด ดังนี้

1. ความตองการทางรางกาย (Physiological Needs) เปนความตองการพื้นฐานของ

มนุษยซึ่งจําเปนตอการดํารงชีวิตรางกาย และจําเปนตองไดรับการตอบสนองในชวงระยะสม่ําเสมอ

หากไมไดรับการตอบสนองรางกายก็จะดํารงชีวิตอยูไมได ความตองการในขั้นนี้ คือ

ปจจัย 4 ไดแก อาหาร ท่ีอยูอาศัย เครื่องนุงหม ยารักษาโรค

2. ความตองการความมั่นคงปลอดภัย (Security Needs) เมื่อรางกายไดรับการตอบสนอง

แลวก็ยังตองการไดรับความคุมครองเพื่อความม่ันคงปลอดภัย หนวยงานจึงตองสนองใหหลักประกันที่

ม่ันคงในการทํางาน

3. ความตองการสังคมหรือพวกพอง (Social or Belonging Needs) เปนความตองการที่

จะเขารวมและไดรับการยอมรับจากบุคคลอื่น ตองการความเปนมิตรและความรักของเพื่อนรวมงาน

Page 28: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

4. ความตองการไดรับการยกยองในสังคม (Esteem or Egoistic Needs) เปนความ

ตองการที่อยากจะเดนในสังคม มีผูคนเคารพนับถือ มีตําแหนงสูง ๆ ในองคกร

5. ความตองการความสําเร็จตามความนึกคิด (Self Actualization) คือ ความตองการที่จะ

แสดงความสามารถของตนใหเกิดผลสมบูรณดีเลิศ เชน ความมีช่ือเสียงของโลก

เม่ือมนุษยไดรับการตอบสนองในแตละขั้นแลวยอมทําใหเกิดความพึงพอใจ อันจะกอใหเกิด

ประสิทธิภาพในการทํางานอยางยิ่ง

นอกจากนั้นเฮิรชเบิรก (Herzberg,1959: 9) ไดเสนอการจูงใจผูปฏิบัติงานใหเกิดความพอใจ

ในการทํางาน เพื่อจะชวยเพ่ิมความสนใจและความกระตือรือรนในการทํางานมากขึ้น สงผลใหผลงาน

ในการผลิตสูงขึ้นดวย มีองคประกอบที่สําคัญ 2 ประการ

1. องคประกอบแหงความพอใจในงาน เรียกวา องคประกอบกระตุน (Motivator Factors)

ไดแก

1.1 ความสาํเร็จ (Achievement)

1.2 การยอมรับนบัถือ (Recognition)

1.3 ลักษณะของงาน (The Work Itself)

1.4 ความรับผิดชอบ (Responsibility)

1.5 ความกาวหนา (Advancement)

2. องคประกอบที่ปองกันไมใหเกิดความไมพึงพอใจในงาน เรียกวา องคประกอบค้ําจุน

(Maintenance Factors) หรือองคประกอบสุขภาพอนามัย (Hygiene Factors) ไดแก

2.1 นโยบายและการบริหารองคกร (Company Policy and Administration)

2.2 วิธีการปกครอง (Technical Supervision)

2.3 เงินเดือน (Salary)

2.4 การปกครองบังคับบัญชาสวนบุคคล (Interpersonal Supervision)

2.5 สภาวะการทํางาน (Working)

Page 29: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตอนที่ 3 แนวคิดเก่ียวกับสถาบันการศึกษาของกองทัพ : โรงเรียนนายเรืออากาศ

กองทัพหรือทหารถือไดวามีอิทธิพลทางการเมืองเหนือสถาบันอ่ืน ๆ เชน การจัดองคกรที่

เขมแข็ง การมีอาวุธ มีกําลังพล มีระเบียบวินัย รวมทั้งมีส่ือในความครอบครองทั้งวิทยุและโทรทัศน

เปนหนวยงานที่ประชาชนเห็นวามีเกียรติ มีศักดิ์ศรี มีอํานาจ และผูนําทหารมักมีสถานภาพสูงในสังคม

(สุจิต บุญบงการ, 2542: 4) มีสถาบันการศึกษาของตนเองเพื่อใหการฝกและศึกษา รวมทั้งถายทอด

ลักษณะความเปนทหาร (military socialization) จนมีความเปนชาตินิยม มีระเบียบวินัย มีความ

รับผิดชอบตอหนาที่ มีหนาที่โดยตรงในการปองกันประเทศ ซ่ึงถาระบบการศึกษาใดสอนใหคนนิยม

การ ปกครองแบบเจาขุนมูลนายก็จะทําใหความอนุรักษนิยมอยูตอไป แตถาสอนใหเด็กรูสึกวาจะ

เปน เจาคนนายคน เปนปญญาชนก็จะนําไปสูความเยอหยิ่งวาตนเหนือกวาผูอ่ืน ซ่ึงยากที่จะชวยให

ระบอบประชาธิปไตยเจริญเติบโตได (ลิขิต ธีรเวคิน, 2539: 87-90) โดยคายทหารมีลักษณะเปนชุมชน

คอนขางปด (relative closed community) คือ เปนสถาบันแบบเบ็ดเสร็จ มีลักษณะจํากัดเขตสถานที่

ท้ังชีวิตความเปนอยู สถานที่ทํางานและลักษณะหนาที่การงาน สามารถใชประโยชนจากเขตแดนที่ปด

สรางระเบียบวินัยที่เครงครัดอยางมีขั้นตอนใหแกผูที่เขาสูกระบวนการ เพ่ือลางแบบแผนพฤติกรรม

และคานิยมเกาใหพรอมรับส่ิงใหม ในระยะแรกผูเขาสูสถาบันจะไมไดรับอนุญาตใหติดตอกับโลก

ภายนอกชั่วคราวเปนเวลาหลายสัปดาห ตองเผชิญกับกฎเกณฑท่ีเขมงวด บังคับใหถือปฏิบัติแบบ

เดียวกันทั้งหมด เชน ตัดผมทรงเดียวกัน สวมเครื่องแบบที่ไมสวยสงา ถูกสั่งใหทํางานขั้นต่ํา ทําความ

สะอาดหองน้ําหองสวม จํากัดการผานเขาออกบริเวณตาง ๆ รวมทั้งการกิน การนอน จะถูกกําหนดตรง

ตามเวลา และมีการลงโทษผูฝาฝนอยางเด็ดขาด จนมีความเปนทหารที่มีระเบียบวินัยและพรอมทํา

การรบในที่สุด (Groffman, 1968 and Janowitz, 1971 อางถึงใน ดุสิต น้ําฝน, 2529: 3)

สถาบันการศึกษาหรือโรงเรียนถือวาเปนตัวแทนในการขัดเกลาทางสังคม ซ่ึงทําหนาที่ควบคู

ไปกับตัวแทนอื่น คือ ครอบครัวและกลุมเพื่อน โดยโรงเรียนทําหนาที่กลอมเกลาทางการเมือง 3 ทาง

คือ (พฤทธิสาณ ชุมพล, 2540: 77)

Page 30: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

1. โดยการจําลองรูปแบบสังคมการเมืองในรูปแบบของครู หัวหนาชั้น ซ่ึงแตละคนไดรับ

เลือกขึ้นมาแสดงบทบาท

2. โดยผานทางหลักสูตรการเรียนในวิชาตาง ๆ โดยตรง

3. โดยผานที่ไมไดเกิดขึ้นในการเรียนการสอนโดยตรง เชน เลนกีฬา การปลูกฝงใหเคารพ

กฎกติกา ซ่ึงจะเปนพื้นฐานในการที่จะเคารพกฎหมายในอนาคต การรูแพ-ชนะ

โรงเรียนนายเรืออากาศ เปนสถาบันการศึกษาของกองทัพอากาศที่เปดสอนในระดับปริญญา

ตรีเทียบเทาสถาบันในระดับอุดมศึกษา โดยเปาหมายในการจัดการศึกษา คือ การผลิตนายทหาร

สัญญาบัตรใหกับกองทัพอากาศ และมีความมุงหมายของหลักสูตร 7 ขอ ดังนี้ (โรงเรียนนายเรือ

อากาศ, 2545 : 3 - 4)

1. การศึกษาวิชาวิทยาการ มีความมุงหมายที่จะใหนักเรียนนายเรืออากาศมีความรูวิชา

วิทยาการในระดับปริญญาตรีดานวิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตรสาขาตาง ๆ เทียบเทาการศึกษา

ของสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งในและตางประเทศ และเสริมสรางใหมีคุณสมบัติเหมาะสม

ท่ีจะเปนนายทหารชั้นสัญญาบัตรของกองทัพอากาศ

2. การฝกอบรมวิชาทหาร มีความมุงหมายที่จะใหนักเรียนนายเรืออากาศมีความรูและ

ประสบการณในดานการทหารขั้นพื้นฐาน ตลอดจนถึงขั้นปฏิบัติงานเพื่อปฏิบัติหนาที่นายทหารชั้น

สัญญาบัตร และสรางเสริมความสํานึกในความรับผิดชอบตอหนาที่ เกียรติ วินัย ความจงรักภักดีตอ

ราชบัลลังก มีบุคลิกลักษณะเหมาะสมที่จะเปนผูบังคับบัญชาและผูนําทหาร

3. การฝกอบรมพลศึกษาและการกีฬา มีความมุงหมายที่จะใหนักเรียนนายเรืออากาศมี

รางกายแข็งแรงสมบูรณ มีความทรหดอดทน มีความวองไวและมีไหวพริบปฏิภาณในการแกปญหา

ตาง ๆ รวมทั้งใหรูจักคุณคาของกีฬา รูวิธีบริหารรางกายที่ถูกตองตามวิธีการ รูจักเลนเกมกีฬาเปนชุด

และมีน้ําใจนักกีฬา

4. การฝกอบรมความเปนผูนํา มีความมุงหมายใหนักเรียนนายเรืออากาศไดรับการฝกฝน

ตนเองในการปกครองบังคับบัญชา การปฏิบัติหนาที่ฝายอํานวยการ การบริหารงานหลายระดับ การ

ฝกดํารงวินัยลักษณะทหาร และการฝกความเปนผูนําและจิตวิทยาการนําทหาร

5. การฝกอบรมจริยศึกษา มีความมุงหมายที่จะใหอบรมจิตใจ ความประพฤติและอุปนิสัย

ของนักเรียนนายเรืออากาศใหถึงพรอมดวยคุณธรรมอันดีงาม รูจักประพฤติปฏิบัติตนในการเปน

Page 31: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ผูใตบังคับบัญชา และรูจักวางตนใหถูกตองเมื่อทําหนาที่ปกครองบังคับบัญชา มีหลักศีลธรรมในการ

ประพฤติปฏิบัติตน นอกเหนือจากการปฏิบัติตามกรอบของวินัยทหาร และใหยึดมั่นในเกียรติศักดิ์ของ

ตนเองและหมูคณะ

6. การฝกอบรมกิจกรรมพิเศษ มีความมุงหมายที่จะสงเสริมใหนักเรียนนายเรืออากาศได

แสดงความสามารถพิเศษ รวมทั้งอบรมใหรูจักวางตนและประพฤติตนถูกตองเหมาะสมในการเขา

สังคมโดยจัดในลักษณะของชมรม

7. การเสริมสรางประสบการณ มีความมุงหมายที่จะใหมีประสบการณกวางขวางไมเฉพาะ

แตวิชาที่ศึกษาหรือฝกอบรมในโรงเรียนนายเรืออากาศเทานั้น แตยังใหโอกาสศึกษาหรือสังเกตการ

ปฏิบัติงานของหนวยตาง ๆ ทั้งทางทหารและพลเรือน ราชการและเอกชนทั้งในและตางประเทศ โดย

จัดศึกษาภูมิประเทศ ดูงานหรือฝกปฏิบัติงานตามหนวยตาง ๆ รวมทั้งการฝกเดินอากาศไปยังประเทศ

ใกลเคียง

ผูที่สําเร็จการศึกษาดานวิทยาศาสตรไดรับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) ผูสําเร็จ

การศึกษาดานวิศวกรรมศาสตรจะไดรับปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) และไดรับการ

แตงตั้งยศเปน วาที่เรืออากาศตรี (โรงเรียนนายเรืออากาศ, 2545: 1 - 2)

1. หลักสูตรการศึกษา

หลักสูตรการศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศในป พ.ศ.2545 เปนหลักสูตร 4 ป โครงสราง

หลักสูตรประกอบดวย 7 ดาน มีรายละเอียดดังนี้ (โรงเรียนนายเรืออากาศ, 2545: 19 - 59)

1. การศึกษาวิชาวิทยาการ ยังคงกําหนดใหนักเรียนนายเรืออากาศชั้นปที่ 1 ศึกษาวิชา

พ้ืนฐานรวมกัน สวนชั้นปที่ 2 แยกเปน 8 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาวิศวกรรมอากาศยานและการบิน

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สาขาวิชาวิศวกรรม

อุตสาหการ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร สาขาวิชาคอมพิวเตอร และสาขาวิชาวัสดุศาสตร

กระบวนวิชาที่สอนแบงเปน 3 หมวดวิชา ดังนี้

1.1 หมวดวิชาพื้นฐานทั่วไป ไมนอยกวา 50 หนวยกิต ประกอบดวย 2 กลุมวิชา คือ

กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จํานวน 24 หนวยกิต ไดแก ภาษากับการสื่อสาร

ภาษาอังกฤษ 1-8 จิตวิทยาเบื้องตน สังคมวิทยา ไทยศึกษา กฎหมาย หลักรัฐศาสตร

Page 32: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

เศรษฐศาสตร การบริหารงาน และกลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและคอมพิวเตอรเบ้ืองตน

จํานวน 33 หนวยกิต

1.2 หมวดวิชาเฉพาะสาขา ไมนอยกวา 90 หนวยกิต ประกอบดวย 3 กลุมวิชา คือ

กลุมวิชาพ้ืนฐาน กลุมวิชาเฉพาะบังคับ และกลุมวิชาเฉพาะเลือก

1.3 หมวดวิชาทหาร รวมทั้งสิ้น 12 หนวยกิต มีการเปลี่ยนแปลงโดยจัดใหศึกษา

ต้ังแตชั้นปที่ 1 – 3 เทานั้น 2. การฝกอบรมวิชาทหาร การฝกอบรมวิชาทหารตลอด 4 ป ประมาณ 1,240 ช่ัวโมงหรือเทียบไดกับ 40 หนวยกิต

แบงออกไดดังนี้

การฝกทหารเบื้องตน รอยละ 11

การฝกหนาที่ครูฝก รอยละ 9

อาวุธศึกษา รอยละ 4

การฝกยิงปน รอยละ 8

ยุทธวิธีของหนวย รอยละ 4

การฝกกําลังกายกําลังใจ รอยละ 7

การฝกภาคสนาม รอยละ 19

การฝกโดดรมทางยุทธวิธี รอยละ 13

การฝกปองกันฐานบิน รอยละ 6

การฝกเดินอากาศ รอยละ 6

อบรมหลักสูตรผูบังคับหมวด รอยละ 8

การฝกทากระบี่ รอยละ 2

การฝกขับรถยนต รอยละ 3 3. การฝกอบรมความเปนผูนํา การฝกอบรมความเปนผูนํา เปนหลักสูตรที่ตองกระทําทั้งการอบรมและการปฏิบัติตลอด

4 ป โดยจัดออกเปน 2 หมวดวิชา ไดแก หมวดวิชาการปกครอง รอยละ 35 และหมวดวิชาความเปน

ผูนําและจิตวิทยาการนําทหาร รอยละ 55 นอกจากนั้นยังจัดใหมีการบรรยายพิเศษ รอยละ 10

สําหรับการฝกปฏิบัตินักเรียนนายเรืออากาศจะไดรับการฝกฝนตนเองในการปกครองบังคับบัญชา

Page 33: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

การปฏิบัติหนาที่ฝายอํานวยการ การฝกดํารงวินัยลักษณะทหาร การฝกความเปนผูนําและจิตวิทยา

การนําทหาร รวมทั้งการเขารวมพิธีกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณีทางทหาร เชน พิธีกระทําสัตย

ปฎิญาณตนตอธงชัยเฉลิมพล พิธีถวายสัตยปฏิญาณตนและสวนสนามของทหารรักษาพระองคและ

พิธีการสําคัญอ่ืน ๆ 4. การอบรมจริยศึกษา มีการจัดการอบรมตลอด 4 ป ไมมีการนับหนวยกิตโดยจําแนกชั่วโมงการอบรมดังนี้

ศาสนาทั่วไป รอยละ 6

ศาสนาเปรียบเทียบ รอยละ 16

ธรรมะ รอยละ 28

วัฒนธรรมและประเพณี รอยละ 18

พิธีกรรม รอยละ 17

มารยาทการสมาคม รอยละ 18 5. การฝกพลศึกษาและการกีฬา การฝกพลศึกษา กระทําตลอด 4 ป ไมมีการนับหนวยกิต โดยจําแนกชั่วโมงดังนี้

หมวดวิชาพลศึกษาบังคับ รอยละ 33

หมวดกีฬาเลือก รอยละ 58

การทดสอบสมรรถภาพรางกาย รอยละ 9 6. กิจกรรมพิเศษ

กิจกรรมพิเศษมิไดกําหนดแนวการฝกสอนและระยะเวลาเอาไวแนนอน แตไดจัดใหมีการ

ฝกและอบรมกิจกรรมพิเศษตาง ๆ เพ่ือสงเสริมการแสดงออกความรูความสามารถและประสบการณ

เฉพาะตนในอันที่จะกอประโยชนแกตนเองและสวนรวม ไดแก การเลนดนตรี การสรางเครื่องบินเล็ก

การเพาะกาย การลีลาศ การฝกพูดในโอกาสตาง ๆ การอบรมในการเขาสังคม การปฏิบัติตนในพิธี

การตาง ๆ โดยจะดําเนินเปนหมูคณะในลักษณะของชมรม 7. การเสริมสรางประสบการณ หลักสูตรการเสริมสรางประสบการณ จัดเพ่ือสงเสริมใหนักเรียนนายเรืออากาศมีความรู

กวางขวางขึ้น โดยจัดใหไปศึกษาการปฏิบัติงานของหนวยตาง ๆ ท้ังทางทหารและพลเรือน ราชการ

และเอกชน รวมทั้งการฝกเดินอากาศไปเยี่ยมชมกิจการทหารประเทศใกลเคียงนอกจากนั้นยังไดจัดให

Page 34: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

มีการเพิ่มพูนความรูและพัฒนาภาษาอังกฤษอยางตอเนื่อง โดยการจัดบรรยายพิเศษหรือการแขงขัน

เกี่ยวกับการใชภาษาอังกฤษ และการทดสอบมาตรฐานความรูภาษาอังกฤษโดยสถาบันที่มีการรับรอง

(TOFEL) 2. การคัดเลือกนักเรียนและบุคลากร

การคัดเลือกผูเขารับการศึกษาใชวิธีการสอบทางวิชาการ การตรวจรางกาย การสอบพลศึกษา

การทดสอบความถนัด และการสอบสัมภาษณ โดยรับสมัครปละ 100 คน ซ่ึงผูสมัครตองมีคุณสมบัติ

สรุปไดดังนี้

1. สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3

2. เปนชายโสดอายุระหวาง 14 - 17 ป

2. มีสัญชาติไทย และบิดามารดาผูใหกําเนิดตองมีสัญชาติไทย

4. มีอวัยวะ รูปราง ลักษณะทาทาง ขนาดของรางกายเหมาะสมแกการเปนทหาร

5. มีความประพฤติเรียบรอย ไมบกพรองในศีลธรรมอันดี

6. ไมเปนผูมีหนี้สินลนพนตัว

7. ไมเปนผูอยูในระหวางเปนผูตองหาหรือเปนจําเลยในคดีอาญา และไมเคยตองคําพิพากษาถงึ

ท่ีสุดใหจําคุก เวนแตความผดิในลักษณะฐานลหุโทษหรอืความผิดอันไดกระทาํโดยประมาท

8. ไมเปนผูที่เคยถูกใหออกจากจากโรงเรียน

9. ไมเปนผูที่ติดยาเสพติด

10. เปนผูไดรับอนุญาตจากบิดา มารดาหรือผูปกครอง

11. บิดา มารดา หรือผูปกครอง เปนผูมีอาชีพอันชอบธรรมหรือมีหลักฐานเชื่อถือได 3. โครงสรางการบริหาร

โครงสรางการบริหารในป พ.ศ.2545 มีการจัดสวนราชการตามอัตรา ทอ. ป พ.ศ.2539 โดย

จัดเปนหนวยขึ้นตรงตอกองบัญชาการฝกศึกษาทหารอากาศ สามารถเขียนเปนแผนภาพแสดงการจัด

สวนราชการไดดังนี้ (กองทัพอากาศ, 2539 : 1)

Page 35: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

แผนภาพที่ 2 แสดงการจัดสวนราชการของโรงเรียนนายเรืออากาศ พ.ศ.2545

กองบัญชาการฝกศึกษาทหารอากาศ

โรงเรียนนายเรืออากาศ

กองบัญชาการ กองบริการ กองสถิติและทะเบียน แผนกการเงิน

กองการศึกษา กรมนักเรียนนายเรือ กองวิชาทหาร

อากาศรักษาพระองค

ในสวนของการบริหารการศึกษามีรายละเอียดดังนี้ (โรงเรียนนายเรืออากาศ, 2545 : 10)

1. การศึกษาวิชาวิทยาการ มีกองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ เปนผูอํานวยการ

ควบคุมและจัดดําเนินงานการศึกษาในดานวิชาวิทยาการทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติใหเปนไปตาม

หลักสูตร โดยมีผูอํานวยการกองการศึกษาเปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ กองการศึกษายังไดแบง

ออกเปนกองวิชาตาง ๆ ไดแก กองวิชาวิศวกรรมศาสตร กองวิชาวิทยาศาสตร กองวิชาคณิตศาสตรและ

คอมพวิเตอร กองวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ในแตละกองวิชาประกอบดวยภาควิชาตาง ๆ อีก

และมีหัวหนาภาควิชาเปนผูรับผิดชอบ

2. การฝกอบรมวิชาทหาร มีกองวิชาทหาร โรงเรียนนายเรืออากาศ เปนผูวางแผนและ

ดําเนินการควบคุม กํากับดูแลการศึกษา การฝกอบรมวิชาทหารใหเปนไปตามหลักสูตร โดยมี

ผูอํานวยการกองวิชาทหาร เปนผูรับผิดชอบ

3. การฝกอบรมความเปนผูนํา การอบรมจริยศึกษา การฝกพลศึกษาและการกีฬา มีกรม

นักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองคเปนผูฝกอบรมความประพฤติ ระเบียบวินัย จิตวิทยาการนําทหาร

Page 36: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

การเสริมสรางสมรรถภาพรางกายและจิตใจแกนักเรียนนายเรืออากาศ โดยมีผูบังคับการกรมนักเรียน

นายเรืออากาศ เปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ

4. กิจกรรมพิเศษและการเสริมสรางประสบการณ มีกองการศึกษา กรมนักเรียนนายเรือ

อากาศรักษาพระองค และกองวิชาทหาร รวมกันรับผิดชอบดําเนินการควบคุมและกํากับดูแลการ

ดําเนินการกิจกรรมพิเศษและการเสริมสรางประสบการณ

นอกจากนัน้ยงัมีสภาโรงเรียนนายเรืออากาศทําหนาที่พิจารณาและเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับ

1. การกําหนดระเบียบแบบแผนที่เกี่ยวของกับการศึกษาและการปกครอง

2. การกําหนดหลักสูตรและปรับปรุงแกไขใหเหมาะสมอยูเสมอ

3. นโยบายและการกําหนดแนวการศึกษาของโรงเรียนใหเจริญยิ่งขึ้น

4. การกําหนดคุณสมบัติและหลักเกณฑการเขาเปนนักเรียน

5. การพิจารณาผลการศึกษา การฝกอบรมของแตละบคุคลและทาํการวิจัยเพื่อปรับปรุง

แกไขใหเหมาะสมในการรับราชการเปนนายทหารสัญญาบัตรของกองทัพอากาศตอไป

6. การพิจารณาสิทธิในการเขาสอบ การเลื่อนชั้น การเรียนซ้ําชั้น

7. การถอนทะเบียนและการไลออกจากความเปนนักเรียน

สภาโรงเรียนนายเรืออากาศ ประกอบดวย

1. ผูบัญชาการโรงเรียนนายเรืออากาศ เปนประธาน

2. รองผูบัญชาการโรงเรียนนายเรืออากาศ เปนรองประธาน

3. เสนาธิการโรงเรียนนายเรืออากาศ เปนกรรมการ

4. ผูอํานวยการกองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ เปนกรรมการ

5. ศาสตราจารยกองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ เปนกรรมการ

6. รองเสนาธิการโรงเรียนนายเรืออากาศ เปนกรรมการ

7. รองผูอํานวยการกองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ เปนกรรมการ

8. ผูบังคับกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองคฯ เปนกรรมการ

9. ผูอํานวยการกองวิชาทหาร โรงเรียนนายเรืออากาศ เปนกรรมการ

10. รองผูบังคับกรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองคฯ เปนกรรมการ

Page 37: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

11. หัวหนากองสถิติและทะเบียน โรงเรียนนายเรืออากาศ เปนกรรมการและ

เลขานุการ 4. การเรียนการสอน การเรียนการสอนในหลักสูตร พ.ศ.2545 ใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค (semester system)

มีการกําหนดเวลาการศึกษาในแตละปการศึกษาเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ คือ ภาคตนและภาคปลาย

นอกจากนี้ยังมีภาคฤดูรอนหรือภาคการฝก จัดเปนเวลาสําหรับการฝกอบรมวิชาทหาร ฝกยิงปน

ฝกราชการสนาม ชมกิจการทหารและการศึกษาภูมิประเทศ ดังนี้ (โรงเรียนนายเรืออากาศ, 2545: 9)

ภาคฤดูรอนหรือภาคการฝก เริ่มประมาณเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ไมนอยกวา 10–12

สัปดาห

ภาคตน เริ่มประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนสิงหาคม ไมนอยกวา 15 สัปดาห

ภาคปลาย เร่ิมประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม ไมนอยกวา 15 สัปดาห

5. การประเมินผล การประเมินผลการเรียนวิชาวิทยาการจะใหอาจารยหรือกรรมการดําเนินการวัดผลแลว

รายงานตอหัวหนาภาควิชาจนถึงผูอํานวยการกองการศึกษา โดยใชระบบลําดับขั้น (Grading

System) ใหคะแนนเปนอักษร A,B+,B,C+,C,D+,D,F ดังนี้ (โรงเรียนนายเรืออากาศ, 2545: 13)

ลําดับขั้น แตม ความหมาย

A 4.0 ดีมาก

B+,B 3.5,3.0 ดี

C+,C 2.5,2.0 พอใช

D+,D 1.5,1.0 ผาน

F 0 ตก

P 0 สอบกระบวนวิชาที่ไมมีหนวยกิตผาน

N 0 สอบกระบวนวิชาที่ไมมีหนวยกิตไมผาน

R 0 สอบแกตัวผาน

Page 38: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

การวัดผลการฝกอบรมวิชาทหารภาคฤดูรอน กําหนดไวโดยนักเรียนนายเรืออากาศแตละคน

ตองมีเวลาในการฝกอบรมไมนอยกวารอยละ 85 และตองไดคะแนนรวม รอยละ 60 ขึ้นไป จึงจะผาน

เกณฑ สวนการวัดผลการฝกอบรมความเปนผูนําและการอบรมจริยศึกษา ยังคงกําหนดไวเชนเดียวกับ

ในหลักสูตรที่ผานมา คือ ไมมีการนับหนวยกิตหรือใหคะแนนใหมีการประเมินคา พฤติกรรมเปนทั้ง

สวนรวมและสวนบุคคลดวยวิธีการทดสอบการปฏิบัติและการสังเกตการณ ผลการประเมินคา

พฤติกรรมจะเปนขอมูลในการพิจารณาการพัฒนาบุคลิกภาพ ความประพฤติและอุปนิสัย สําหรับการ

คัดเลอืกนักเรียนบังคับบัญชาและการจัดลําดับศิษยการบิน นักเรียนนายเรืออากาศที่ไดรับการประเมิน

คาดีเดนจะไดรางวัลการประกาศเกียรติคุณและการประดับเครื่องหมายแสดงความสามารถ คนที่มีผล

การประเมินคาต่ําและประพฤติเสื่อมเสียจะถูกลงโทษตัดคะแนนความประพฤติและลงทัณฑตาม

ระเบียบของทางราชการที่กําหนดไว ซึ่งจะมีผลตอการเลื่อนชั้นการศึกษาและสถานภาพความเปน

นักเรียนนายเรืออากาศโดยมีนายทหารปกครองเปนผูกวดขัน ควบคุมกํากับดูแล ความประพฤติและ

การปฏิบัติใหเปนไปตามระเบียบแบบธรรมเนียม ตามขอบเขตอํานาจหนาที่ที่กองทัพอากาศกําหนดให

การวัดผลการฝกพลศึกษาและการกีฬา กําหนดใหมีการวัดผลในระหวางการฝกและมีการทดสอบ

สมรรถภาพรางกายทุก ๆ 2 เดือน ผูที่สอบผานเกณฑจะตองมีเวลาเขารับการฝกไมนอยกวา รอยละ

85 และไดคะแนนรวมไมนอยกวา รอยละ 60 สวนการฝกอบรมดานกิจกรรมพิเศษและการเสริมสราง

ประสบการณน้ัน ไมมีการวัดผลเชนเดียวกับในหลักสูตรที่ผาน ๆ มา (โรงเรียนนายเรืออากาศ, 2541:

52 - 59)

ผูที่จะไดรับการเลื่อนชั้นการศึกษาและสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร พ.ศ.2545 จะตองมี

คุณสมบัติ ดังนี้

1. มีแตมเฉลี่ยสะสมของทุกกระบวนวิชาที่ตองศึกษา ไมตํ่ากวา 2.00

2. มีลําดับขั้นของแตละกระบวนวิชาที่ตองศึกษา ไมตํ่ากวา D

3. มีผลการศึกษา อบรมวิชาทหารและพลศึกษาในปการศึกษานั้นไดลําดับขั้น P

4. มีคะแนนความประพฤติ ในปการศึกษานั้น ไมตํ่ากวารอยละ 60

Page 39: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

หากมีคุณสมบัติไมครบตามที่กลาวมาหรือทุจริตในการสอบจะใหเรียนซ้ําชั้นได ช้ันละ 1 ป

การศึกษา เชนเดียวกับในหลักสูตรที่ผาน ๆ มา แตมีขอสังเกตวา ในหลักสูตร พ.ศ.2545 ไดกําหนด

เพิ่มเติมวาหากไดแตมเฉลี่ยสะสมนอยกวา 1.5 ตองถูกถอนทะเบียนโดยไมเสียคาปรับ (โรงเรียนนาย

เรืออากาศ, 2545: 15) นอกจากนั้นยังกําหนดดวยวา ผูท่ีสําเร็จการศึกษาถามีแตมเฉลี่ยสะสมไมตํ่า

กวา 3.50 ใหไดรับเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ถามีแตมเฉล่ียสะสมไมตํ่ากวา 3.25 ใหไดรับเกียรตินิยม

อันดับสองโดยระบุไวในปริญญาบัตร และนักเรียนนายเรืออากาศจะถูกถอนทะเบียนจากความเปน

นักเรียน เพราะเหตุดังนี้

1. ถึงแกกรรม

2. ปวย ซ่ึงคณะกรรมการแพทยของกองทัพอากาศไมนอยกวา 3 คน ลงความเห็นวาเปน

โรคที่ไมสามารถศึกษาตอไปได

3. เรียนชั้นใดชั้นหนึ่งเกินกวา 2 ป หรือศึกษาตามหลักสูตรเกินกวา 8 ป

4. ถูกตัดคะแนนความประพฤติเกินกวา 80 คะแนน ถึง 2 ปติดกันหรือในปเดียวกันถูกตัด

คะแนนความประพฤติเกินกวา 80 คะแนน และมีผลการศึกษาไมถึงเกณฑที่กําหนด หรือในปเดียวกัน

ถูกตัดคะแนนความประพฤติเกินกวา 120 คะแนน ตอนที่ 4 งานวิจัยที่เก่ียวของ

บุญชาติ พรหมพูล, ร.ท. (2520: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การเรียนรูทางการเมืองของ

นักเรียนนายเรืออากาศไทย โดยมีปญหานาศึกษา คือ ทําไมทหารจึงเขาไปกุมอํานาจทางการเมือง

ทําไมไมทําหนาที่ปองกันประเทศอยางเดียว โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาทัศนคติและวัฒนธรรมทาง

การเมืองของนักเรียนนายเรืออากาศ อันเกิดจากกระบวนการเรียนรูทางการเมืองที่เปนอยูในปจจุบนัวา

เปนรูปแบบใด เปนอุปสรรคหรือสงเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทยเพียงใด

ซ่ึงบรรดานักเรียนนายเรืออากาศเหลานี้ คือ ทหารกลุมใหมท่ีจะเปนกําลังของกองทัพอากาศในอนาคต

พบวา นักเรียนนายเรืออากาศมีทัศนคติทางการเมืองแบบอํานาจนิยมมากกวาประชาธิปไตย เปนกลุม

ท่ียอมรับอํานาจและนิยมการใชอํานาจ ลักษณะของอํานาจนิยมมาจาก ส่ิงแวดลอมหลายอยาง เชน

ระบบราชการของทหาร การเรียนการสอนในโรงเรียน ระบบการศึกษาของโรงเรียนที่เนนอํานาจนิยม

Page 40: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ทําใหนักเรียนนายเรืออากาศเคยชินกับระบบการใชอํานาจและยอมรับอํานาจ กอใหเกิดวัฒนธรรม

ทางการเมืองที่ไมสอดคลองกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย

ดุสิต น้ําฝน, ร.อ. (2529: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องการถายทอดลักษณะความเปนทหารกับ

การยึดมั่นตออาชีพ ศึกษากรณีนักเรียนนายเรืออากาศ พบวา ระยะเวลา 5 ปที่นักเรียนนายเรืออากาศ

ไดปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสูความเปนทหาร โดยการรับการศึกษาและฝกอบรมให มีความรู

ความสามารถทั้งดานวิชาการและภาคปฏิบัติ ไดแก การฝกอบรมวิชาทหารและความเปนผูนํา นับเปน

ระยะเวลาที่นานพอสมควรซึ่งนาจะถายทอดลักษณะความเปนทหารที่โรงเรียนสามารถพัฒนาและ

ปรับปรุงคุณภาพบุคคลไดตามความประสงคขององคกรทหารอยางเพียงพอที่จะกาวไปสูการเปนทหาร

ประจําการและมีคุณลักษณะพรอมมูล คือ มีความรับผิดชอบ มีวินัย เชื่อฟงคําสั่งและการบังคับบัญชา

เปนผูมีรางกายและจิตใจเขมแข็ง กลาหาญ ทรหดอดทน

ชัยศึก เกตุทัต, พล.ท. (2542: 223) ไดศึกษาเรื่อง การนําเสนอโครงสรางระบบอุดมศึกษา

ในสังกัดกระทรวงกลาโหมในอนาคต พบวา ระบบการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในสังกัด

กระทรวงกลาโหม หลักสูตรที่ใชบางหลักสูตรมีเนื้อหาสาระไมทันสมัย เมื่อเปรียบเทียบกับประมวล

ความรู ซึ่งกาวหนาไปอยางรวดเร็ว ความไมสอดคลองระหวางการศึกษากับการปฏิบัติภารกิจ

บทบาทและหนาที่ของกําลังพล ลักษณะการเรียนการสอนและการฝกเปนการสื่อสารทางเดียว ใชครู

เปนศูนยกลาง ผูเรียนจะทองจําเพียงอยางเดียว ไมมีการพัฒนาความคิด นอกจากนั้นอุปกรณ

การศึกษาเปนอุปกรณเกาอยูในสภาพทรุดโทรมและลาหลังโดยเฉพาะหองสมุดยังขาดหนังสือและ

เอกสารอางอิงทางวิชาการเปนจํานวนมาก และไดกลาวถึงบัณฑิตที่ สําเร็จการศึกษาจาก

สถาบันอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวงกลาโหมในอนาคต ควรมีลักษณะของความเปนเลิศในการเปน

ผูนําทั้งในประเทศและในภูมิภาคดวยการมีคุณสมบัติ ดังนี้

1. เปนนายทหารนักพัฒนาและเปนนักประชาธิปไตย ที่มีความรูความสามารถในสาขา

วิชาชีพเฉพาะการทหารความมั่นคงของชาติ รูจักการพัฒนาเพ่ิมเติมความรูใหมีคุณภาพเปนเลิศใน

ทุก ๆ ดานและอยางตอเนื่อง เพ่ือใหเปนที่ยอมรับในสังคมไทยและสังคมโลก มีระเบียบวินัย ขยัน

ขันแข็ง ประหยัด มีความสํานึกในภารกิจของชาติและสังคม ไมเอาเปรียบผูอ่ืน ไมคิดฉอราษฎร

Page 41: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

บังหลวง เขาใจสงครามที่ใชอาวุธยุทโธปกรณ สงครามมวลชน สงครามที่ชนะจิตใจและแนวคิดของคน

สงครามตอสูกับความยากจน

2. เปนนายทหารที่รูเรื่องของคนและความเปนมนุษยใหมากขึ้น สามารถนํามาปรับตัวเม่ือ

ตองเผชิญกับความเปนจริงในสังคมทุกระดับ

3. เปนผูมีวินัยทหารและเปนตัวอยางแกประชาชนกลุมอ่ืน ๆ ไดเพราะทหารมีคุณลักษณะ

พิเศษที่เปนจุดแข็ง คือ ความมีระเบียบวินัยและเขมแข็ง

4. เปนบุคลากรที่มีความเปนสุภาพบุรุษและมีความเปนสุภาพสตรีหรือกุลสตรี มีความ

อดทน อดกลั้น ขันติ มานะพยายามอยางสูงสุด

5. มีความสามารถในการสนองตอบภาระหนาที่บทบาทของกําลังทหารที่มีปรากฎใน

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ดังนั้นตองมีทักษะในดานวิชาการ (academic) อยางเปนเลิศใน

ทุกดาน เชน ศิลปศาสตร วิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตร การบริหารและการจัดการ โดยเฉพาะใน

สาขาวิชาการทหาร

6. เปนนายทหารอาชีพ ท่ีมีจรรยาบรรณในสาขาวิชาชีพการทหารอยางพรอมมูล

อัครชัย สกุลรัตนะ, พล.อ.ต. (2537: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง การปลูกฝงอุดมการณทาง

การเมือง (ในระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข) ของกองทัพอากาศ พบวา กองทัพ

เปนองคกรที่ดีที่สุดในการฝกคนใหมีระเบียบวินัยและอุดมการณ โดยเฉพาะอยางยิ่งกองทัพอากาศ

ซ่ึงเปนกองทัพเทคโนโลยี การพัฒนาคนจึงเปนเรื่องจําเปนเพื่อรองรับภารกิจที่จะตองใชยุทโธปกรณอัน

ทันสมัยและซับซอนเหลานั้น กลุมเปาหมายของการพัฒนาอันดับแรกก็คือ กําลังพลทั้งหมดของ

กองทัพเอง ดวยการพัฒนาทั้งคุณภาพในการปฏิบัติงานและจรรยาบรรณในวิชาชีพที่สมบูรณ

หลังจากนั้นสามารถขยายผลการพัฒนาไปสูครอบครัวและมวลชน เพื่อปลูกฝงอุดมการณ

ประชาธิปไตยที่ยั่งยืนและเปนประชาธิปไตยในฐานะวิถีชีวิตที่เหมาะสมกับความเปนไทย กระบวนการ

กลอมเกลาและเรียนรูทางการเมือง ซ่ึงเปนทฤษฎีของชาติตะวันตกที่มุงใหความรูและปลูกฝงทัศนคติ

คานิยม เพื่อใหประชาธิปไตยมีพฤติกรรมทางการเมืองและดําเนินชีวิตในวิถีทางประชาธิปไตย ไม

เพียงพอสําหรับการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศ คนไทยยังขาดความพรอมทางการเมืองยังไม

เขาใจอุดมการณประชาธิปไตยจริงหรือเพียงแตมีความรูความเขาใจ แตยังไมยอมรับนําไปประพฤติ

ปฏิบัติในชีวิตความเปนอยู จึงเปนผลใหการพัฒนาประชาธิปไตยตองลมลุกคลุกคลานมาตลอด 60 ป

Page 42: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ท่ีผานมา ประชาธิปไตยของเราจึงพัฒนาไดเฉพาะรูปแบบและพิธีกรรมทางการเมือง แตสถานการณ

ปจจุบันอันเปนยุคสังคมขาวสาร ระเบียบโลกใหมภายหลังการลมสลายของสหภาพโซเวียตนั้น

ประชาธิปไตยเปนมตินิยมของนานาชาติ ทําใหไมมีโอกาสเลือกอ่ืน ตองพัฒนาใหประชาธิปไตยใน

บานเมืองของเราเปนประชาธิปไตยที่ยั่งยืนและเปนประชาธิปไตยที่เหมาะสมกับความเปนไทย ภูมิ

ปญญาไทย และสอดคลองกับวัฒนธรรมจารีตประเพณีของคนไทย การปลูกฝงอุดมการณ

ประชาธิปไตยจะตองเริ่มตนจากเตรียมความพรอมของคนทั้งในดานสติปญญา สุขภาพจิต และ

ประสบการณสังคม ตามทฤษฎี ตนไมจริยธรรมของคนไทย ซ่ึงระบุวาการปลูกฝงทัศนคติ คานิยม

อุดมการณประชาธิปไตย ใหเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเปนที่พึงปรารถนาตางๆ สามารถทําไดดวย

การพัฒนาลักษณะจิตใจที่สําคัญของคนไทย ฉะนั้นทฤษฎีนี้ ก็คือหลักการในการพัฒนาคนไทย

โดยเฉพาะ ดวยการมุงไปพัฒนาดานจิตใจของคนเปนหลัก มิใชการอบรมสั่งสอนเพียงเพื่อใหมีความรู

ความเขาใจเทานั้น กองทัพอากาศมีบุคลากร สถานที่ ส่ิงอํานวยความสะดวกตาง ๆ พรอมมูลที่จะ

ดําเนินงานการปลูกฝงอุดมการณประชาธิปไตยใหกับขาราชการ ครอบครัว และประชาชนทั่วไป จะ

ขาดก็แตเพียงผูจัดการทําหนาที่ อํานวยการ ประสานงานใหงานลุลวงไปอยางมีประสิทธิภาพเทานั้น

ณพดล ชาวไทย, น.ท. (2543: 35) ไดศึกษาเรื่อง ทัศนคติของนักเรียนมัธยมศึกษา ช้ันปที่ 4

และผูปกครองตอการเขาศึกษาในสถาบันการศึกษาทางทหาร พบวา นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปท่ี 4 มี

ทัศนคติทางบวกตออาชีพรับราชการทหาร ไดแก การไดรับการยกยองจากสังคม ครอบครัวมีความสุข

สบาย ไดทําประโยชนแกสังคม มีความมั่นคงในอาชีพ มีโอกาสสรางชื่อเสียงแกวงศตระกูล มีโอกาส

ศึกษาตอและเปนที่พึ่งของบิดามารดา และมีทัศนคติในทางลบ ไดแก รูสึกดอยกวาเพ่ือนรวมรุนเพราะ

ทํางานไมคุมคาตอบแทน ลักษณะงานไมเปนอิสระ และไมสามารถกําหนดเปาหมายและวิธีการ

ปฎิบัติงานเองได สวนผูปกครองมีทัศนคติวา อาชีพทหารไดรับการยกยองจากญาติมิตรและเพื่อนฝูง

ครอบครัวมีความสุขสบาย มีความภูมิใจที่ไดทํางานเปนประโยชนโดยตรงแกสังคม และมีโอกาสสราง

ช่ือเสียงแกวงศตระกูล นอกจากนั้นยังพบอีกวา นักเรียนมีทัศนคติขัดแยงกับผูปกครอง ซ่ึงนักเรียนให

ความสําคัญกับเรื่องรายไดแตผูปกครองใหความสําคัญกับเรื่องเกียรติ ศักดิ์ศรี และความมั่นคงในชีวิต

นักเรียนที่มีสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัวดีไมนิยมเขารับราชการทหารดวยเหตุผลเร่ือง

คาตอบแทน

Page 43: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

อริยะ สหชาติโกสีย, น.ต. (2542: 38) ไดศึกษาเร่ือง ทัศนคติของบุคคลภายนอก

กองทัพอากาศที่มีตอภาพพจนของกองทัพอากาศในยุคปจจุบัน พบวา บุคคลภายนอกกองทัพอากาศ

ในเขตที่มีฐานทัพอากาศ พึงพอใจตอภาพพจนของกองทัพอากาศมาก สวนบุคคลภายนอกที่อยูในเขต

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พึงพอใจตอภาพพจนของกองทัพอากาศนอยทั้งเรื่องทั่ว ๆ ไปและเรื่อง

บทบาทของกองทัพอากาศ โดยคนที่มีวุฒิการศึกษาต่ํากวาชั้นมัธยมมีความพึงพอใจมากกวาคนที่มี

การศึกษาสูง และคนที่มีอาชีพสวนตัวมีความพึงพอใจดีกวาคนที่มีอาชีพรับราชการ อํานวย สาตรเพ็ชร, พ.ท. (2542: 36) ไดศึกษาเรื่อง ความคิดเห็นของนายทหารสัญญาบัตร

ระดับตนกับนักเรียนเตรียมทหารเกี่ยวกับการปกครองแบบประชาธิปไตย พบวา ระบบการบังคับ

บัญชาของทหารเปนระบบที่สอนใหรูจักระเบียบวินัย รูจักอดทน รูจักการปฏิบัติตามคําสั่งของ

ผูบังคับบัญชา มีระบบอาวุโส เปนระบบเผด็จการไมใชประชาธิปไตย เนื่องจากการปฏิบัติงานของ

ทหารมักอยูในรูปแบบของคําสั่ง ซ่ึงยากตอการหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธ คําสั่งจึงเปนของคูกับทหารถึงขั้น

มีคําเปรียบเปรยวา “คําสั่งของผูบังคับบัญชาคือพรจากสวรรค” นอกจากนั้นไดเสนอแนะวา การสราง

ประชาธิปไตยตองเปดโอกาสใหผูใตบังคับบัญชาทุกระดับช้ัน มีสวนรวมในการแกปญหาหรือ

สรางสรรคหนวยงาน การสรางผูนําโดยหลักการของประชาธิปไตยตอง ปลูกฝงโดยเปดโอกาสให

แสดงออกในกิจกรรมตาง ๆ ทั้งในและนอกโรงเรียน ตลอดจนสอดแทรกระบบประชาธิปไตยให

สอดคลองกับหนวยงาน เชน อาจเรียกผูใตบังคับบัญชาเขาไปสอบถามความสมัครใจในการออกคําสั่ง

และอธิบายใหเขาใจในการสั่งการ

Page 44: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การศึกษาวิจัยเรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ ใชการ

วิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) นักเรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ไดแก โรงเรียนฤทธิยะ-

วรรณาลัย โรงเรียนหอวัง โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย และโรงเรียนประจวบ

วิทยาลัย มีรายละเอียดในการดําเนินการวิจัยดังนี้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

วิธีการเลือกกลุมตัวอยางใชวิธีการสุมอยางงาย (Simple random sampling) โดยการ

จับฉลากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 มาโรงเรียนละ 100 คน หรือคิดเปนประมาณรอยละ 15

เนื่องจากประชากรมีจํานวนเปนหลักรอย (นิภา ศรีไพโรจน, 2527: 79) ดังแสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 แสดงจํานวนประชากรและกลุมตัวอยาง

โรงเรียน ประชากร (คน) กลุมตัวอยาง (คน)

โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย

โรงเรียนหอวัง

โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย

โรงเรียนประจวบวิทยาลัย

852

742

540

375

450

100

100

100

100

100

Page 45: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

รวม 2,759 500

2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช คือ แบบสอบถาม โดยผูวิจัยไดรางแบบสอบถามปลายปดตามประเด็น

การศึกษา ซึ่งแบบสอบถามนี้แบงออกเปน 2 สวน ไดแก (ดูรายละเอียดในภาคผนวก)

สวนที่ 1 เปนขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

สวนที่ 2 เปนคําถามปลายปดแบบมาตราสวน (rating scale) 5 สเกล ตามแบบของลิเคอรท

สเกล (Likert Scale) เกี่ยวกับความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรยีนนายเรืออากาศ ดังนี ้

1 หมายถึง มีความสนใจนอยที่สุด

2 หมายถึง มีความสนใจนอย

3 หมายถึง มีความสนใจปานกลาง

4 หมายถึง มีความสนใจมาก

5 หมายถึง มีความสนใจมากที่สุด 3. การตรวจสอบเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

ผูวิจัยนําแบบสอบถามที่รางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 คน ตรวจสอบเพื่อดูความเที่ยงตรง

(validity) หลังจากนั้นนําแบบสอบถามไปทดลองใช (try out) กับกลุมตัวอยาง 30 คน เพื่อหาความ

เชื่อมั่น (reliability) โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร SPSS หาสัมประสิทธิ์อัลฟา (Alpha Coefficient)

ซ่ึงผลการวิเคราะหไดคาสัมประสิทธิ์อัลฟาหรือคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม เทากับ 0.8588

คาความเชื่อมั่นดังกลาว อยูในเกณฑสูง แสดงวาแบบสอบถามนี้สามารถนําไปใชเก็บรวบรวมขอมูล

เพื่อการศึกษาครั้งนี้ได

Page 46: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

4. การเก็บรวบรวมขอมูล

ผูวิจัยไดทําหนังสือขอความรวมมือไปยังผูอํานวยการโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย โรงเรียนหอวัง

และทําหนังสือถึงผูบังคับการกองบิน 23 กองบิน 41 กองบิน 53 ใหชวยดําเนินการแจกแบบสอบถาม

กับกลุมตัวอยางในโรงเรียนอุดรพิทยานุกูล โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย และโรงเรียนประจวบวิทยาลัย

ในสวนของโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัยและโรงเรียนหอวังไดรับแบบสอบถามคืนคอนขางนอย และไดรับ

แบบสอบถามคืนมาทั้งหมดทุกโรงเรียนจํานวน 407 ชุด คิดเปนรอยละ 81.4 ดังรายละเอียดตาม

ตาราง ท่ี 3 ตารางที่ 3 แสดงจํานวนแบบสอบถามคืนที่ไดรับคืน

โรงเรียน จํานวนทีไ่ดรับคืน (ชุด) รอยละ

โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย

โรงเรียนหอวัง

โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย

โรงเรียนประจวบวิทยาลัย

55

68

89

98

97

55.0

68.0

89.0

98.0

97.0

รวม 407 81.4

5. การวิเคราะหขอมูล

การวิ เคราะหขอมูลเชิงปริมาณจากแบบสอบถาม ใชคาสถิ ติ พ้ืนฐาน คือ คารอยละ

(Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นอกจากนั้นใช

การแจกแจงคาที (t-test) เพ่ือทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของประชากร 2 กลุมที่เปนอิสระ

Page 47: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตอกัน ไดแก ที่ต้ังของโรงเรียนในกรุงเทพฯกับตางจังหวัด เพศ และใชการวิเคราะหความแปรปรวนแบบ

ทางเดียว (One-Way ANOVA) เพื่อทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉล่ียของประชากรมากกวา

2 กลุมที่เปนอิสระตอกัน ไดแก ท่ีต้ังของแตละโรงเรียน ผลการศึกษาสะสม อาชีพบิดา อาชีพมารดา

รายไดครอบครัว วามีความสนใจแตกตางกันหรือไม ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 โดยใชโปรแกรม

SPSS ในสวนขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามปลายเปดใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

ในสวนคาเฉลี่ย (Mean) ของคําตอบในแตละขอคําถามที่คํานวณได นํามาแปลผลตามเกณฑ

ท่ีกําหนดไว ดังนี้

คาเฉลี่ยต่ํากวา 1.50 หมายถึง กลุมตัวอยางมคีวามสนใจนอยที่สุด

คาเฉลี่ยตั้งแต 1.50 – 2.49 หมายถึง กลุมตัวอยางมคีวามสนใจนอย

คาเฉลี่ยตั้งแต 2.50 – 3.49 หมายถึง กลุมตัวอยางมคีวามสนใจปานกลาง

คาเฉลี่ยตั้งแต 3.50 – 4.49 หมายถึง กลุมตัวอยางมคีวามสนใจมาก

คาเฉลี่ยตั้งแต 4.50 ขึ้นไป หมายถึง กลุมตัวอยางมคีวามสนใจมากที่สุด

Page 48: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

บทที่ 4

ผลการวิจยั

จากการสํารวจความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ ผูวิจัยขอ

นําเสนอผลการวิจัยออกเปน 5 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

ตอนที่ 2 ความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

ตอนที่ 4 ปจจัยที่ผลตอความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

ตอนที่ 5 แนวทางในการสรางความสนใจใหเยาวชนเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ

Page 49: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·
Page 50: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตอนที่ 1 ขอมูลทัว่ไปของผูตอบแบบสอบถาม

ผูตอบแบบสอบถามกําลังศึกษาอยูในระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนมงฟอรต โรงเรียน

ประจวบวิทยาลัย และโรงเรียนอุดรพิทยานุกูล จํานวน 98 คน 97 คน และ 89 คน คิดเปนรอยละ 24.08

23.83 และ 21.87 ตามลําดับ สวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 303 คน รอยละ 74.60 มีผลการศึกษา

สะสมตั้งแต 3.50 – 4.00 จํานวน 95 คน รอยละ 23.60 บิดามีอาชีพธุรกิจสวนตัว/คาขาย จํานวน

136 คน รอยละ 33.60 มารดามีอาชีพธุรกิจสวนตัว/คาขาย จํานวน 172 รอยละ 42.60 และมีรายได

ครอบครัวเฉลี่ยตอเดือนตั้งแต 10,001 - 30,000 บาท จํานวน 205 คน รอยละ 50.50 ดังมีรายละเอียด

ตามตารางที่ 4

ตารางที่ 4 แสดงขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

ขอมูลทัว่ไป จํานวน (คน) รอยละ โรงเรียน โรงเรียนฤทธยิะวรรณาลัย

โรงเรียนหอวงั

โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล

โรงเรียนมงฟอรต

โรงเรียนประจวบวิทยาลัย เพศ ชาย

หญิง ผลการศึกษาสะสม ตํ่ากวา 2.00

ต้ังแต 2.00 - 2.49

ต้ังแต 2.50 - 2.99

ต้ังแต 3.00 - 3.49

ต้ังแต 3.50 - 4.00

55

68

89

98

97

303

103

94

75

78

60

95

13.51

16.71

21.87

24.08

23.83

74.60

25.40

23.40

18.70

19.40

14.90

23.60

Page 51: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตารางที่ 4 (ตอ)

ขอมูลทัว่ไป จํานวน (คน) รอยละ อาชีพบิดา ขาราชการทหาร-ตํารวจ

ขาราชการพลเรือน

พนักงานรัฐวสิาหกจิ

พนักงานบรษิทัเอกชน

ธุรกิจสวนตัว/คาขาย

เกษตรกรรม

อ่ืน ๆ อาชีพมารดา ขาราชการทหาร-ตํารวจ

ขาราชการพลเรือน

พนักงานรัฐวสิาหกจิ

พนักงานบรษิทัเอกชน

ธุรกิจสวนตัว/คาขาย

เกษตรกรรม

อ่ืน ๆ รายไดครอบครัว (เฉล่ียตอเดือน) นอยกวา 10,000 บาท

ต้ังแต 10,001 - 30,000 บาท

ต้ังแต 30,001 - 50,000 บาท

มากกวา 50,000 บาท

55

59

44

37

136

24

50

8

72

14

31

172

20

87

63

205

95

43

13.60

14.60

10.90

9.10

33.60

5.90

12.30

2.00

17.80

3.50

7.70

42.60

5.00

21.50

15.50

50.50

23.40

10.60

รวม 407 100.00

Page 52: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตอนที่ 2 ความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

จากการสํารวจความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ พบวา กลุม

ตัวอยางสวนใหญไมมีความสนใจที่จะเขาศึกษา จํานวน 251 คน คิดเปนรอยละ 62.10 ในขณะที่มี

เยาวชนใหความสนใจเขาศึกษา จํานวน 153 คน รอยละ 37.90 โดยมีความสนใจที่จะเขาศึกษาใน

โรงเรียนนายเรืออากาศ อยูในระดับปานกลาง แตมีความสนใจที่จะเขาศึกษาตอในสถาบันอุดมศึกษา

อ่ืน ๆ อยูในระดับมาก ดังมีรายละเอียดตามตารางที่ 5

ตารางที ่5 แสดงความสนใจในการเขาศึกษาในสถาบนัการศึกษาตาง ๆ

ความสนใจในการเขาศึกษา X S.D. เกณฑ

โรงเรียนนายเรืออากาศ

โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา

โรงเรียนนายเรือ

โรงเรียนนายรอยตํารวจ

สถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ

2.93

2.94

2.59

2.87

3.74

1.30

1.27

1.15

1.29

1.23

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

มาก

นอกจากนั้นกลุมตัวอยางที่ไมมีความสนใจเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศมีความคิดเห็น

เพิ่มเติมวา ไมใชอาชีพที่ใฝฝน ไมชอบขึ้นเครื่องบินเพราะกลัวความสูง ไมชอบอาชีพทหารเพราะ

ลําบาก บางคนไมชอบเพราะเห็นวาทหารชอบใชอํานาจ เจาชู ตองปฎิบัติตามกฎ ปฏิบัติตามคําสั่งของ

ผูอ่ืน อีกทั้งมีกฎระเบียบมากเกินไป ไมมีเวลาวาง ไดเงินเดือนนอย เปนอาชีพที่ตองเสี่ยงภัยมาก

มีความทาทายไมเหมือนกับอาชีพอื่น ๆ จะตองทํางานรวมกับเคร่ืองจักร อาจจะมีขอผิดพลาดเกิดขึ้น

ไดทุกเมื่อ จึงมีความตองการไปประกอบอาชีพอ่ืนมากกวา ในขณะที่บางคนไมสนใจเพราะมีรูปราง

หรือรางกายที่ไมเหมาะสม เชน รางกายไมแข็งแรง สายตาสั้น วายน้ําไมเปน ไมมีความอดทนพอ

บางคนคิดวาไมสามารถสอบเขาได เนื่องจากสมองไมดี กลัวสอบสูคนอื่นไมได เพราะการสอบยาก

มาก สถานที่เรียนและการไปสอบคัดเลือกไกลบาน ตองเสียคาใชจายจํานวนมากพอและโอกาสติดก็มี

นอยมาก ในสวนของนักเรียนหญิงที่ไมมีความสนสนใจเพราะคิดวาเปนอาชีพที่ผูหญิงไมนิยม ไมรูวา

Page 53: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

จบไปแลวจะไปทําอะไร เปนงานของผูชาย ตองฝกหนักลําบาก และผูหญิงมีความคลองตัวนอยกวา

ผูชาย นอกจากนั้นยังมีความคิดเห็นวาการเขาศึกษามีขั้นตอนที่ยุงยาก มีการสอบสมรรถภาพ สําหรับ

กลุมตัวอยางที่มีความสนใจเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศมีความคิดเห็นเพ่ิมเติมวา อยาก

รับราชการเปนนายคน เปนอาชีพที่ใฝฝน มีความมั่นคง เมื่อเรียนจบแลวมีงานทํา มีความสงาผาเผย

มีเกียรติยศและศักดิ์ศรี สรางชื่อเสียงแกตนเอง วงศตระกูลและครอบครัว ไดรับใชประเทศชาติหรือ

ทําใหประเทศสงบสุข ทําใหพอแมดีใจและสบายใจ เปนอาชีพสุจริต มีคนยกยอง นอกจากนั้นบางคน

คิดวา ทหารอากาศมีโอกาสไดรับใชชาติในการทําสงครามมากกวาเหลาอ่ืน ๆ โรงเรียนนายเรืออากาศ

เปนโรงเรียนที่ดี มีชื่อเสียง มีระบบการศึกษาดีจะทําใหไดรับการศึกษาที่ดี มีความรูที่ดี อีกทั้งการเรียน

ในโรงเรียนทหารยังไดฝกรางกายและความอดทน ทําใหรางกายเขมแข็ง มีบุคลิกภาพดี มีระเบียบวินัย

เปนที่ยอมรับในหมูประชาชน ตลอดจนเปนโรงเรียนที่มีความทาทายและนาตื่นเตน บางคนอยากเปน

นักบินและเห็นวามีเครื่องแบบที่สวยงาม มีเงินเดือนและคาตอบแทนสูง ในสวนของนักเรียนหญิง

บางคนคิดวา นาจะใหผูหญิงไดเรียนบางเพราะอยากเปนนักบิน อยางไรก็ตามกลุมตัวอยางไดเสนอให

มีการโฆษณาประชาสัมพันธเกี่ยวกับโรงเรียนนายเรืออากาศใหรูกันทั่วประเทศมากกวานี้ มีขอสังเกต

วาจากการตอบแบบสอบถามปลายเปด มีนักเรียนบางคนคิดวาโรงเรียนนายเรืออากาศเมื่อเรียนจบ

แลวจะเปนทหารเรือ

Page 54: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตอนที่ 3 ความคิดเหน็ของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรยีนนายเรืออากาศ

กลุมตัวอยางสวนใหญมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศในเรื่อง

ตาง ๆ อยูในระดับมาก จํานวน 20 ขอ และมีความคิดเห็นอยูในระดับปานกลาง จํานวน 1 ขอ ดังมี

รายละเอียดตามตารางที่ 6

ตารางที ่6 แสดงความคิดเห็นในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

ความคิดเหน็ในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ X S.D. เกณฑ

1.เปนสถาบันที่มีชื่อเสียง

2.มีเครื่องแบบที่สงางาม

3.มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

4.ทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาต ิ

5.ไดรับการยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม

6.สรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

7.มีโอกาสไดเปนนักบิน

8.มีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

9.มีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับท่ีสูงขึ้น

10.มีความมั่นคงในอาชีพ

11.มีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ

12.ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

13.มีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงาน

14.ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ

15.ตองอยูในระเบียบวินัยที่เครงครัด

16.ตองอยูในระบบอาวุโส

17.ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

18.มีการปกครองบังคับบัญชาหรือส่ังการที่เนนการใชอํานาจ

19.มีคุณสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อาย ุ

20.มีจํานวนการรับเขาศึกษาในแตละปที่จํากัด

21.มีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก

3.76

4.05

4.28

4.24

4.07

4.24

3.87

4.25

4.14

4.31

4.04

4.04

3.67

3.90

3.93

3.62

4.03

3.68

3.66

3.82

3.49

1.01

1.01

0.87

0.88

0.94

0.92

1.12

0.88

0.90

0.92

0.95

0.97

1.04

1.09

1.13

1.12

1.04

1.09

1.15

1.06

1.30

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

มาก

ปานกลาง

Page 55: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตอนที่ 4 ปจจัยที่ผลตอความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

ปจจัยที่ผลตอความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ โดยทดสอบ

จากที่ต้ังของโรงเรียน เพศ ผลการศึกษาสะสม อาชีพบิดา อาชีพมารดา และรายไดครอบครัว วามีผล

ตอความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศหรือไม มีรายละเอียดดังตอไปนี้

Page 56: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

1. ที่ตั้งของโรงเรียน

ตารางที ่7 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางโรงเรียนที่ตั้งอยูในพื้นที่ตางกัน

รร.ฤทธิยะฯ รร.หอวัง รร.อุดรพิทยา รร.ประจวบฯ รร.มงฟอรต ความคิดเห็น X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D.

F

ความสนใจในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

เปนสถาบันที่มีชื่อเสียง

มีเครื่องแบบที่สงางาม

มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

ทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

ไดรับการยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม

สรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

มีโอกาสไดเปนนักบิน

มีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

มีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น

มีความมั่นคงในอาชีพ

มีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ

ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

มีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงาน

ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ

2.94

3.76

4.00

4.16

4.07

4.11

4.40

3.87

4.52

4.18

4.40

4.02

4.05

3.76

3.93

1.41

0.88

1.05

0.90

0.81

0.90

0.81

1.12

0.61

0.82

0.85

0.93

1.08

1.04

0.90

2.74

3.56

3.91

4.20

3.97

3.85

4.00

3.62

4.09

4.05

4.14

3.86

4.00

3.74

3.61

1.21

0.99

1.10

0.85

0.97

0.89

1.02

1.20

1.02

0.98

1.04

0.96

0.98

0.90

1.08

3.13

4.03

4.11

4.28

4.24

4.19

4.18

3.89

4.30

4.22

4.41

4.15

4.03

4.84

3.97

1.28

0.99

1.09

0.97

0.98

1.00

1.05

1.12

0.89

0.90

0.83

0.93

1.02

1.08

1.13

3.03

3.86

4.23

4.37

4.49

4.13

4.32

4.08

4.41

4.37

4.47

4.26

4.13

3.84

3.83

1.32

0.94

0.82

0.75

0.75

0.90

0.79

1.08

0.83

0.79

0.83

0.85

0.94

0.96

1.17

2.77

3.57

3.94

4.31

4.28

4.01

4.28

3.81

4.01

3.90

4.12

3.85

3.99

3.26

4.08

1.27

1.13

1.03

0.89

0.83

0.96

0.87

1.09

0.89

0.92

1.02

1.01

0.92

1.06

1.07

1.36

3.42*

1.55

0.67

4.17*

1.53

1.85

1.76

4.65*

3.86*

2.72*

3.21*

0.32

5.50

2.08

Page 57: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตารางที ่7 (ตอ)

รร.ฤทธิยะฯ รร.หอวัง รร.อุดรพิทยา รร.ประจวบฯ รร.มงฟอรต ความคิดเห็น X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D.

F

ตองอยูในระเบียบวินัยที่เครงครัด

ตองอยูในระบบอาวุโส

ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

มีการปกครองบังคับบัญชาหรือสั่งการที่เนนการใชอํานาจ

มีคณุสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อาย ุ

มีจํานวนการรับเขาศึกษาในแตละปที่จํากัด

มีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลอืก

4.00

3.65

3.95

3.71

3.65

3.78

3.67

0.96

1.05

0.90

1.12

1.16

1.08

1.20

3.71

3.42

4.00

3.71

3.65

3.64

3.06

1.12

1.10

0.98

1.01

1.07

1.12

1.28

3.93

3.70

3.95

3.81

3.61

4.00

3.55

1.18

1.12

1.23

1.10

1.31

0.99

1.36

3.81

3.73

3.94

3.68

3.79

3.74

3.69

1.20

1.17

1.05

1.09

1.08

1.06

1.37

4.15

3.56

4.24

3.61

3.58

3.87

3.43

1.06

1.14

0.90

1.12

1.14

1.07

1.22

2.00

0.96

1.38

0.49

0.50

1.32

2.78*

* มีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05

จากตารางที่ 7 พบวา กลุมตัวอยางที่มีที่ตั้งของโรงเรียนอยูในพื้นที่ตางกัน มีความสนใจตอการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ ไมแตกตาง

กัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตมีความคิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในเรื่องชื่อเสียงของสถาบัน การทํา

ประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ การมีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต การมีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น การมีความมั่นคงในอาชีพ

การมีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ และการมีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก

Page 58: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตารางที ่8 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางโรงเรียนที่ต้ังอยูในกรุงเทพ ฯ และตางจังหวัด

รร.กรุงเทพฯ รร.ตางจังหวัด ความคิดเหน็ X S.D. X S.D.

t

ความสนใจในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

เปนสถาบันที่มีชื่อเสียง

มีเครื่องแบบที่สงางาม

มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

ทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

ไดรับการยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม

สรางช่ือเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

มีโอกาสไดเปนนักบิน

มีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

มีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงข้ึน

มีความมั่นคงในอาชีพ

มีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ

ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

มีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงาน

ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ

ตองอยูในระเบียบวินัยที่เครงครัด

ตองอยูในระบบอาวุโส

ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

มีการปกครองบังคับบัญชาหรือสั่งการที่เนนการใชอํานาจ

มีคณุสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อาย ุ

มีจํานวนการรับเขาศึกษาในแตละปที่จํากัด

มีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก

2.82

3.65

3.95

4.18

4.02

3.97

4.18

3.73

4.28

4.11

4.26

3.93

4.02

3.75

3.75

3.83

3.53

3.98

3.65

3.67

3.70

3.34

1.30

0.95

1.08

0.87

0.90

0.90

0.94

1.16

0.88

0.91

0.96

0.95

1.02

0.96

1.01

1.06

1.08

0.98

1.05

1.11

1.10

1.28

2.97

3.81

4.10

4.32

4.34

4.11

4.26

3.93

4.24

4.16

4.33

4.08

4.05

3.64

3.96

3.97

3.66

4.05

3.70

3.66

3.87

3.56

1.30

1.04

0.99

0.87

0.86

0.96

0.90

1.10

0.88

0.89

0.91

0.95

0.95

1.07

1.12

1.15

1.14

1.07

1.10

1.18

1.04

1.32

-1.02

-1.50

-1.27

-1.46

-3.34

-1.43

-0.77

-1.57

0.47

-0.54

-0.74

-1.43

-0.26

1.04

-1.81

-1.13

-1.17

-0.65

-0.37

0.06

-1.40

-1.57

* มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดบั 0.05

จากตารางที่ 8 พบวา กลุมตัวอยางที่มีพืน้ที่ต้ังของโรงเรียนอยูในเขตกรุงเทพฯ และตางจังหวัด

มีความสนใจตอการเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ ไมแตกตางกัน อยางมนีัยสําคัญทางสถิติท่ี

ระดับ 0.05

Page 59: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

2. เพศ ตารางที ่9 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางเพศชายกับเพศหญิง

เพศชาย เพศหญิง ความคิดเหน็

X S.D. X S.D. t

ความสนใจในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

เปนสถาบันที่มีชื่อเสียง

มีเครื่องแบบที่สงางาม

มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

ทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

ไดรับการยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม

สรางช่ือเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

มีโอกาสไดเปนนักบิน

มีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

มีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงข้ึน

มีความมั่นคงในอาชีพ

มีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ

ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

มีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงาน

ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ

ตองอยูในระเบียบวินัยที่เครงครัด

ตองอยูในระบบอาวุโส

ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

มีการปกครองบังคับบัญชาหรือสั่งการที่เนนการใชอํานาจ

มีคณุสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อาย ุ

มีจํานวนการรับเขาศึกษาในแตละปที่จํากัด

มีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก

2.97

3.76

3.98

4.24

4.17

3.97

4.17

3.72

4.14

4.00

4.21

3.95

3.98

3.60

3.86

3.89

3.58

4.03

3.64

3.58

3.82

3.46

1.31

1.04

1.07

0.91

0.93

0.98

0.97

1.17

0.93

0.94

0.99

0.96

0.99

1.06

1.12

1.13

1.13

1.05

1.11

1.17

1.07

1.29

2.83

3.77

4.26

4.39

4.45

4.35

4.44

4.30

4.58

4.56

4.59

4.29

4.24

3.89

4.01

4.03

3.74

4.01

3.08

3.95

3.84

3.62

1.25

0.93

0.80

0.75

0.70

0.74

0.68

0.84

0.64

0.59

0.63

0.85

0.89

0.93

1.03

1.12

1.10

1.04

1.02

1.04

1.01

1.33

0.90

-0.08*

-2.43*

-1.58

-2.77*

-4.13

-2.63*

-4.66*

-4.52*

-5.69*

-3.60*

-3.44

-2.46

-2.49*

-1.24

-1.06

-1.20

0.17

-1.36

-3.02

-0.23

-1.05

* มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดบั 0.05

Page 60: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

จากตารางที่ 9 พบวา กลุมตัวอยางระหวางเพศชายกับเพศหญิง มีความสนใจตอการเขา

ศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 แตมีความ

คิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในเรื่องการเปนสถาบันที่มีชื่อเสียง การมี

เครื่องแบบที่สงางาม การทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ การสรางชื่อเสียงใหกับตนเอง

ครอบครัวและวงศตระกูล การมีโอกาสไดเปนนักบิน การมีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต การมีโอกาส

ไดรับ การศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น การมีความมั่นคงในอาชีพ การมีอิสระเสรีในการศึกษาและ

ปฏิบัติงาน

Page 61: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

3. ผลการศึกษาสะสม ตารางที ่10 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางผลการศึกษาสะสม

ต่ํากวา 2.00 2.00 - 2.49 2.50 - 2.99 3.00 - 3.49 ตั้งแต 3.50 ความคิดเห็น

X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. F

ความสนใจในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

เปนสถาบันที่มีชื่อเสียง

มีเครื่องแบบที่สงางาม

มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

ทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

ไดรับการยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม

สรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

มีโอกาสไดเปนนักบิน

มีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

มีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น

มีความมั่นคงในอาชีพ

มีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ

ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

มีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงาน

ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ

2.85

3.75

3.93

4.12

3.96

3.86

4.00

3.52

4.10

3.92

4.13

3.88

3.96

3.69

3.54

1.22

0.95

1.05

0.78

0.94

0.91

1.05

1.15

0.91

0.91

1.00

0.93

0.91

0.93

1.10

3.08

3.68

3.86

4.16

4.23

4.10

4.19

3.70

4.18

4.09

4.26

4.00

4.22

3.67

3.86

1.18

1.04

1.12

1.00

0.79

0.96

0.94

1.19

0.87

0.87

0.80

0.90

0.93

0.94

0.99

3.04

3.68

4.12

4.42

4.38

4.12

4.41

4.09

4.33

4.18

4.37

4.04

4.06

3.68

4.04

1.33

1.01

0.93

0.85

0.78

0.87

0.81

0.97

0.88

0.83

0.84

0.95

1.04

1.05

0.99

2.81

3.68

3.97

4.15

4.18

4.00

4.10

3.72

4.27

4.17

4.23

4.07

3.90

3.68

3.95

1.30

1.07

1.01

0.84

0.87

0.99

0.93

1.03

0.89

0.87

1.06

0.90

0.93

1.05

0.98

2.83

3.94

4.31

4.49

4.49

4.26

4.45

4.26

4.38

4.32

4.54

4.18

4.05

3.64

4.12

1.45

1.01

0.95

0.85

0.82

0.96

0.77

1.05

0.89

0.94

0.82

1.04

1.04

1.18

1.21

0.73

1.05

2.63*

3.44*

5.37*

2.33

4.04*

7.06*

1.54

2.50*

2.67*

1.19

1.11

0.03

3.40*

Page 62: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตารางที ่10 (ตอ)

ต่ํากวา 2.00 2.00 - 2.49 2.50 - 2.99 3.00 - 3.49 ตั้งแต 3.50 ความคิดเหน็ X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D.

F

ตองอยูในระเบียบวินัยที่เครงครัด

ตองอยูในระบบอาวุโส

ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

มีการปกครองบังคับบัญชาหรือสั่งการที่เนนการใชอํานาจ

มีคณุสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อาย ุ

มีจํานวนการรับเขาศึกษาในแตละปที่จํากัด

มีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลอืก

3.63

3.54

3.81

3.49

3.53

3.51

3.15

1.11

1.06

1.04

1.08

1.06

1.02

1.30

3.89

3.47

3.89

3.56

3.47

3.73

3.42

1.06

1.14

1.00

1.08

1.17

1.02

1.21

4.09

3.55

4.09

3.81

3.63

3.93

3.53

1.05

1.12

0.99

1.06

1.16

0.98

1.26

3.93

3.70

4.07

3.73

3.63

3.88

3.37

1.02

0.96

0.99

0.97

1.12

1.19

1.39

4.09

3.80

4.25

3.79

3.99

4.02

3.89

1.28

1.25

1.11

1.19

1.17

1.06

1.28

2.48*

1.20

2.62*

1.43

2.81*

3.37*

4.17*

* มีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05

จากตารางที่ 10 พบวา กลุมตัวอยางที่มีผลการศึกษาสะสมตางกัน มีความสนใจตอการเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ ไมแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตมีความคิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในเรื่อง การมีเครื่องแบบที่สงางาม การมี

ความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี การทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ การสรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล การมี

โอกาสไดเปนนักบิน การมีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น ความมั่นคงในอาชีพ การที่ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ ตองอยูในระเบียบ

วินัยที่เครงครัด ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก การมีคุณสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อายุ จํานวนการรับเขา

ศึกษาในแตละปที่จํากัด และการมีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก

Page 63: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

4. อาชีพบิดา ตารางที ่11 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางอาชีพบิดา

ทหารตํารวจ พลเรือน รัฐวิสาหกิจ บริษทั ธุรกิจสวนตวั เกษตรกรรม อื่น ๆ ความคิดเห็น X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D.

F

ความสนใจในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

เปนสถาบันที่มีชื่อเสียง

มีเครื่องแบบที่สงางาม

มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

ทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

ไดรับการยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม

สรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

มีโอกาสไดเปนนักบิน

มีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

มีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น

มีความมั่นคงในอาชีพ

มีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงนิเดือน สวัสดิการ

ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

มีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงาน

ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ

3.40

4.07

4.11

4.31

4.22

4.13

4.51

3.87

4.33

4.25

4.35

4.11

4.22

3.93

4.25

1.18

0.90

0.96

0.81

0.76

0.82

0.72

1.17

0.80

0.91

0.91

0.88

0.92

0.94

0.80

2.88

3.97

4.22

4.40

4.46

4.32

4.27

4.12

4.21

4.16

4.36

4.05

3.97

3.76

4.17

1.45

0.90

1.00

0.77

0.73

0.90

0.89

0.96

0.97

0.89

0.83

1.00

1.05

1.07

0.99

2.93

3.62

4.15

4.31

4.29

4.10

4.24

3.93

4.21

4.14

4.33

4.00

3.93

3.74

3.95

1.35

1.08

1.01

0.72

0.75

0.77

0.80

1.09

0.87

0.84

0.82

0.96

0.99

0.96

0.96

2.69

3.62

3.78

4.27

4.16

3.92

4.05

3.65

4.32

4.19

4.30

4.19

4.16

3.59

3.51

1.16

1.01

1.11

0.90

0.96

0.98

1.08

1.23

0.81

0.91

0.94

0.94

0.99

1.01

1.15

2.66

3.61

3.95

4.15

4.09

3.90

4.10

3.75

4.10

3.99

4.16

3.88

3.96

3.44

3.84

1.25

1.03

1.05

0.99

0.97

1.05

0.99

1.13

0.93

0.93

0.98

0.99

0.97

1.11

1.19

3.50

3.91

4.33

4.62

4.58

4.38

4.63

4.13

4.50

4.33

4.54

4.33

4.35

4.08

3.71

1.14

1.00

0.76

0.58

0.93

0.77

0.58

0.99

0.72

0.76

0.93

0.70

0.71

0.82

1.19

3.08

3.72

4.06

4.26

4.28

4.10

4.24

3.92

4.48

4.30

4.48

4.12

4.08

3.76

3.74

1.30

1.09

1.02

0.90

0.90

0.91

0.93

1.17

0.79

0.88

0.97

0.94

1.03

0.93

1.13

3.36*

2.12*

1.34

1.34

1.98

2.14*

2.37*

1.24

1.74

1.24

1.14

1.29

1.14

2.61*

2.95*

Page 64: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตารางที ่11 (ตอ)

ทหารตํารวจ พลเรือน รัฐวิสาหกิจ บริษทั ธุรกิจสวนตวั เกษตรกรรม อื่น ๆ ความคิดเห็น X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D.

F

ตองอยูในระเบียบวินัยที่เครงครัด

ตองอยูในระบบอาวุโส

ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

มีการปกครองบังคับบัญชาหรือสั่งการที่เนนการใชอํานาจ

มีคุณสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อายุ

มีจํานวนการรับเขาศึกษาในแตละปที่จํากัด

มีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก

4.20

3.89

4.38

385

3.71

3.93

3.58

0.87

1.01

0.73

0.93

1.30

1.13

1.31

4.17

3.80

4.32

3.91

3.76

4.07

3.51

0.99

1.08

0.86

1.04

1.15

1.03

1.35

3.93

3.88

3.95

3.79

3.88

3.66

3.50

1.02

0.93

1.04

0.84

1.03

1.06

1.29

3.56

3.30

3.92

3.51

3.36

3.73

3.03

1.30

1.20

1.09

1.28

1.25

1.07

1.46

3.93

3.56

4.00

3.58

3.64

3.77

3.56

1.18

1.12

1.08

1.15

1.15

1.03

1.24

3.67

3.67

3.91

3.67

3.88

3.92

3.67

1.09

1.09

1.12

1.18

0.94

0.83

1.27

3.74

3.43

3.60

3.56

3.54

3.70

3.52

1.29

1.27

1.18

1.10

1.11

1.16

1.31

2.11

1.89

3.57*

1.18

0.97

1.02

0.95

* มีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05

จากตารางที่ 11 พบวา กลุมตัวอยางทีบ่ดิามีอาชีพตางกัน มีความสนใจตอการเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ แตกตางกันอยางมนีัยสําคัญ

ทางสถิติที่ระดบั 0.05 ซึ่งกลุมที่บิดามีอาชีพเกษตรกรรม มีความสนใจมากที่สุด อยูในระดับมาก รองลงมา คือ บิดามีอาชีพรับราชการทหาร-ตํารวจ

อยูในระดับปานกลาง และกลุมที่บิดามีอาชีพคาขาย/ธรุกิจสวนตวัและพนักงานบริษทัเอกชน มีความสนใจนอยที่สุด โดยมีความคิดเห็นแตกตางกนั

ในเรื่องชื่อเสียงของสถาบัน การไดรับการยอมรับนับถอืหรือการยกยองของคนในสงัคม การสรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล การมี

อิสระเสรี ในการศึกษาและปฏิบัติงาน ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ ตองมีความอดทนอดกลัน้ตอความยากลําบาก

Page 65: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

5. อาชีพมารดา ตารางที ่12 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางอาชีพมารดา

ทหารตํารวจ พลเรือน รัฐวิสาหกิจ บริษทั ธุรกิจสวนตวั เกษตรกรรม อื่น ๆ ความคิดเห็น X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D.

F

ความสนใจในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

เปนสถาบันที่มีชื่อเสียง

มีเครื่องแบบที่สงางาม

มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

ทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

ไดรับการยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม

สรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

มีโอกาสไดเปนนักบิน

มีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

มีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น

มีความมั่นคงในอาชีพ

มีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงนิเดือน สวัสดิการ

ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

มีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงาน

ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ

2.62

3.75

3.87

3.50

3.87

4.13

4.00

3.75

3.88

3.88

3.38

3.63

3.25

3.13

4.13

1.06

0.74

0.99

1.30

0.64

0.83

0.93

1.17

0.64

0.83

0.52

0.51

0.71

0.83

0.99

3.09

3.92

4.25

4.52

4.48

4.24

4.24

4.04

4.23

4.17

4.40

3.99

4.06

3.58

4.04

1.43

1.03

1.03

0.71

0.69

0.94

0.98

1.07

0.97

0.91

0.89

0.99

1.03

1.18

1.10

2.36

2.86

3.79

3.71

3.71

4.24

4.00

3.35

4.14

4.07

4.40

4.00

4.21

4.00

3.43

1.15

1.29

1.25

1.06

1.14

1.12

1.17

1.44

1.16

1.14

1.14

1.17

1.12

1.03

1.08

3.17

3.68

4.13

1.26

4.29

3.90

4.06

4.00

4.32

4.26

4.26

4.13

4.13

3.87

3.54

1.32

0.87

0.81

0.77

0.78

0.83

0.89

1.09

0.75

0.85

0.80

0.72

0.81

0.76

1.06

2.83

3.78

4.13

4.26

4.14

3.94

4.22

3.81

4.16

4.03

4.23

3.96

3.97

3.60

3.89

1.22

0.99

1.06

0.95

0.94

1.00

0.96

1.13

0.90

0.90

0.94

1.02

0.99

1.03

1.13

3.70

3.95

4.25

4.21

4.50

4.40

4.60

4.05

4.45

4.30

4.55

4.20

4.37

4.05

3.80

1.03

0.78

0.79

0.60

1.00

0.75

0.60

1.05

0.76

0.73

0.94

0.70

0.76

0.88

1.15

2.90

3.77

4.04

4.31

4.30

4.18

4.29

3.87

4.42

4.31

4.45

4.17

4.11

3.71

3.98

1.34

1.02

0.98

0.72

0.81

0.82

0.78

1.09

0.77

0.89

0.88

0.87

0.96

1.02

1.01

2.31*

2.54*

1.02

3.76*

2.73*

1.94

1.00

1.03

1.33

1.20

2.45*

0.90

1.60

1.49

1.32

Page 66: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตารางที ่12 (ตอ)

ทหารตํารวจ พลเรือน รัฐวิสาหกิจ บริษทั ธุรกิจสวนตวั เกษตรกรรม อื่น ๆ ความคิดเห็น X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. X S.D.

F

ตองอยูในระเบียบวินัยที่เครงครัด

ตองอยูในระบบอาวุโส

ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

มีการปกครองบังคับบัญชาหรือสั่งการที่เนนการใชอํานาจ

มีคุณสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อายุ

มีจํานวนการรับเขาศึกษาในแตละปที่จํากัด

มีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก

4.00

3.38

4.00

3.38

4.00

3.63

3.75

0.93

0.92

0.53

0.74

0.53

0.92

0.70

4.12

3.76

4.18

4.00

3.68

3.83

3.51

1.07

1.14

0.99

1.03

1.21

1.08

1.33

3.64

3.86

3.57

3.64

3.46

3.57

2.57

1.15

1.23

1.39

1.15

1.19

1.08

1.22

3.71

3.32

4.00

3.61

3.68

3.90

3.13

1.10

1.14

0.91

0.99

0.94

0.87

0.43

3.89

3.56

4.02

3.63

3.64

3.85

3.58

1.14

1.09

1.09

1.10

1.19

1.03

1.27

3.85

3.75

3.89

3.75

3.75

4.00

3.70

0.99

1.16

1.10

1.20

0.97

0.79

1.17

3.98

3.67

4.03

3.56

3.66

3.72

3.50

1.21

1.17

0.97

1.11

1.21

1.20

1.36

0.79

0.88

0.77

1.42

0.21

0.44

1.83

* มีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05

จากตารางที่ 12 พบวา กลุมตัวอยางทีม่ารดามีอาชพีตางกัน มีความสนใจตอการเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ แตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งกลุมที่มารดามีอาชพีเกษตรกรรม มีความสนใจมากที่สุด อยูในระดับมาก รองลงมา คือ มารดามีอาชีพพนักงาน

บริษทัเอกชน ขาราชการพลเรือน ตามลําดับ อยูในระดับปานกลาง และกลุมที่มารดามีอาชีพพนกังานรัฐวิสาหกิจ มีความสนใจนอยที่สุด อยูในระดับ

นอย โดยมีความคิดเห็นแตกตางกันในเรื่องชื่อเสียงของสถาบัน ความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี การทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาต ิ

และความมัน่คงในอาชีพ

Page 67: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

6. รายไดครอบครัว ตารางที ่13 แสดงการเปรียบเทียบความคิดเห็นระหวางรายไดครอบครัว

นอยกวา 10,000 10,001 – 30,000 30,001 – 50,000 มากกวา 50,000 ความคิดเห็น

X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. F

ความสนใจในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

เปนสถาบันที่มีชื่อเสียง

มีเครื่องแบบที่สงางาม

มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

ทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

ไดรับการยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม

สรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

มีโอกาสไดเปนนักบิน

มีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

มีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น

มีความมั่นคงในอาชีพ

มีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ

ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

มีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงาน

ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ

3.00

3.58

3.85

4.13

4.08

4.02

4.13

3.84

4.27

4.05

4.31

4.03

3.95

3.65

3.85

1.25

1.03

1.01

0.97

1.07

1.10

0.97

1.12

0.96

0.94

0.98

0.97

1.03

1.03

1.10

3.00

3.79

4.14

4.34

4.26

4.05

4.22

3.91

4.24

4.13

4.30

4.01

4.07

3.66

3.85

1.31

0.96

0.95

0.79

0.79

0.86

0.91

1.07

0.83

0.85

0.92

0.90

0.95

0.97

1.07

2.86

3.79

3.94

4.21

4.26

4.06

4.28

3.81

4.27

4.18

4.41

4.08

4.02

3.75

4.03

1.32

1.00

1.07

0.90

0.82

0.96

0.86

1.15

0.87

0.90

0.82

0.98

0.97

1.14

1.06

2.68

3.86

4.19

4.33

4.38

4.21

4.36

3.81

4.21

4.21

4.14

4.07

4.12

3.59

3.86

1.27

1.22

1.15

1.03

1.08

1.03

0.98

1.27

1.00

1.02

1.04

1.07

1.02

1.13

1.32

0.81

0.85

1.94

1.16

1.04

0.42

0.63

0.27

0.08

0.38

0.87

0.14

0.35

0.30

0.63

Page 68: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตารางที ่13 (ตอ)

นอยกวา 10,000 10,001 – 30,000 30,001 – 50,000 มากกวา 50,000 ความคิดเห็น

X S.D. X S.D. X S.D. X S.D. F

ตองอยูในระเบียบวินัยที่เครงครัด

ตองอยูในระบบอาวุโส

ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

มีการปกครองบังคับบัญชาหรือสั่งการที่เนนการใชอํานาจ

มีคณุสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อาย ุ

มีจํานวนการรับเขาศึกษาในแตละปที่จํากัด

มีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลอืก

3.73

3.44

3.77

3.68

3.63

3.65

3.23

1.20

1.05

0.97

1.07

1.19

1.05

1.31

3.97

3.65

4.09

3.60

3.57

3.79

3.39

1.05

1.05

0.97

1.06

1.19

1.04

1.31

4.00

3.64

3.10

3.77

3.92

3.96

3.78

1.16

1.11

1.05

1.11

0.99

0.92

1.21

3.86

3.69

3.90

3.90

3.57

3.86

3.76

1.28

1.28

1.21

1.23

1.38

1.12

1.28

0.92

0.67

1.80

1.11

2.17

1.14

3.45*

* มีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05

จากตารางที่ 13 พบวา กลุมตัวอยางที่ครอบครัวมีรายไดตางกัน มีความสนใจตอการเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ ไมแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตมีความคิดเห็นแตกตางกันอยางมีนัยสาํคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในเรื่องการมีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการ

สอบคัดเลือก โดยกลุมทีม่ีรายไดตั้งแต 30,001 บาท ขึ้นไป มีความคิดเห็นวามรีะบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก อยูในระดับมาก

สวนกลุมทีม่ีรายไดนอยกวา 30,000 บาท มีความคิดเหน็วามีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก อยูในระดับปานกลาง

Page 69: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ตอนที่ 5 แนวทางในการสรางความสนใจใหเยาวชนเขาศึกษาในโรงเรยีนนายเรืออากาศ

จากผลการศึกษาในวัตถุประสงคขอที่ 1 และ 2 สามารถสังเคราะหขอมูลเพ่ือนําเสนอ

แนวทางในการสรางความสนใจใหเยาวชนเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ ไดดังนี้

1. ทําการโฆษณาประชาสัมพันธโรงเรียนที่มีพ้ืนที่ต้ังอยูในเขตเมือง เชน โรงเรียนหอวัง

และ โรงเรียนมงฟอรต เกี่ยวกับเร่ือง

1. ชื่อเสียงของสถาบัน

2. การทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

3. การมีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

4. การมีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น

5. ความมั่นคงในอาชีพ

6. รายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ โดยเฉพาะการเปนนักบิน

7. การสอบคัดเลือกที่ปราศจากระบบพรรคพวกหรือเสนสาย

2. ทําการโฆษณาประชาสัมพันธในทุกโรงเรียนถึงขอดีของโรงเรียนนายเรืออากาศ ซึ่ง

ยังคงเปนที่ยอมรับในเรื่องตอไปนี ้

1. การมีเครื่องแบบที่สงางาม

2. เปนอาชีพที่มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

3. การยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม

4. การสรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

5. การมีโอกาสไดเปนนักบิน

7. การมีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

8. ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

9. การมีระเบียบวินัย

10. การมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

3. ปรับปรุงระบบการศึกษาของโรงเรียนนายเรืออากาศ ในเรื่อง

1. ใหมีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงานมากขึ้น

2. ปรับระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ ใหเหมาะสมกับสภาพสังคมในระบอบประชาธิปไตย

Page 70: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

3. ปรับระบบอาวุโส

4. ปรับการปกครองบังคับบัญชาหรือส่ังการที่เนนการใชอํานาจ

5. ปรับคุณสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อาย ุ

6. เพ่ิมรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ

7. จัดระบบการสอบคัดเลือกที่เปดเผย โปรงใส และตรวจสอบได

4. เปดรับนักศึกษาพลเรือนที่มีคุณสมบัติบางประการไมเหมาะสมจนทําใหไมสามารถเขา

รับราชการทหารไดเขามาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศเพื่อสรางความสนใจใหกับเยาวชน

ไดมากขึ้นอีกทั้งยังเปนการผลิตบัณฑิตที่มีระเบียบวินัยและมีความอดทนใหกับประเทศชาติได

Page 71: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

บทที่ 5

สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

การศึกษาวิจัย เร่ือง ความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ และ

ปจจัยที่มีผลตอความสนใจ รวมทั้งนําเสนอแนวทางในการสรางความสนใจใหเยาวชนเขาศึกษาใน

โรงเรียนนายเรืออากาศ โดยใชการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) สรุปผลการวิจัยไดดังนี้

สรุปผลการวจิัย

1. เยาวชนที่เปนกลุมตัวอยางสวนใหญ รอยละ 62.10 ไมมีความสนใจที่จะเขาศึกษา

ในโรงเรียนนายเรืออากาศ ในขณะที่มีเยาวชนใหความสนใจเขาศึกษา รอยละ 37.90 โดยมีความ

สนใจที่จะเขาศึกษา อยูในระดับปานกลาง

2. ปจจัยที่มีผลตอความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

2.1 ที่ต้ังของโรงเรียน

กลุมตัวอยางที่มีที่ต้ังของโรงเรียนอยูในพ้ืนที่ตางกันมีความสนใจตอการเขาศึกษา

โรงเรียนนายเรืออากาศ ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตมีความคิดเห็น

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในเรื่องชื่อเสียงของสถาบัน การทําประโยชน

ใหกับสังคมและประเทศชาติ การมีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต การมีโอกาสไดรับการศึกษาตอใน

ระดับที่สูงขึ้น การมีความมั่นคงในอาชีพ การมีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ

และการมีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก ซึ่งโรงเรียนที่ไมไดต้ังใกลกับโรงเรียน

นายเรืออากาศหรือในเขตทหาร และอยูในเมือง เชน โรงเรียนหอวังและโรงเรียนมงฟอรต มีความ

คิดเห็นวา มีรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ นอยกวาโรงเรียนที่ต้ังอยูในเขตที่

ใกลกับโรงเรียนนายเรืออากาศหรือในเขตทหาร เชน โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย โรงเรียนอุดรพิทยา

นุกูล โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โรงเรียนที่ไมไดต้ังใกลกับโรงเรียนนายเรืออากาศหรือในเขตทหาร

และอยูในเมือง เชน โรงเรียนหอวัง มีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือกมากกวา

โรงเรียนที่ต้ังอยูในเขตที่ใกลกับโรงเรียนนายเรืออากาศหรือในเขตทหาร เชน โรงเรียนฤทธิยะ-

วรรณาลัย โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล โรงเรียนมงฟอรต

Page 72: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

2.2 เพศ

กลุมตัวอยางระหวางเพศชายกับเพศหญิงมีความสนใจตอการเขาศึกษาในโรงเรียน

นายเรืออากาศ ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตมีความคิดเห็นแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในเรื่องการเปนสถาบันที่มีชื่อเสียง การมีเครื่องแบบที่

สงางาม การทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ การสรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัว

และวงศตระกูล การมีโอกาสไดเปนนักบิน การมีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต การมีโอกาสไดรับ

การศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น การมีความมั่นคงในอาชีพ การมีอิสระเสรีในการศึกษาและ

ปฏิบัติงาน ซึ่งเพศหญิงมีความเห็นมากกวาเพศชายในเรื่องเปนสถาบันที่มีชื่อเสียง มีเครื่องแบบที่

สงางามทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ สรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศ

ตระกูล มีโอกาสไดเปนนักบิน มีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต มีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่

สูงขึ้น มีความมั่นคงในอาชีพ มีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงาน

2.3 ผลการศึกษา

กลุมตัวอยางที่มีผลการศึกษาสะสมตางกันมีความสนใจตอการเขาศึกษาในโรงเรียน

นายเรืออากาศ ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตมีความคิดเห็นแตกตาง

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในเรื่องการมีเครื่องแบบที่สงางาม การมีความ

ภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี การทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ การสรางชื่อเสียง

ใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล การมีโอกาสไดเปนนักบิน การมีโอกาสไดรับการศึกษาตอ

ในระดับที่สูงขึ้น ความมั่นคงในอาชีพ การที่ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ ตองอยูในระเบียบ

วินัยที่เครงครัด ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก การมีคุณสมบัติบางประการที่เปน

อุปสรรค เชน เพศ รางกาย อายุ จํานวนการรับเขาศึกษาในแตละปที่จํากัด และการมีระบบพรรค

พวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก

2.4 อาชีพบิดา

กลุมตัวอยางที่บิดามีอาชีพตางกันมีความสนใจตอการเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรือ

อากาศ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งกลุมที่บิดามีอาชีพเกษตรกรรม

มีความสนใจมากที่สุด อยูในระดับมาก รองลงมา คือ บิดามีอาชีพรับราชการทหาร - ตํารวจ อยูใน

ระดับปานกลาง และกลุมที่บิดามีอาชีพคาขาย/ธุรกิจสวนตัวและพนักงานบริษัทเอกชน มีความ

สนใจนอยที่สุด โดยมีความคิดเห็นแตกตางกันในเรื่องชื่อเสียงของสถาบัน การไดรับการยอมรับ

นับถือหรือการยกยองของคนในสังคม การสรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

Page 73: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

การมีอิสระเสรี ในการศึกษาและปฏิบัติงาน ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ ตองมีความอดทน

อดกลั้นตอความยากลําบาก

2.5 อาชีพมารดา

กลุมตัวอยางที่มารดามีอาชีพตางกันมีความสนใจตอการเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรือ

อากาศ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งกลุมที่มารดามีอาชีพเกษตรกรรม

มีความสนใจมากที่สุด อยูในระดับมาก รองลงมา คือ มารดามีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน

ขาราชการพลเรือน ตามลําดับ อยูในระดับปานกลาง และกลุมที่มารดามีอาชีพพนักงาน

รัฐวิสาหกิจ มีความสนใจนอยที่สุด อยูในระดับนอย โดยมีความคิดเห็นแตกตางกันในเรื่องชื่อเสียง

ของสถาบัน ความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี การทําประโยชนใหกับสังคมและ

ประเทศชาติ และความมั่นคงในอาชีพ

2.6 รายไดครอบครัว

กลุมตัวอยางที่ครอบครัวมีรายไดตางกันมีความสนใจตอการเขาศึกษาในโรงเรียนนาย

เรืออากาศ ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แตมีความคิดเห็นแตกตางกัน

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในเรื่องการมีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบ

คัดเลือก โดยกลุมที่มีรายไดต้ังแต 30,001 บาท ขึ้นไป มีความคิดเห็นวามีระบบพรรคพวกหรือเสน

สายในการสอบคัดเลือก อยูในระดับมาก สวนกลุมที่มีรายไดนอยกวา 30,000 บาท มีความคิดเหน็

วามีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก อยูในระดับปานกลาง

3. แนวทางในการสรางความสนใจใหเยาวชนเขาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ

3.1 ทําการโฆษณาประชาสัมพันธโรงเรียนที่มีพ้ืนที่ต้ังอยูในเขตเมือง เชน โรงเรียน

หอวัง และโรงเรียนมงฟอรต เกี่ยวกับเร่ือง

1. ชื่อเสียงของสถาบัน

2. การทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

3. การมีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

4. การมีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น

5. ความมั่นคงในอาชีพ

6. รายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ โดยเฉพาะการเปนนักบิน

7. การสอบคัดเลือกที่ปราศจากระบบพรรคพวกหรือเสนสาย

Page 74: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

3.2 ทําการโฆษณาประชาสัมพันธในทุกโรงเรียนถึงขอดีของโรงเรียนนายเรืออากาศ

ซึ่งยังคงเปนที่ยอมรับในเรื่องตอไปนี้

1. การมีเครื่องแบบที่สงางาม

2. เปนอาชีพที่มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

3. การยอมรับนับถือหรือการยกยองของคนในสังคม

4. การสรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

5. การมีโอกาสไดเปนนักบิน

7. การมีโอกาสเจริญกาวหนาในชีวิต

8. ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

9. การมีระเบียบวินัย

10. การมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลําบาก

3.3 ปรับปรุงระบบการศึกษาของโรงเรียนนายเรืออากาศ ในเรื่อง

1. ใหมีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงานมากขึ้น

2. ปรับระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ ใหเหมาะสมกับสภาพสังคมในระบอบประชาธิปไตย

3. ปรับระบบอาวุโส

4. ปรับการปกครองบังคับบัญชาหรือส่ังการที่เนนการใชอํานาจ

5. ปรับคุณสมบัติบางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อาย ุ

6. เพ่ิมรายไดหรือคาตอบแทนที่ดี เชน เงินเดือน สวัสดิการ

7. จัดระบบการสอบคัดเลือกที่เปดเผย โปรงใส และตรวจสอบได

3.4 เปดรับนักศึกษาพลเรือนที่มีคุณสมบัติบางประการไมเหมาะสมจนทําใหไม

สามารถเขารับราชการทหารไดเขามาศึกษาในโรงเรียนนายเรืออากาศ เพ่ือสรางความสนใจใหกับ

เยาวชนไดมากขึ้น อีกทั้งยังเปนการผลิตบัณฑิตที่มีระเบียบวินัยและมีความอดทนใหกับ

ประเทศชาติได

Page 75: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ขอเสนอแนะในการวิจยัครั้งตอไป

1. หากจะทําการวิจัยในลักษณะเชนนี้ อาจเพิ่มจํานวนประชากรและกลุมตัวอยางใหมาก

ขึ้น เพ่ือความนาเชื่อถือของการวิจัย

2. ทําการเปรียบเทียบความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนของแตละเหลาทัพ

วาแตกตางกันหรือไม เพราะอะไร

3. ทําการวิจัยในแบบอื่น ๆ เชน การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพ่ือใหได

ขอมูลที่มีความหมายลึกซึ้งเพิ่มเติม โดยการลงพื้นที่ใชการสังเกตและการสัมภาษณเปนหลักใน

การเก็บรวบรวมขอมูล

Page 76: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

บรรณานุกรม

กมล สมวิเชียร. พัฒนาการเมืองไทย. พระนคร : โรงพิมพสมาคมสังคมศาสตรแหงประเทศไทย,

2513.

คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ,สํานักงาน. พระราชบญัญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 .

สํานักนายกรฐัมนตร,ี 2542.

จารุภัทร เรืองสุวรรณ,พล.ต. ทหารกบัการพัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร : สํานกัพิมพ

ดอกหญา, 2537.

ชัยศึก เกตุทัต,พล.ท. การนาํเสนอโครงสรางระบบอุดมศึกษาในสังกัดกระทรวงกลาโหม

ในอนาคต. วทิยานิพนธครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย , 2542.

ชัยอนนัต สมุทวาณิช. การเมือง : การเปล่ียนแปลงทางการเมืองไทย พ.ศ.1893-2475.

กรุงเทพมหานคร : ม.ท.ป., 2519.

ชัยอนนัต สมุทวาณิช. รัฐ. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2535.

ชัยอนนัต สมุทวณิช. ฟสิกสกับการเมืองสูทฤษฎทีัว่ไปทางการเมอืง. กรุงเทพฯ : บริษทัสุขมุ

และบุตร จํากดั, 2537.

ดุสิต น้ําฝน,ร.อ. การถายทอดลักษณะความเปนทหารกบัความยึดมั่นผูกพนัตออาชีพศึกษา

กรณนีกัเรยีนนายเรืออากาศ. วิทยานพินธสังคมวิทยาและมนษุยวิทยามหาบัณฑิต

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร, 2529.

ทินพันธุ นาคะตะ. ประชาธปิไตยไทย. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สถาบันบณัฑิตพัฒน

บริหารศาสตร, 2543.

ณพดล ชาวไทย,น.ท. ทัศนคติของนกัเรยีนมัธยมศึกษาชัน้ปที ่4 และผูปกครองตอการเขา

ศึกษาในสถาบนัการศึกษาทางทหาร. เอกสารวิจัยสวนบุคคลโรงเรียนเสนาธกิารทหาร

อากาศ สถาบนัวิชาการทหารอากาศชัน้สูง ปการศึกษา 2543.

บุญชาติ พรหมพูล, ร.ท. การเรียนรูทางการเมืองของนกัเรยีนนายเรืออากาศไทย.

วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวทิยาลยั , 2520.

นิภา ศรีไพโรจน. หลักการวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ศึกษาพร จํากัด, 2527.

ประเวศ วะสี. "ระบบราชการมะเร็งของประเทศ" . สาระสาสน : เสียงปลุก. กรุงเทพฯ : มูลนิธิ

เผยแพรชีวิตประเสริฐ, 2538.

Page 77: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

พฤทธิสาณ ชุมพล,ม.ร.ว. ระบบการเมือง : ความรูเบือ้งตน. กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.

รุง แกวแดง. รีเอ็นจิเนียริง่ระบบราชการไทย. พิมพคร้ังที่ 3,กรุงเทพฯ : สํานกัพิมพมติชน,

2538.

โรงเรียนนายเรืออากาศ. หลักสูตรโรงเรยีนนายเรืออากาศ พ.ศ.2545.

รังสรรค ธนะพรพันธุ. สังคมเศรษฐกิจไทยในทศวรรษ 2550 : ยทุธศาสตรการพฒันา

ในกระแสโลกานวุัตร. คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2543.

ลิขิต ธีรเวคิน. การเมืองการปกครองของไทย. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร, 2539.

วิทยากร เชียงกูล. เพื่อศตวรรษที ่21 วเิคราะหแนวโนมการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย.

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมิ่งมิตร, 2537.

วรเดช จันทรศร. การพฒันาระบบราชการไทย . กรุงเทพฯ : คณะกรรมการปฏิรูประบบ

ราชการ, 2540.

สุจิต บุญบงการ. การพัฒนาทางการเมอืงไทย. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2542.

สุชา จันทนเอม. จิตวทิยาทัว่ไป. พิมพคร้ังที่ 10. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพไทยวฒันาพานชิ

จํากัด, 2540.

สุรชาติ บํารุงสุข. ค.ศ.2000 : ยุทธศาสตรโลกหลังสงครามเยน็. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

มติชน, 2537.

สมชาย ภคภาสนวิวฒัน. วิสัยทัศนประเทศไทยป 2000. พิมพคร้ังที่ 9. กรุงเทพฯ:สํานักพิมพ

มติชน, 2543.

สมบัติ ธํารงธัญวงศ. การเมือง : แนวความคิดและการพฒันา.พิมพคร้ังที่ ๘. กรุงเทพมหานคร :

คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิารศาสตร, 2545.

สมพงษ ชูมาก. ความสัมพนัธระหวางประเทศยุคปจจบุนั. คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลยั, 2540.

อัครชัย สกุลรัตนะ,พล.อ.ต. การปลูกฝงอุดมการณทางการเมือง (ในระบอบประชาธปิไตย

ที่มพีระมหากษัตริยเปนประมุข) ของกองทัพอากาศ. เอกสารวิจยัสวนบุคคล

วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ปการศึกษา 2537 - 2538.

Page 78: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

อริยะ สหชาติโกสียม,น.ต. ทัศนคติของบุคคลภายนอกกองทัพอากาศที่มีตอภาพพจนของ

กองทัพอากาศในยุคปจจบุนั. เอกสารวิจัยสวนบุคคลโรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ

สถาบันวิชาการทหารอากาศชั้นสูง ปการศึกษา 2542.

อมร รักษาสัตย. การเมืองการปกครองไทย ตามรัฐธรรมนญูฉบบัประชาชน. พิมพคร้ังที่ 3.

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ วี เจ พร้ินติ้ง, 2544.

อมรวิชช นาครทรรพ. ความฝนของแผนดิน. พิมพคร้ังที่ 4, กรุงเทพฯ : คณะศึกษาการศึกษา

ไทยในยุคโลกาภิวัตน, 2540.

อํานวย สาตรเพ็ชร,พ.ท. ความคิดเหน็ของนายทหารสญัญาบัตรระดับตนกบันักเรียน

เตรียมทหารเกี่ยวกบัการปกครองแบบประชาธปิไตย. เอกสารวิจัยสวนบุคคล

โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ สถาบนัวชิาการทหารอากาศชัน้สูง ปการศึกษา 2542.

Frederick Herzberg.The Motivation to Work. (New York : John Wiley & Sons) 1959.

Maslow,A.H.Motivation and Personality. (New York : haper & Brother) 1954.

Ministry of Defense. [online] Available from : <http ://www.mod.go.th/ >. [2004,June. 14].

National Statistical Office [online] Available from : < http://www.nso.go.th/ >. [2004,June. 14].

Page 79: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

ภาคผนวก

แบบสอบถาม เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรยีนนายเรืออากาศ

สวนที ่1 ขอมลูทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย 4ลงใน

1. เพศ 1.ชาย 2.หญิง

2. ผลการศึกษาสะสม 1.ตํ่ากวา 2.00 2.ต้ังแต 2.00 - 2.49 3.ต้ังแต 2.50 - 2.99

4.ต้ังแต 3.00 - 3.49 5.ต้ังแต 3.50 - 4.00

3. อาชีพบิดา 1.ขาราชการทหาร-ตํารวจ 2.ขาราชการพลเรือน 3.พนักงานรัฐวิสาหกิจ

4.พนักงานบรษิทัเอกชน 5.ธุรกิจสวนตวั/คาขาย 6.เกษตรกรรม

7.อ่ืนๆ ระบ…ุ……………………………………………………………………………….

4. อาชีพมารดา 1.ขาราชการทหาร-ตํารวจ 2.ขาราชการพลเรือน 3.พนักงานรัฐวิสาหกิจ

4.พนักงานบรษิทัเอกชน 5.ธุรกิจสวนตวั/คาขาย 6.เกษตรกรรม

7.อ่ืนๆ ระบ…ุ……………………………………………………………………………….

5. รายไดครอบครัว (เฉล่ียตอเดือน) 1.นอยกวา 10,000 บาท

2.ต้ังแต 10,001 - 30,000 บาท

3.ต้ังแต 30,001 - 50,000 บาท

4.มากกวา 50,000 บาท

6. นกัเรยีนมคีวามสนใจทีจ่ะเขาศึกษาในโรงเรยีนนายเรืออากาศหรือไม 1.สนใจ 2.ไมสนใจ

9. ความคิดเหน็และขอเสนอแนะทีท่าํใหนกัเรยีนมคีวามสนใจหรือไมสนใจ ………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………..

Page 80: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

สวนที ่2 ความสนใจของเยาวชนในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรืออากาศ

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย 4ตามระดับคะแนนที่ทานมีความคิดเห็นหรือสนใจ ระดับความสนใจ

มาก นอย นักเรียนมีความสนใจในการเขาศึกษาในสถาบันตอไปนี ้ในระดับใด ?

5 4 3 2 1

1.โรงเรียนนายเรืออากาศ

2.โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา

3.โรงเรียนนายเรือ

4.โรงเรียนนายรอยตํารวจ

5.สถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ

ระดับความคดิเห็น มาก นอย นักเรียนมีความคิดเหน็ในการเขาศึกษาโรงเรียนนายเรอือากาศ

อยางไร ? 5 4 3 2 1

6.เปนสถาบันที่มีชือ่เสียง

7.มีเครื่องแบบที่สงางาม

8.มีความภาคภูมิใจในเกียรติยศและศักดิ์ศรี

9.ทําประโยชนใหกับสังคมและประเทศชาติ

10.ไดรับการยอมรับนบัถือหรอืการยกยองของคนในสังคม

11.สรางชื่อเสียงใหกับตนเอง ครอบครัวและวงศตระกูล

12.มีโอกาสไดเปนนักบิน

13.มีโอกาสเจริญกาวหนาในชวีิต

14.มีโอกาสไดรับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น

15.มีความมั่นคงในอาชีพ

16.มีรายไดหรือคาตอบแทนทีด่ี เชน เงินเดือน สวัสดิการ

17.ทําใหครอบครัวมีความเปนอยูที่สุขสบาย

18.มีอิสระเสรีในการศึกษาและปฏิบัติงาน

19.ตองอยูในระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ

20.ตองอยูในระเบียบวินัยที่เครงครัด

21.ตองอยูในระบบอาวโุส

22.ตองมีความอดทนอดกลั้นตอความยากลาํบาก

23.มีการปกครองบังคับบัญชาหรือส่ังการที่เนนการใชอํานาจ

24.มีคุณสมบัตบิางประการที่เปนอุปสรรค เชน เพศ รางกาย อาย ุ

25.มีจํานวนการรับเขาศึกษาในแตละปที่จํากดั

26.มีระบบพรรคพวกหรือเสนสายในการสอบคัดเลือก

Page 81: รายงานการวิจัย เรื่อง ความสนใจของเยาวชนในการเข าศึกษาโรงเร …pirun.ku.ac.th/~fedusmsw/research/R3.pdf ·

76

ประวัติผูวิจัย นาวาอากาศโท ดร.สุมิตร สุวรรณ

วนั เดือน ป เกิด :

วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2510 ที่อยู :

85 หมู 6 ตําบลทัพหลวง อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 การศึกษา :

ปริญญาเอก สาขาวิชาพัฒนศึกษา จุฬาลงกรณมหาวทิยาลยั

ปริญญาโท สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ปริญญาตรี สาขาวิชาบริหารศาสตร โรงเรียนนายเรืออากาศ การทาํงาน :

อาจารยภาควชิาสังคมศาสตร กองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ

กองพันทหารอากาศโยธิน กองบิน 41 เชียงใหม

กรมนักเรียนนายเรืออากาศรักษาพระองค โรงเรียนนายเรืออากาศ

นายทหารคนสนิทผูบัญชาการกองบัญชาการฝกศกึษาทหารอากาศ

หัวหนาแผนกทะเบียนประวติัและรักษาราชการอาจารยกองการศึกษา โรงเรียนนายเรืออากาศ