รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%c8%c3%c7%b3%ea%c2%e… ·...

52
รายงานการวิจัย การศึกษาแพลงกตอนในระบบนิเวศชายฝงบริเวณทาวัง เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี (Studied of Phytoplankton and Zooplankton in Tawang Marine Ecology Sichang Island , Chonburi) โดย นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหนงครู ค..1 โรงเรียนเขื่อนชางวิทยาคาร ตําบลเขิน อําเภอน้ําเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการครุวิจัย-วิทยาศาสตรทางทะเล สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (ความเห็นในรายงานนี้เปนของผูวิจัย สกว. ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป)

Upload: others

Post on 03-Feb-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

รายงานการวิจัย

การศึกษาแพลงกตอนในระบบนิเวศชายฝงบริเวณทาวัง เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี

(Studied of Phytoplankton and Zooplankton in Tawang

Marine Ecology Sichang Island , Chonburi)

โดย

นางสาวศรวณีย ลาเต

ตําแหนงครู ค.ศ. 1

โรงเรียนเข่ือนชางวิทยาคาร ตําบลเขิน อําเภอน้ําเกล้ียง จังหวัดศรีสะเกษ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึษาศรีสะเกษ เขต 1

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

โครงการครุวิจัย-วิทยาศาสตรทางทะเล

สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

(ความเห็นในรายงานนี้เปนของผูวิจัย สกว. ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป)

Page 2: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ชื่องานวิจัย การศึกษาแพลงกตอนในระบบนิเวศชายฝงบริเวณทาวัง เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี

ผูวิจัย นางสาวศรวณีย ลาเต

นักวิจัยพี่เลี้ยง นายสมภพ รุงสุภา

หนวยงาน โรงเรียนเขื่อนชางวิทยาคาร สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 1

บทคัดยอ

การศึกษาแพลงกตอนในระบบนิเวศชายฝงบริเวณทาวัง เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี ในชวงเดือน

เมษายน พ.ศ. 2550 โดยเก็บตัวอยางแพลงกตอนทั้งหมด 2 จุด (บนชายฝงและในทะเล) รวม 8 คร้ัง

นําไปแยกชนิดและหาความหนาแนน ผลการศึกษาพบวา กลุม Diatom เปนแพลงกตอนพืชกลุมเดนที่

พบจํานวนมาก รองลงมาไดแก กลุม Dinoflagellate และ กลุม Blue green algae ชนิดของแพลงกตอน

พืชกลุมเดนที่พบ ไดแก Chaetoceros sp. Nitzchia sp. Rhizosolenia sp. Eucampia sp. และ

Bacteriastrum sp. ตามลําดับ ศึกษาความสัมพันธ พบวาแพลงกตอนกลุมเดนมีผลตอความหนาแนน

รวมของแพลงกตอนทั้งหมดในลักษณะแปรผันตาม แพลงกตอนสัตวกลุมเดนที่พบคือกลุม Arthropoda

เทียบเคียงกับจุดเก็บตัวอยางบริเวณอ่ืนในเกาะสีชังในชวงเวลาเดียวกันพบวา บริเวณทาวังมีความ

หนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชมากที่สุด เปรียบเทียบความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชและ

แพลงกตอนสัตวบริเวณชายฝงและในทะเล พบวาบริเวณชายฝงมีความหนาแนนรวมมากกวาในทะเล

ในการศึกษาคร้ังน้ีลักษณะนํ้าขึ้นนํ้าลง และนํ้าเกิดนํ้าตาย มีความสัมพันธที่ไมชัดเจนตอความหนาแนน

รวมและชนิดของแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตว

Page 3: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

สารบัญ

เร่ือง หนา

บทคัดยอ ก

สารบัญ ข

สารบัญตาราง ค

สารบัญรูป ง

ความเปนมาและความสําคัญของการศึกษา 1

การสํารวจเอกสาร 1

วัตถุประสงค 8

ประโยชนที่ไดรับและการนําไปประยุกตใชในหนวยงาน 8

อุปกรณและวิธีดําเนินการ 9

ผลการศึกษา 11

สรุปและวิจารณ 15

เอกสารอางอิง 28

กิตติกรรมประกาศ 29

ภาคผนวก 30

Page 4: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา1 แพลงกตอนพืช: หาดทาวัง: ทะเล 9, 15 เมษายน 2550 11

2 แพลงกตอนพืช: หาดทาวัง: บนบก 8, 14 เมษายน 2550 12

3 แพลงกตอนสัตว:หาดทาวัง:ทะเล 8, 15 เมษายน 2550 13

4 แพลงกตอนสัตว : หาดทาวัง:บนบก 9, 14 เมษายน 2550 14

5 คุณภาพนํ้าบริเวณหาดทาวัง ชวงนํ้าเกิดและนํ้าตาย เวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง 14

6 เปรียบเทียบแพลงกตอนพืช หาดทาวัง ในทะเลและบนบก 17

7 เปรียบเทียบแพลงกตอนสัตว หาดทาวัง ในทะเลและชายฝง 22

8 ชนิดทั้งหมดและความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชทั้งหมดและแพลงกตอนพืชชนิด

เดน 3 ชนิด (ในทะเล)

25

9 ชนิดทั้งหมดและความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชทั้งหมดและแพลงกตอนพืชชนิด

เดน 3 ชนิด (บริเวณชายฝง)

26

Page 5: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

สารบัญรูป

รูปท่ี หนา

1 เปรียบเทียบความหนาแนนรวม แพลงกตอนพืช หาดทาวัง 18

2 เปรียบเทียบความจํานวนกลุมรวม แพลงกตอนพืช หาดทาวัง 19

3 เปรียบเทียบความหนาแนนรวม กลุมไดอะตอม หาดทาวัง 20

4 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมกลุมไดโนแฟลกเจลเลต หาดทาวัง 21

5 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว หาดทาวัง เดือนเมษายน พ.ศ.2550 22

6 เปรียบเทียบความจํานวนกลุมรวม แพลงกตอนสัตว หาดทาวัง 23

7 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมกลุม Annilida หาดทาวัง 24

8 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมกลุม Arthopoda หาดทาวัง 25

9 ความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชทั้งหมดและความหนาแนนของแพลงกตอนพืช

กลุมเดน บริเวณหาดทาวังระหวางนํ้าเกิดและนํ้าตาย นํ้าขึ้นและนํ้าลง (ในทะเล)26

10 ความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชทั้งหมดและความหนาแนนของแพลงกตอนพืช

กลุมเดน บริเวณหาดทาวังระหวางนํ้าเกิดและนํ้าตาย นํ้าขึ้นและนํ้าลง (บริเวณชายฝง)27

Page 6: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ความเปนมาและความสําคัญของการศึกษา

แพลงกตอนเปนสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ลองลอยอิสระในกระแสนํ้า มีความสําคัญในระบบนิเวศ

คือ เปนองคประกอบเบื้องตนของหวงโซอาหารในแหลงนํ้าธรรมชาติ หรือที่เรียกวาผูผลิต เปนตัวชี้

กระแสนํ้าในมหาสมุทร และเปนดัชนีบงชี้คุณภาพนํ้าหรือมลภาวะของนํ้า แพลงกตอนจึงเปนสิ่งมีชีวิต

ที่สงผลโดยตรงตอปริมาณและความชุกชุมของสิ่งมีชีวิตในแหลงนํ้า ปริมาณและความหนาแนนของ

แพลงกตอนขึ้นอยูกับปจจัยทางดานกายภาพหลายประการ เชน ความลึกของแสง คาความเปนกรด-

เบส อุณหภูมิ ความเค็ม และปริมาณออกซิเจนที่ละลายในนํ้า เปนตน อันจะทําใหประชากรของ

แพลงกตอนเพิ่มขึ้นหรือลดลงได ซึ่งจะสงผลตอความอุดมสมบูรณของแหลงนํ้าน้ัน จากที่มาและ

ความสําคัญดังกลาวผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาแพลงกตอนในระบบนิเวศชายฝงบริเวณทาวัง เกาะสีชัง

จังหวัด ชลบุรี ซึ่งเปนชายหาดที่มีความสําคัญและมีชุมชนหนาแนน โดยศึกษาชนิดและความหนาแนน

ของแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตวบริเวณชายฝงและในทะเล ความแตกตางของแพลงกตอนพืช

และแพลงกตอนสัตว ระหวางชวงเวลานํ้าเกิดนํ้าตายและนํ้าขึ้นนํ้าลง

การสํารวจเอกสาร

ความหมายของแพลงกตอน

แพลงกตอน (plankton) หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่ลองลอยอยูในนํ้าสุดแตคลื่นและกระแสนํ้าจะพา

ไป แพลงกตอนสวนใหญมีขนาดเล็กต้ังแตดูดวยกลองจุลทรรศนอิเลกตรอน จนถึงระดับที่มองดวยตา

เปลาเชน แมงกะพรุน หลายชนิดยาวต้ัง 5 - 6 เมตร แพลงคตอนประกอบดวยสิ่งมีชีวิตหลายกลุม แตทุก

กลุมจะมีลักษณะที่เหมือนกันประการหน่ึงคือ ไมมีระยางคหรือสวนที่ชวยในการเคลื่อนที่ เชน ครีบของ

ปลา แมวาแพลงกตอนบางกลุมจะเคลื่อนที่ไดแตก็เปนไปอยางชาและยังตองอาศัยคลื่นลมหรือ

กระแสนํ้าชวยในการเคลื่อนที่ ตางจากพวก nekton ซึ่งเปนสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูพื้นทองนํ้า เชน กุง ปู หอย

ดาวทะเล เปนตน

การแบงกลุมของแพลงกตอน

แบงโดยยึดหลักโภชนาการ โดยแบงออกไดเปน 2 กลุม ดังน้ี

1. แพลงกตอนพืช (phytoplankton) ไดแก พืชกลุมที่มีสารในเซลลทําใหสามารถดูดซับพลังงานแสงและ

ใชพลังงานแสงรวมกับกาซคารบอนไดออกไซดในกระบวนการสังเคราะหแสงและสรางสารอินทรีย

ซึ่งสวนใหญไดแก คารโบไฮเดรท แพลงคตอนพืชมีความสําคัญตอระบบนิเวศเพราะเปนอาหารเบื้องตน

ของหวงโซอาหาร (food chain) ในแหลงนํ้า ดังน้ันจึงจัดไดวาเปนผูผลิต (producer)

2. แพลงกตอนสัตว (zooplankton)

ไดแก สัตวเซลลเดียว (โปรโตซัว) จนถึงสัตวหลายเซลลทีไ่มมีกระดูกสันหลัง ทั้งระยะตัวเต็มวัยและใน

Page 7: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

วัยออน มีทั้งหมด 16 phylum แพลงคตอนสัตวจัดอยูในอันดับที่สองและอันดับที่สามของหวงโซอาหาร

ในแหลงนํ้า โดยกินทั้งแพลงคตอนพืชและสัตวเปนอาหาร ดังน้ันแพลงกตอนสัตวจัดวาเปนผูบริโภค

(consumer)

หรืออาจแบงแพลงคตอนออกตามรูปแบบการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ไดแก

1. แพลงคตอนชั่วคราว คือสิ่งมีชีวิตที่บางชวงระยะของชีวิต ตรงกับนิยามของแพลงค็ตอน เชน ลูกปลา

ลูกกุง ที่ตัวเล็กๆๆ ยังไมมีระยางคในการเคลื่อนที่และปลอยใหตัวเองลอยไปตามกระแสนํ้า

2. แพลงคตอนถาวร คือเปนแพลงคตอนต้ังแตเกิดจนตาย

แพลงกตอนพืช

แพลงคตอนพืช ประกอบดวยสาหรายขนาดเล็กที่ลอยตัวเปนอิสระอยูในนํ้าน่ิงและนํ้าไหล

ได แพลงคตอนพืชบางชนิดเคลื่อนที่ไดเล็กนอยดวยแฟลกเจลลัม (flagellum) (สมศักด์ิ โชคนุกูล.

2537 : 33) สมิธ (Smith)ไดจําแนกแพลงคตอนพืชออกเปน 5 ดิวิชัน (Smith. 1950 ; อางอิงใน

ลัดดา วงศรัตน. 2539 ก : 14) คือ

1. ดิวิชันไซยาโนไฟตา (Division Cyanophyta) เปนสาหรายกลุมสีเขียวแกมนํ้าเงินจัดวา

เปนแพลงคตอนพืชที่มีวิวัฒนากรตํ่าสุด มีลักษณะคลายแบคทีเรีย เน่ืองจากมีเซลลเปนแบบโปรคาริ

โอติกเซลล (procaryotic cell) นักสาหรายวิทยาบางกลุมจึงเรียกสาหรายกลุมน้ีวาไซยาโนแบคทีเรีย

(cyanobacteria)

2. ดิวิชันคลอโรไฟตา (Division Chlorophyta) เปนกลุมของสาหรายสีเขียว (green algae)

ซึ่งสมาชิกกลุมน้ีมีความหลากหลายของชนิดมากมาย จึงทําใหลักษณะรูปรางแตกตางกันมาก อาศัยทั้ง

ในนํ้าจืด นํ้ากรอย และนํ้าเค็ม

2. ดิวิชันยูกลีโนไฟตา (Division Euglenophyta) เปนกลมสาหรายพวกยูกลีนอยด

(euglenoid) ที่มีรูปรางหลายแบบ ไมมีผนังหุมเซลล เคลื่อนที่ดวยแฟลกเจลลัม ซึ่งอยูที่สวนเวา (gullet)

พบในบริเวณแหลงนํ้าที่มีสารอินทรียไนโตรเจนเขมขนสูง

3. ดิวิชันไพรโรไฟตา (Division Pyrrophyta) เปนสาหรายกลุมไดโนแฟลกเจลเลต

(dinoflagellates) ที่เซลลมีรองตามขวางแบงเซลลออกเปน 2 สวนและมีรองตามยาวบนดานทอง

ภายในรองจะมีแฟลกเจลลัมรองละ 1 เสนรวม 2 เสนเพื่อชวยในการเคลื่อนที่ บางชนิดมีผนังหุมเปน

แผนเล็กหลายแผนตอกัน บางชนิดไมมีผนังหุม

4. ดิวิชันคริสโซไฟตา (Division Chrysophyta) เปนกลุมสาหรายสีนํ้าตาลแกมทอง

(golden brown algae) ซึ่งสมาชิกสวนใหญจะมีขนาดเล็กมาก (nanoplankton) บางชนิดไมมี

ผนังเซลล บางชนิดมีผิวเซลลปกคลุมดวยเกล็ดหรือแผนบาง ๆ

ประโยชนของแพลงคตอนพืช

Page 8: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

1. ในธรรมชาติ แพลงคตอนพืชถือเปนโครงสรางสําคัญของระบบนิเวศแหลงนํ้าในฐานะ

ผูผลิต โดยทําหนาที่ผลิตสารอินทรียจากอนินทรียสาร โดยอาศัยกระบวนการสังเคราะหแสง และ

อินทรียสารที่ผลิตได จะสงผลไปยังผูบริโภคลําดับตาง ๆ ในหวงโซอาหารหรือสายใยอาหารภายใน

ระบบนิเวศของแหลงนํ้า (สมศักด์ิ โชคนุกูล. 2537 : 34)

2. มีคุณคาทางอาหารสูงสามารถคัดเลือกสายพันธุที่มีคุณคาทางโภชนาการสูง ๆ มาเพาะเลี้ยง

แบบชนิดเด่ียว (monoculture) เพื่อผลิตโปรตีนจากแพลงคตอนพืชชนิดเดียวกัน

(single cell protein) สําหรับเปนอาหารเสริมของมนุษยและสัตวเลี้ยง เชน สุกร ไก เปด แพะ รวมทั้ง

ปลาวาฬ และกุง

3. เปนตัวชี้(indicator) ระดับความอุดมสมบูรณของแหลงนํ้าโดยสามารถวัดจากปริมาณ

คลอโรฟลลซึ่งเปนสัดสวนเดียวกับอัตราการสังเคราะหแสงของแพลงคตอนพืช

4. เปนตัวชี้กระแสนํ้าในทะเลและมหาสมุทร ในกรณีน้ีนิยมใชแพลงคตอนพืชที่มี

ขนาดใหญ

5. ชนิดของแพลงคตอนพืชใชเปนตัวชี้ความอุดมสมบูรณของแหลงนํ้าในธรรมชาติ ถาในทะเล

มีความอุดมสมบูรณมักจะพบไดอะตอมพวก Thalassiosira และ Chaetoceros แตถาเปนบริเวณที่มีแร

ธาตุอาหารตํ่าและสัตวนํ้านอย จะพบไดอะตอมพวก Rhizosolenia, Planktoniella เปนตน

6. ใชตรวจสอบภาวะมลพิษของแหลงนํ้า เชน Euglena viridis, Nitzschia palae, Oscillatoria

tonius, Oscillatoria limosa และ Scenedesmus quadricauda เปนแพลงคตอนพืช

ที่เปนดัชนี 5 อันดับแรกซึ่งแสดงวาเกิดภาวะมลพิษจากสารอินทรียในแหลงนํ้า (Palmer. 1969; อางถึง

ใน ลัดดา วงศรัตน. 2539 ก : 9 ) ในแหลงนํ้าปกติจะมีแพลงคตอนมากชนิดและแตละชนิดจะมีปริมาณ

ไมมาก แตถาจํานวนแพลงคตอนลดลงเหลือเพียง 2-3 ชนิดหรืออาจเหลือเพียงชนิดเดียวแตมีจํานวน

มากแสดงวาแหลงนํ้าน้ันเกิดมลภาวะ เชนกรณีการบลูมของนํ้า (water bloom) การเกิดนํ้าแดง หรือ ขี้

ปลาวาฬ (red water)

7. ใชแกปญหาภาวะมลพิษของแหลงนํ้า โดยแพลงคตอนพืชชวยผลิตออกซิเจนที่จะใช

ในการกําจัดสารอนินทรียที่ละลายอยูในนํ้าทิ้ง โดยวิธีทางชีวภาพในระบบบําบัดนํ้าเสีย ดวยการปลอย

นํ้าทิ้งลงในบอนํ้าขนาดใหญใหแพลงคตอนพืชใชสารอนินทรียที่ละลายอยูในนํ้าทําใหปริมาณสารอนิ

นทรียลดลงและทําใหแพลงคตอนพืชเจริญเติบโต นํ้าที่มีแพลงคตอนพืชเหลาน้ีสามารถนําไปเลี้ยงปลา

หรือ สัตวนํ้าอยางอ่ืนที่กินพืชเปนอาหารไดตอไป

8. ทางการแพทยใชแพลงคตอนพืชในการรักษาโรคตาง ๆ เชน Spirulina ใชรักษาโรค

ความดันโลหิตสูง โลหิตจาง โรคภูมิแพ มะเร็งในชองปาก ไขมันในเลือดสูง (Okudu. 1975; Rolle

and Palst. 1980; อางถึงใน ลัดดา วงศรัตน. 2539 ก : 10) ในประเทศสหรัฐอเมริกา สวนในประเทศ

ญ่ีปุนมีการนําเขาสาร Chlorella growth factor (CFC) จํานวนมากซึ่งสกัดไดจากการเพาะเลี้ยง

Chlorella sp. เพื่อใชบําบัดโรคในโรงพยาบาล (สมศักด์ิ โชคนุกูล. 2537 : 36)

Page 9: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

9. ใชในอุตสาหกรรม แพลงคตอนพืชที่ใชในอุตสาหกรรมแบงออกเปน 2 รูปแบบคือ

9.1 ใชในรูปของแพลงคตอนที่มีชีวิต เชนการนํา Spirulina, Skeletonema และ

Chaetoceros มาเพาะเลี้ยงสตัวนํ้าวัยออน นอกจากน้ันยังไดนํา Spirogyra มาเปนอาหารของมนุษย

9.2 ใชในรูปของซากเหลือ เชน diatomite เปนซากที่เกิดจากผนังเซลลของ

diatom ที่ตายทับถมกันนับลานปสามารถนํามาสรางเคร่ืองกรองนํ้ายาตาง ๆ ทําฉนวนกันความรอนใน

อุปกรณไฟฟา และใชเปนผงขัดโลหะตาง ๆ (ลัดดา วงศรัตน. 2539 ก : 10)

10. ใชเปนตัวผลิตนํ้ามัน แพลงคตอนพืชบางชนิดสามารถสรางเคโรเจน ซึ่งเปน

สารประกอบเคมีประเภทไฮโดรคารบอน ซึ่งมีโครงสรางที่สลับซับซอน สารประกอบเคโรเจนน้ีจะ

เปลี่ยนสภาพเปนนํ้ามันปโตรเลียมโดยขบวนการทางธรรมชาติ

11. ผลิตหินปูน (carbonate rock) ประกอบดวยแคไซดซึ่งเกิดจากสวนของเซลลที่ตายแลว

ของแพลงคตอนพืชหลายกลุม เชน แพลงคตอนพืชในดิวิชัน Chrysophyta โดยเฉพาะในกลุม

coccolithophorids สาหรายสีเขียว สาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงินบางชนิด

12. ใชในการศึกษาและทดลองทางวิทยาศาสตร แพลงคตอนพืชบางชนิดสามารถเลี้ยง

ไดงายในหองปฏิบัติการ เน่ืองจากเจริญเติบโตเร็วและชวงเวลาของวัฏจักรชีวิตสั้นนักวิทยาศาสตรจึง

นิยมนํามาใชศึกษาและทดลองทางดานชีววิทยา สรีรวิทยา และพิษวิทยา ชนิดของแพลงคตอนพืชที่

นิยมใชในการศึกษาไดแก Chlorella

แพลงกตอนสัตว

แพลงคตอนสัตว ประกอบดวยสัตวไมมีกระดูกสันหลังขนาดเล็กไมสามารถกําหนดทิศ

ทางการเคลื่อนที่ของตัวเองได รวมทั้งระยะตัวออน (larvae) หรือแมกระทั่งไขของสัตวมีกระดูกสัน

หลัง เชน ไขปลา (สมศักด์ิ โชคนุกูล. 2537 : 3)

ประเภทของแพลงคตอนสัตว

1. แพลงคตอนชั่วคราว (meroplankton) ไดแก ไขและตัวออนของสัตวนํ้า รวมทั้งไข

ของปลา และตัวออนของสัตวนํ้าชนิดอ่ืน ๆ เชน ตัวออนของหอย นอเพลียสของกุง ปู เปนตน แพ

ลงกตอนประเภทน้ีจะดํารงชีพเปนแพลงคตอนชวงระยะที่มันมีการเปลี่ยนแปลงรูปราง

(metamorphosis) อยูเทาน้ัน หลังจากการเปลี่ยนแปลงรูปรางจนเหมือนตัวพอแมแลวก็สิ้นสุดการดํารง

ชีพเปนแพลงคตอนทันที

2. แพลงคตอนถาวร (holoplankton) เปนสิ่งมีชีวิตในนํ้าที่ดํารงชีพเปนแพลงคตอนตลอด

ชีวิต เชน โคพีพอด หนอนธนู เปนตน

ลัดดา วงศรัตน (2539 ข : 2 ) ไดแบงแพลงคตอนสัตวที่พบแยกตามไฟลัมดังน้ี

1. Phylum Protozoa (protozoans)

Page 10: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

2. Phylum Coelenterata (coelenterates)

3. Phylum Ctenophora (comb jellies)

4. Phylum Platyhelminthes (flat worms)

5. Phylum Nemmertinea (ribbon worms)

6. Phylum Rotifer (rotifers)

7. Phylum Chaetognatha (arrow worms)

8. Phylum Annelida (segmented worms)

9. Phylum Arthropoda (arthropods)

10. Phylum Phonida (phoronids)

11. Phylum Ectoprocta (bryozoa, moss animals)

12. Phylum Brachiopoda (lamp shells)

13. Phylum Mollusca (mollusks)

14. Phylum Echinodermata (sea star)

15. Phylum Hemichordata (hemichordates)

16. Phylum Chordata (chordates)

ประโยชนของแพลงคตอนสัตว

1. เปนผูบริโภคขั้นตน (primary consumer) ในระบบนิเวศของแหลงนํ้า ซึ่งทําใหมีการ

ถายทอดพลังงานในหวงโซอาหาร

2. เปนอาหารของสัตวนํ้า ไดแก โคพีพอด ไรนํ้า โรติเฟอร เชน คริล (krill) เปนอาหาร

ที่สําคัญของปลาวาฬหลายชนิด อารทีเมีย ใชเปนอาหารของสัตวนํ้าวัยออน

3. เปนอาหารของมนุษย ไดแก แมงกะพรุน ในคลาส Scyphozoa เชน Rhopilemma

esculenta และ R.hispidium ครัสเตเชียนหลายชนิด เชน เคย (Acetes spp.) ซึ่งนํามาดัดแปลงเปน

ผลิตภัณฑกะป

4. ใชเปนตัวชี้ของกระแสนํ้า นิยมใชแพลงคตอนที่มีขนาดใหญเพื่อสะดวกในการแยกชนิด

ไดแก หนอนธนู หวีวุนบางชนิด เชน Ocyropsis crystallina, และ Cestum veneris ใชเปนตัวชี้ที่ดี

ของกระแสนํ้าอุนในทะเลแถบรอนหรือกึ่งรอน (Zheng Zhong. 1987; อางถึงใน ลัดดา วงศรัตน.

2539 ข : 3 ) แพลงคตอนหอย (pelagic mollusks) เชน Clione limacina เปนตัวชี้ของกระแสนํ้าเย็น

บริเวณทะเลเขตอบอุนถึงเขตหนาว ในขณะที่พวก Atlanta และ Janthina เปนตัวชี้กระแสนํ้าอุน ครัสเต

เชียนบางชนิด เชน Lucifer typus และ L.faxonii ใชเปนตัวชี้กระแสนํ้าอุนในประเทศบราซิล (ลัดดา

วงศรัตน. 2539 ข : 4)

5. เปนตัวชี้แหลงนํ้ามันและแหลงทําการประมง โปรโตซัว กลุมฟอรามินิเฟอแรน

Page 11: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

(foraminiferan) และ ราดิโอลาเรียน (radiolarian) เปนกลุมที่มีความสําคัญในการสํารวจแหลงนํ้ามันใน

ทะเลโดยเฉพาะ Globigerina ooze ซึ่งมีอาณาเขตถึง 1 ใน 3 ของพื้นที่ทองทะเลที่มีซากเปลือกของ

Globigerina ooze อาศัยอยู สวนแพลงคตอนสัตวที่เปนตัวบงชี้ความอุดมสมบูรณของแหลงทําการ

ประมงในเชิงบวก ไดแก ไมซิด (mysids) ยูฟาซิด (euphauside) โคพีพอด แพลงคตอนหอย สวนกลุม

ที่เปนตัวชี้ความอุดมสมบูรณของแหลงนํ้าในเชิงลบ(เปนกลุมกินแพลงคตอนอ่ืนหรือลูกปลา) ไดแก

แมงกะพรุน หนอนธนู หวีวุน เปนตน

6. ใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรม สวนใหญเปนวัตถุดิบที่ไดจากซากเหลือที่ทับทมกัน

ในทองทะเลที่เรียกวา Globigerina ooze และ radiolarian ooze กลาวคือซากของ Globigerina เปน

วัตถุดิบอยางดีในการผลิตซีเมนต และซากของพวกราดิดอลาเรียน มีเปลือกหุมประกอบดวยซิลิกาเปน

สวนใหญ จึงเหมาะสําหรับนํามาใชเปนวัตถุดิบปองกันเสียงและฉนวนกันความรอน

7. เปนประโยชนในการวิจัย วิทยาการสาขาตาง ๆ ซากเหลือที่ทับถมกันของเปลือกที่หุม

เซลลของโปรโตซัว ฝาหอยและออสตราคอด มีประโยชนในการศึกษาวิวัฒนาการของโลกในสาขา

ธรณีวิทยา และระบบนิเวศทางทะเล แพลงคตอนในกลุมครัสเตเชียนใชศึกษาสรีรวิทยาและชีวเคมีของ

การเรืองแสง แมงกระพรุนบางชนิดมีประโยชนในการทดลองสาขาเภสัชวิทยา โปรโตซัวบางชนิด

โดยเฉพาะพวกซิลิเอต (ciliate) โรติเฟอร และไรนํ้าบางชนิด มีความสําคัญในการเปนตัวชี้คุณสมบัติ

ของนํ้าที่มีปริมาณสารอินทรียสูง ๆ ซึ่งเปนประโยชนในการศึกษาเร่ืองสิ่งแวดลอมในนํ้า

ลักษณะภูมิประเทศของเกาะสีชัง

เกาะสีชัง เปนเกาะขนาดใหญมีเน้ือที่ 18 ตารางกิโลเมตร มีฐานะเปนอําเภอหน่ึงของจังหวัด

ชลบุรี อยูหางจากฝงศรีราชาประมาณ 12 กิโลเมตร ประกอบดวยเกาะเล็ก เกาะนอย 8 เกาะ ชุมชนเกาะ

สีชัง มี 7 หมูบาน มี 6 หมูบานอยูบนเกาะ สวนอีก 1 หมูบานอยูบนเกาะขาม ซึ่งอยูใกล ๆ กับเกาะสีชัง

เกาะสีชังเปนที่จอดพักเรือสินคานานาชาติ และเปนเกาะที่นาทองเที่ยวในบรรยากาศแบบทองถิ่น ซึ่ง

สามารถแวะทองเที่ยวในวันเดียวหรือพักคางคืนก็ได ชุมชนเกาะสีชังอยูทางดานตะวันออกของเกาะ

เปนที่ต้ังของทาเรือเทววงศ (ทาลาง) และเปนจุดเร่ิมตนการเดินทางดวยรถสามลอเคร่ืองหรือสกายแล็ป

ไปยังจุดอ่ืน ๆ เกาะสีชังมีทั้งโบราณสถาน ชายหาดและทิวทัศนที่งดงาม จุดทองเที่ยวบนเกาะสีชัง

ไดแก

ศาลเจาพอเขาใหญ ต้ังอยูบนเขาหางจากทาเรือเทววงศไปทางดานเหนือของเกาะ เปนสิ่ง

ศักด์ิสิทธิ์ที่ชาวเกาะสีชังใหความเคารพนับถือ ลักษณะเปนถ้ําซึ่งดัดแปลงเปนศาสนสถาน ที่ผสมผสาน

ดวยสถาปตยกรรมจีนและไทย จากบริเวณศาลมองเห็นทิวทัศนบานเรือนดานหนาเกาะไดชัดเจน

มณฑปรอยพระพุทธบาท อยูสูงขึ้นไปบนยอดเขาเดียวกับศาลเจาพอเขาใหญ รัชกาลที่ 5 ทรง

อัญเชิญมาประดิษฐานไว บนยอดเขาเปนจุดชมทิวทัศนทะเลไดโดยรอบ

Page 12: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ชองเขาขาด ต้ังอยูดานหลังของเกาะ หากน่ังเรือจะผานเห็นเปนชองเขา ในบริเวณมีสะพาน

สําหรับเดินชมทิวทัศน สามารถชมพระอาทิตยตกไดสวยงาม มีหาดหินกลม ซึ่งเต็มไปดวยหินกลม ๆ

ขนาดตาง ๆ มากมาย ในอดีดเคยเปนที่ต้ังพลับพลาที่ประทับชมทิวทัศนของรัชกาลที่ 5

พระจุฑาธุชราชฐาน หางจากทาเทววงศลงมาทางใตของเกาะ สรางในสมัยรัชกาลที่ 5 เพื่อเปน

ที่ประทับในฤดูรอน ภายในบริเวณมีสภาพภูมิทัศนที่งดงาม ดานหนาเปนชายหาดทาวัง ถัดขึ้นไปเปน

ตึกวัฒนา พระตําหนักทรงปนหยา เรือนไมลวดลายขนมปงขิง ตึกผองศรีหรือศาลาแปดเหลี่ยม ตึก

อภิรมย และวัดอัษฎางคนิมิตรบนยอดเขาซึ่งกอสรางแบบสถาปตยกรรมไทยผสมตะวันตก สวน

พระราชวังซึ่งทําดวยไมสักไดร้ือไปกอสรางเปนพระที่น่ังวิมานเมฆ ที่กรุงเทพฯ นอกจากน้ียังมี

สิ่งกอสรางอ่ืน ๆ ไดแก สระนํ้า บอนํ้า สะพานทาเทียบเรือและประภาคาร

หาดถ้ําเขาพัง ต้ังอยูดานตะวันตกของเกาะ เปนชายหาดกวาง สะอาดและสวยงาม มีทราย

ละเอียด นํ้าใสสะอาดเหมาะแกการเลนนํ้า

เกาะสีชังเปนที่ ต้ังของสถานีวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเล สถาบันวิจัยทรัพยากรแหลงนํ้า

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยซึ่งเปนสถานที่มีความสําคัญทางดานการพัฒนาทรัพยากรแหลงนํ้าและเปน

สถานที่ที่ผลิตนักวิจัยและเปดโอกาสใหนักวิจัยใชสถาบันวิจัยเปนสถานที่ในการทําวิจัย และทาง

สถาบันเองก็มีการทําวิจัยตาง ๆ มากมาย เชน โครงการกลั่นนํ้าทะเลใหเปนนํ้าจืดบริสุทธิ์ หรือ

เทคโนโลยีการผลิตนํ้าประปาแบบรีเวิรส ออสโมซิส ซึ่งเปนโครงการที่มีประโยชนตอประชาชนใน

อําเภอเกาะสีชังโดยตรงและยังเปนประโยชนในการพัฒนางานดานวิชาการ และมีผลตอเศรษฐกิจ

สังคมของประเทศตอไป

Page 13: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

วัตถุประสงค

1. เพื่อศึกษาชนิด ความหนาแนน ของแพลงกตอนพืช และ แพลงกตอนสัตว ในระบบนิเวศทางทะเล

บริเวณชายหาดทาวัง

2. เพื่อศึกษาความแตกตางของแพลงกตอนพืช และแพลงกตอนสัตว ระหวางชวงเวลานํ้าเกิดและนํ้า

ตาย และ นํ้าขึ้นและนํ้าลง

ประโยชนท่ีไดรับและการนําไปประยุกตใชในหนวยงาน

1. ผลจากการไดรับทุนน้ี

1.1 ใชสอนรายวิชาชีววิทยา เร่ืองความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศ และความสัมพันธของ

สิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดลอม

1.2 ใชความรูในการเปนที่ปรึกษาในการทําโครงงานวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

เร่ืองการศึกษาแพลงกตอนในระบบนิเวศนํ้าจืด

1.3 ใชงานวิจัยเปนสื่อการสอนวิชาชีววิทยา

1.4 นําความรูและทักษะกระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตรไปประยุกตใชและออกแบบกิจกรรมการ

เรียนการสอนวิชาชีววิทยาใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

1.5 นําความรูไปถายทอดแกเพื่อนครู นักเรียน และบุคคลทั่วไปที่สนใจได

1.6 มีผลงานวิจัยเพื่อนําไปใชสรางความกาวหนาในวิชาชีพครู

2. ผลประโยชนท่ีได

2.1 ตอตนเอง

1. มีความรูเกี่ยวกับการศึกษาแพลงกตอนที่สามารถนําไปเผยแพรและใชสอนในรายวิชา

ชีววิทยาที่โรงเรียนได

2. มีประสบการณตรงในการศึกษาหาความรูดานวิทยาศาสตรจากการวิจัย

3. ไดผลงานวิจัย เพื่อสามารถนําไปใชสรางความกาวหนาในวิชาชีพ

4. นําความรูและประสบการณที่ไดรับไปประยุกตใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชา

วิทยาศาสตรใหมีประสิทธิภาพ

2.2 ตอโรงเรียนและชุมชน

1. ไดพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความสามารถเพิ่มขึ้น

2. ไดตัวอยางของการพัฒนาครูที่โรงเรียนจะสงเสริมตอไป

3. เปนโรงเรียนตัวอยางของการพัฒนาครู

Page 14: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

อุปกรณและวิธีดําเนินการ

อุปกรณ

1. ถุงเก็บตัวอยางแพลงกตอน

2. ปเปต

3. ขวดเก็บตัวอยางนํ้า

4. เซดวิราฟเตอรแชมเบอร

5. กระบอกตวง

6. Petridish

7. กลองจุลทรรศน

วิธีดําเนินการ

1. บริเวณที่เก็บตัวอยาง

ชายฝงบริเวณชายหาดทาวัง และ ในทะเลบริเวณชายหาดทาวัง ในชวงเวลานํ้าเกิด ทั้งนํ้าขึ้น

และนํ้าลง และ ชวงเวลานํ้าตาย ทั้งนํ้าขึ้นและนํ้าลง

2. การเก็บตัวอยาง แบงเปนการเก็บตัวอยางบนบกบริเวณชายหาดทาวัง และ การเก็บในทะเลโดย

ใชเรือจุฬาวิจัย 1 มีรายละเอียดดังน้ี

ชายฝง : เก็บตัวอยางจํานวน 1 จุด บริเวณชายหาดทาวัง (รูปที่ 1, 2 ) โดยใชถุงกรองแพลงกตอน

รวม ขนาดตา 23 ไมครอน เสนผาศูนยกลางปากถุง 30 เซนติเมตร กรองนํ้าทะเลบริเวณชายหาดลึก 1

เมตร ปริมาตร 20 ลิตร รักษาสภาพดวยฟอรมาลีนความเขมขน 4% วิเคราะหชนิดและความหนาแนน

ทั้งแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตวในตัวอยางเดียวกัน

ทะเล : เก็บตัวอยางแพลงกตอนพืชจากเรือจุฬาวิจัย 1 โดยใชถุงลากแพลงกตอนพืชขนาดตาถี่ 23

ไมครอน เสนผาศูนยกลาง 0.45 เมตร ยาว 1.5 เมตร ลากแนวด่ิง และเก็บตัวอยางแพลงกตอนสัตว โดย

ใชถุงลากแพลงกตอนสัตวขนาดตาถี่ 230 ไมครอน เสนผาศูนยกลางปากถุง 0.45 เมตร ยาว 1.5 เมตร

ลากแนวด่ิงและรักษาตัวอยางดวยฟอรมาลีน 4%

2. การวิเคราะหตัวอยาง

แพลงกตอนพืช : ใชกลองจุลทรรศนกําลังขยายสูง แบบ Compound Microscope กําลงัขยายที่เลนส

วัตถุ 10 เทา จําแนกชนิด และ นับจํานวนเซลในแตละชนิด หนวย

*106จํานวนเซล/ลูกบาศกเมตร

Page 15: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

แพลงกตอนสัตว : ใชกลองจุลทรรศนกําลังขยายตํ่าแบบ ZoomSterioMicroscope จําแนกชนิดและ

นับจํานวนตัวในแตละชนิด หนวย จํานวนตัว/ลูกบาศกเมตร

Page 16: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ผลการศึกษา

1. แพลงกตอนพืชบริเวณชายหาดทาวัง ตามตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แพลงกตอนพืช: หาดทาวัง: ทะเล 9, 15 เมษายน 2550 ( ×106cells/m3)

พารามิเตอรนํ้าเกิด นํ้าตาย

นํ้าเกิด:นํ้าขึ้น นํ้าเกิด:นํ้าลง นํ้าตาย:นํ้าขึ้น นํ้าตาย:นํ้าลง

ความหนาแนนรวม 11.6716 18.6639 15.0982 18.4444

จํานวนชนิดรวม 17 13 14 18

BlueGreenAlgae_Density 0.0000 0.0000 0.0000 0.8299

Diatom_Density 11.3771 18.2468 14.0702 16.7579

Dinoflagellate_Density 0.2945 0.3212 1.0280 0.8566

Dominant_species Chaetoceros sp. Chaetoceros sp. Nitzchia sp. Chaetoceros sp.

BlueGreenAlgae_Group 0.0000 0.0000 0.0000 0.8299

Anabaena sp. 0.0000 0.0000 0.0000 0.8031

Diatom_Group 11.3771 18.2468 14.0702 16.7579

Rhizosolenia sp. 1.2582 1.6383 0.9958 0.8566

Nitzchia sp. 2.8911 5.0755 4.9471 4.5508

Chaetoceros sp. 4.7382 7.7096 4.1118 7.7632

Dinoflagellate_Group 0.2945 0.3212 1.0280 0.8566

Nocticlusa sp. 0.0268 0.0000 0.0000 0.0268

Ceratium sp. 0.0803 0.0321 0.3212 0.0803

Dinophysis sp. 0.1338 0.0000 0.0000 0.0000

Page 17: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ตารางที่ 2 แพลงกตอนพืช: หาดทาวัง: บนบก 8, 14 เมษายน 2550 ( ×106cells/m3)

พารามิเตอรนํ้าเกิด นํ้าตาย

นํ้าเกิด:นํ้าขึ้น นํ้าเกิด:นํ้าลง นํ้าตาย:นํ้าขึ้น นํ้าตาย:นํ้าลง

ความหนาแนนรวม 189.1100 191.6655 59.8000 215.6250

จํานวนชนิดรวม 14 10 11 14

BlueGreenAlgae_Group 0.0000 0.0000 0.0000 11.5000

Diatom_Group 183.9989 189.1099 58.6500 203.5500

Dinoflagellate_Group 5.1111 2.5556 1.1500 0.5750

Dominant_species Chaetoceros sp. Chaetoceros sp. Chaetoceros sp. Chaetoceros sp.

BlueGreenAlgae_Group

Anabaena sp. 0.0000 0.0000 0.0000 11.5000

Diatom_Group

Rhizosolenia sp. 21.7221 12.7770 7.4750 8.6250

Chaetoceros sp. 114.9993 136.7214 20.1250 124.2000

Nitzchia sp. 12.7777 17.8880 4.6000 22.4250

Dinoflagellate_Group

Nocticlusa sp. 1.2778 0.0000 0.0000 0.5750

Gymnodinium sp. 0.0000 1.2777 0.0000 0.0000

Ceratium sp. 2.5550 0.0000 0.0000 0.0000

Page 18: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ตารางที่ 3 แพลงกตอนสัตว:หาดทาวัง:ทะเล 8, 15 เมษายน 2550 ( ×106cells/m3)

พารามิเตอรนํ้าเกิด นํ้าตาย

นํ้าเกิด:นํ้าขึ้น นํ้าเกิด:นํ้าลง นํ้าตาย:นํ้าขึ้น นํ้าตาย:นํ้าลง

ความหนาแนนรวม 212 693 603 1,033

จํานวนชนิดรวม 4 7 9 8

Group_density

Protozoa 0 0 0 0

Cnidaria 0 10 30 34

Annelida 17 30 10 59

Sipunculida 0 0 0 0

Mollusca 0 0 10 0

Arthopoda 178 241 362 705

Echinodermata 0 0 0 0

Chaetognatha 0 402 131 235

Urochordata 0 0 0 0

Chordata 0 10 40 0

Page 19: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ตารางที่ 4 แพลงกตอนสัตว : หาดทาวัง:บนบก 9, 14 เมษายน 2550 ( ×106cells/m3)

พารามิเตอรนํ้าเกิด นํ้าตาย

นํ้าเกิด:นํ้าขึ้น นํ้าเกิด:นํ้าลง นํ้าตาย:นํ้าขึ้น นํ้าตาย:นํ้าลง

ความหนาแนนรวม 4,000 14,000 8,400 13,200

จํานวนชนิดรวม 3 9 5 6

Group_density

Protozoa 0 0 0 0

Cnidaria 0 0 0 0

Annelida 400 800 400 1,400

Sipunculida 0 0 0 0

Mollusca 0 2,400 2,400 400

Arthopoda 3,600 10,400 4,800 11,000

Echinodermata 0 0 0 0

Chaetognatha 0 0 800 400

Urochordata 0 400 0 0

Chordata 0 0 0 0

2. คุณภาพนํ้าทะเล บริเวณเก็บตัวอยาง ตามตารางที่ 5

ตารางที่ 5 คุณภาพนํ้าบริเวณหาดทาวัง ชวงนํ้าเกิดและนํ้าตาย เวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง

เดือนเมษายน 2550 (หมายเหตุ: หนวย temp = อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) Sali=ความ

เค็ม(สวนในพันสวน) DO=ปริมาณออกซิเจนละลาย (มก/ลิตร) trans=ความโปรงใส

(เมตร))

date tide hi_low st St temp sali pH DO trans

9 เม.ย. 50 นํ้าเกิด นํ้าขึ้น 3 ทาวัง 30.38 30.92 8.22 5.76 4.0

9 เม.ย. 50 นํ้าเกิด นํ้าลง 3 ทาวัง 30.81 32.09 8.28 3.0

15 เม.ย. 50 นํ้าตาย นํ้าขึ้น 3 ทาวัง 30.59 31.61 6.50 8.45 3.0

15 เม.ย. 50 นํ้าตาย นํ้าลง 3 ทาวัง 30.25 31.34 8.53 5.89 4.0

Page 20: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

สรุปผลและวิเจารณผลการศึกษา

การศึกษาชนิด ความหนาแนน ของแพลงกตอนพืช และ แพลงกตอนสัตว ในระบบนิเวศทาง

ทะเล บริเวณชายหาดทาวัง พบวา กลุม Diatom เปนแพลงกตอนพืชกลุมเดนที่พบจํานวนมาก

รองลงมาไดแก Dinoflagellate และ Blue green algae ชนิดของแพลงกตอนพืชกลุมเดนที่พบ ไดแก

Chaetoceros sp. Nitzchia sp. Rhizosolenia sp. Eucampia sp. และ Bacteriastrum sp. ตามลําดับ ศึกษา

ความสัมพันธ พบวาแพลงกตอนกลุมเดนมีผลตอความหนาแนนรวมของแพลงกตอนทั้งหมดใน

ลักษณะแปรผันตาม แพลงกตอนสัตวกลุมเดนที่พบคือกลุม Arthropoda เทียบเคียงกับจุดเก็บตัวอยาง

บริเวณอ่ืนในเกาะสีชังพบวา บริเวณทาวังมีความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชมากที่สุด

เปรียบเทียบความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตวบริเวณชายฝงและในทะเล

พบวาบริเวณชายฝงมีความหนาแนนรวมมากวาในทะเล

การศึกษาความแตกตางของแพลงกตอนพืช และแพลงกตอนสัตว ระหวางชวงเวลานํ้าเกิดและ

นํ้าตาย และ นํ้าขึ้นและนํ้าลง พบวา นํ้าขึ้นนํ้าลง และนํ้าเกิดนํ้าตาย มีความสัมพันธที่ไมชัดเจนตอความ

หนาแนนรวมและชนิดของแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตว

แพลงกตอนพืชกลุมที่พบไดแก

1. กลุม Diatom ไดแก

Chaetoceros sp.

Nitzchia sp.

Rhizosolenia sp.

Eucampia sp.

Bacteriastrum sp

Navicula sp.

Pleurosigma sp.

Coscinodescus sp.

Gyrosigma sp.

Diplonesis sp.

Guinaria sp.

Biduphia sp.

Laudaria sp.

Thallasseonema sp.

Odontella sp.

Page 21: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

2. กลุม Blue Green Algae ไดแก

Anabaena sp.

Spirulina sp.

3. กลุม Dinoflagellate ไดแก

Noctiluca sp.

Ceratium sp.

Dinophysis sp.

Peridinium sp.

Protoperidinium sp.

Gymnodinium sp.

แพลงกตอนสัตวกลุมที่พบไดแก

1. กลุม Cnidaria ไดแก

Hydromedusae

2. กลุม Annilida ไดแก

Polycaaete

3. กลุม Mollusca ไดแก

Bivalve

4. กลุม Arthropoda ไดแก

Copepod

Lucifer sp.

Lucifer larvae

Naplius larvae

Zoea larvae

5. กลุม Chaetognata ไดแก

Sagitta

6. กลุม Urochordata ไดแก

ตัวออนเพรียง

7. กลุม Chordata ไดแก

Fish egg

Page 22: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

1. เปรียบเทียบความหนาแนนรวมและจํานวนกลุมรวม แพลงกตอนพืช ในทะเล บริเวณหาดทาวัง

ระหวางเวลานํ้าเกิดและนํ้าตาย และนํ้าขึ้นและนํ้าลง

ตารางที่ 6 เปรียบเทียบแพลงกตอนพืช หาดทาวัง ในทะเลและบนบก ระหวางชวงนํ้าเกิด

และนํ้าตาย และ ระยะเวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง เดือนเมษายน พ.ศ.2550 ( ×106cells/m3)

พารามิเตอร บริเวณศึกษา

นํ้าเกิด นํ้าตาย

นํ้าเกิด:

นํ้าขึ้น

นํ้าเกิด:

นํ้าลง

นํ้าตาย:

นํ้าขึ้น

นํ้าตาย:

นํ้าลง

ความหนาแนนรวมหาดทาวัง:ทะเล 11.6716 18.6639 15.0982 18.4444

หาดทาวัง:บนบก 189.1100 191.6655 59.8000 215.6250

จํานวนชนิดรวมหาดทาวัง:ทะเล 17.0000 13.0000 14.0000 18.0000

หาดทาวัง:บนบก 14.0000 10.0000 11.0000 14.0000

BlueGreenAlgae_Densityหาดทาวัง:ทะเล 0.0000 0.0000 0.0000 0.8299

หาดทาวัง:บนบก 0.0000 0.0000 0.0000 11.5000

Diatom_Densityหาดทาวัง:ทะเล 11.3771 18.2468 14.0702 16.7579

หาดทาวัง:บนบก 183.9989 189.1099 58.6500 203.5500

Dinoflagellate_Densityหาดทาวัง:ทะเล 0.2945 0.3212 1.0280 0.8566

หาดทาวัง:บนบก 5.1111 2.5556 1.1500 0.5750

Page 23: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

เปรียบเทียบความหนาแนนรวม แพลงกตอนพืช

0

50

100

150

200

250

นํ้าเกิด:นํ้าขึ้น นํ้าเกิด:นํ้าลง นํ้าตาย:นํ้าข้ึน นํ้าตาย:นํ้าลง

x106cells/cu.m

หาดทาวัง:ทะเล หาดทาวัง:บนบก

รูปที่ 1 เปรียบเทียบความหนาแนนรวม แพลงกตอนพืช หาดทาวัง

จากรูปที่ 1 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมแพลงกตอนพืช หาดทาวัง ในทะเลและบนบก

ระหวางชวงนํ้าเกิด และนํ้าตาย และ ระยะเวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง เดือนเมษายน พ.ศ.2550 พบวา

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนพืช บริเวณหาดทาวัง บริเวณชายฝง มากกวาใน

ทะเลทุกชวงเวลาที่เก็บตัวอยาง

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนพืชในขณะนํ้าลงมากกวานํ้าขึ้น

- แพลงกตอนพืชมีความหนาแนนรวมตํ่าสุดในชวงนํ้าตาย-นํ้าขึ้น

Page 24: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

เปรียบเทียบ จํานวนกลุมรวม

0

5

10

15

20

น้ําเกดิ:น้ําขึ้น น้ําเกดิ:น้ําลง น้ําตาย:น้ําขึ้น น้ําตาย:น้ําลง

จํานวนกลุม

หาดทาวัง:ทะเล หาดทาวัง:บนบก

รูปที่ 2 เปรียบเทียบความจํานวนกลุมรวม แพลงกตอนพืช หาดทาวัง

จากตารางที่ 2 เปรียบเทียบความจํานวนกลุมรวม แพลงกตอนพืช หาดทาวัง ในทะเลและบน

บก ระหวางชวงนํ้าเกิด และนํ้าตาย และ ระยะเวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง เดือนเมษายน พ.ศ.2550

พบวา

- จํานวนกลุมรวมแพลงกตอนพืช บริเวณหาดทาวัง ในทะเลมากกวาบริเวณชายฝง

ทุกชวงเวลาที่เก็บตัวอยาง

Page 25: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

เปรียบเทียบ ความหนาแนนรวม กลุมไดอะตอม

0

50

100

150

200

250

นํ้าเกิด:นํ้าข้ึน นํ้าเกิด:นํ้าลง นํ้าตาย:นํ้าข้ึน นํ้าตาย:นํ้าลง

x106

cells/cu.m

หาดทาวัง:ทะเล หาดทาวัง:บนบก

รูปที่ 3 เปรียบเทียบความหนาแนนรวม กลุมไดอะตอม หาดทาวัง

จากรูปที่ 3 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมแพลงกตอนพืช กลุมไดอะตอม หาดทาวัง ใน

ทะเลและบนบก ระหวางชวงนํ้าเกิด และนํ้าตาย และ ระยะเวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง เดือนเมษายน พ.ศ.

2550 พบวา

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนพืชกลุมไดอะตอม หาดทาวัง บริเวณชายฝง

มากกวาในทะเลทุกชวงเวลาที่เก็บตัวอยาง

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนพืชกลุมไดอะตอม ในขณะนํ้าลงมากกวานํ้าขึ้นทุก

ชวงเวลาที่เก็บตัวอยาง

- แพลงกตอนพืชกลุมไดอะตอมบริเวณชายฝง มีความหนาแนนรวมตํ่าสุดในชวงนํ้า

ตาย-นํ้าขึ้น

Page 26: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

เปรียบเทียบความหนาแนนรวมกลุมไดโนแฟลกเจลเลต

0

1

2

3

4

5

6

น้ําเกดิ:น้ําขึ้น น้ําเกดิ:น้ําลง น้ําตาย:น้ําขึ้น น้ําตาย:น้ําลง

x106 cells/cu.m

หาดทาวัง:ทะเล หาดทาวัง:บนบก

รูปที่ 4 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมกลุมไดโนแฟลกเจลเลต หาดทาวัง

จากรูปที่ 4 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมแพลงกตอนพืช กลุมไดโนแฟลกเจลเลต หาดทา

วัง ในทะเลและบนบก ระหวางชวงนํ้าเกิด และนํ้าตาย และ ระยะเวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง เดือนเมษายน

พ.ศ.2550 พบวา

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนพืชกลุมไดโนแฟลกเจลเลต หาดทาวัง บริเวณ

ชายฝง มากกวาในทะเลทุกชวงเวลาที่เก็บตัวอยาง

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนพืชกลุมไดโนแฟลกเจลเลต ในขณะนํ้าเกิด

มากกวานํ้าตายทุกชวงเวลาที่เก็บตัวอยาง

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนพืชกลุมไดโนแฟลกเจลเลต บริเวณชายฝง มีความ

หนาแนนรวมในขณะนํ้าเกิดมากกวานํ้าตายทุกชวงเวลาที่เก็บตัวอยาง

- แพลงกตอนพืชกลุมไดโนแฟลกเจลเลตมีความหนาแนนรวมสูงสุดบริเวณชายฝง

ในชวงนํ้าเกิด-นํ้าขี้น

Page 27: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

2. เปรียบเทียบความหนาแนนรวมและจํานวนกลุมรวม แพลงกตอนสัตว ในทะเล บริเวณ หาดทา

วัง ระหวางเวลานํ้าเกิดและนํ้าตาย และนํ้าขึ้นและนํ้าลง

ตารางที่ 7 เปรียบเทียบแพลงกตอนสัตว หาดทาวัง ในทะเลและชายฝง ระหวางชวงนํ้าเกิดและนํ้าตาย

และ ระยะเวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง เดือนเมษายน พ.ศ.2550 ( ×106cells/m3)

พารามิเตอร บริเวณศึกษา

นํ้าเกิด นํ้าตาย

นํ้าเกิด:

นํ้าขึ้น

นํ้าเกิด:

นํ้าลง

นํ้าตาย:

นํ้าขึ้น

นํ้าตาย:

นํ้าลง

ความหนาแนนรวม หาดทาวัง:ทะเล 212 693 603 1,033

หาดทาวัง:ชายฝง 4,000 14,000 8,400 13,200

จํานวนชนิดรวม หาดทาวัง:ทะเล 4 7 9 8

หาดทาวัง:ชายฝง 3 9 5 6

Group_density

Cnidaria หาดทาวัง:ทะเล 0 10 30 34

หาดทาวัง:ชายฝง 0 0 0 0

Annelida หาดทาวัง:ทะเล 17 30 10 59

หาดทาวัง:ชายฝง 400 800 400 1,400

Arthopoda หาดทาวัง:ทะเล 178 241 362 705

หาดทาวัง:ชายฝง 3,600 10,400 4,800 11,000

Page 28: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

เปรียบเทียบความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว หาดทาวัง เดือนเมษายน 2550

0

2,000

4,000

6,000

8,000

10,000

12,000

14,000

16,000

นํ้าเกิด:นํ้าข้ึน นํ้าเกิด:นํ้าลง นํ้าตาย:นํ้าข้ึน นํ้าตาย:นํ้าลง

ตัว/ลบ.เมตร

หาดทาวงั:ทะเล หาดทาวงั:ชายฝง

รูปที่ 5 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว หาดทาวัง เดือนเมษายน พ.ศ.2550

จากรูปที่ 5 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว หาดทาวัง ในทะเลและบนบก

ระหวางชวงนํ้าเกิด และนํ้าตาย และ ระยะเวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง เดือนเมษายน พ.ศ.2550 พบวา

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว หาดทาวัง บริเวณชายฝง มากกวาในทะเลทุก

ชวงเวลาที่เก็บตัวอยาง

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว ในขณะนํ้าลงมากกวานํ้าขึ้นทุกชวงเวลาที่

เก็บตัวอยาง

- แพลงกตอนสัตว มีความหนาแนนรวมสูงสุดบริเวณชายฝงในชวงนํ้าเกิด-นํ้าลง

เปรียบเทียบจํานวนกลุมรวมแพลงกตอนสัตว หาดทาวัง เดือนเมษายน 2550

0

2

4

6

8

10

น้ําเกิด:น้ําข้ึน น้ําเกิด:น้ําลง น้ําตาย:น้ําข้ึน น้ําตาย:น้ําลง

ตัว/ลบ.เมตร

หาดทาวัง:ทะเล หาดทาวัง:ชายฝง

Page 29: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

รูปที่ 6 เปรียบเทียบความจํานวนกลุมรวม แพลงกตอนสัตว หาดทาวัง

จากรูปที่ 6 เปรียบเทียบจํานวนกลุมรวมแพลงกตอนสัตว หาดทาวัง ในทะเลและบนบก

ระหวางชวงนํ้าเกิด และนํ้าตาย และ ระยะเวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง เดือนเมษายน พ.ศ.2550 พบวา

- จํานวนกลุมรวมแพลงกตอนสัตว หาดทาวัง บริเวณชายฝง มีจํานวนกลุมรวม

ขณะนํ้าลงมากกวานํ้าขึ้น

เปรียบเทยีบความหนาแนนรวมกลุมAnnelida ทะเลและชายฝง หาดทาวงั

0

200

400

600

800

1,000

1,200

1,400

นํ้าเกิด:นํ้าข้ึน นํ้าเกิด:นํ้าลง นํ้าตาย:นํ้าข้ึน นํ้าตาย:นํ้าลง

ตัว/ล

บ.เม

ตร

หาดทาวงั:ทะเล หาดทาวงั:ชายฝง

วงั

รูปที่ 7 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมกลุม Annilida หาดทาวัง

จากรูปที่ 7 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว กลุม Annelida หาดทาวัง ในทะเล

และบนบก ระหวางชวงนํ้าเกิด และนํ้าตาย และ ระยะเวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง เดือนเมษายน พ.ศ.2550

พบวา

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว กลุม Annelida หาดทาวัง บริเวณชายฝง

มากกวาในทะเลทุกชวงเวลาที่เก็บตัวอยาง

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว กลุม Annelida ในขณะนํ้าลงมากกวานํ้าขึ้น

ทุกจุดที่เก็บตัวอยาง

- แพลงกตอนสัตว กลุม Annelida มีความหนาแนนรวมสูงสุดบริเวณชายฝงในชวง

นํ้าตาย-นํ้าลง

Page 30: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

เปรียบเทียบความหนาแนนรวมกลุมArthopoda ทะเลและชายฝง หาดทาวัง

0

2,000

4,000

6,000

8,000

10,000

12,000

นํ้าเกิด:นํ้าขึ้น นํ้าเกิด:นํ้าลง นํ้าตาย:นํ้าขึ้น นํ้าตาย:นํ้าลง

ตัว/ล

บ.เม

ตร

หาดทาวัง:ทะเล หาดทาวัง:ชายฝง

รูปที่ 8 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมกลุม Arthopoda หาดทาวัง

จากรูปที่ 8 เปรียบเทียบความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว กลุม Annelida หาดทาวัง ใน

ทะเลและบนบก ระหวางชวงนํ้าเกิด และนํ้าตาย และ ระยะเวลานํ้าขึ้นและนํ้าลง เดือนเมษายน พ.ศ.

2550 พบวา

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว กลุม Arthopoda หาดทาวัง บริเวณชายฝง

มากกวาในทะเลทุกชวงเวลาที่เก็บตัวอยาง

- ความหนาแนนรวมแพลงกตอนสัตว กลุม Arthopoda ในขณะนํ้าตายมากกวานํ้า

เกิดทุกจุดที่เก็บตัวอยาง

- แพลงกตอนสัตว กลุม Arthopoda มีความหนาแนนรวมสูงสุดบริเวณชายฝง

ในชวงนํ้าตาย-นํ้าลง

3. ชนิดทั้งหมดและความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืช (และแพลงกตอนสัตว)

ตารางที่ 8 ชนิดทั้งหมดและความหนาแนนรวม(จํานวนเซล/ลูกบาศกเมตร) ของแพลงกตอน

พืชทั้งหมดและแพลงกตอนพืชชนิดเดน 3 ชนิด บริเวณหาดทาวัง ระหวางชวงนํ้าเกิดและนํ้า

ตาย และนํ้าขึ้นและนํ้าลง (ในทะเล) ( ×106cells/m3)

Page 31: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ชวงเวลา

ขอมูล

นํ้าเกิด นํ้าตาย

นํ้าขึ้น นํ้าลง นํ้าขึ้น นํ้าลง

จํานวนชนิดรวม 17 13 14 18

ความหนาแนนรวม 11.6716 18.6639 15.0982 18.4444

Chaetoceros sp. 4.7382 7.7096 4.1118 7.7632

Nitzchia sp. 2.8911 5.0755 4.9471 4.5508

Rhizosolenia sp. 1.2582 1.6383 0.9958 0.8566

0

24

68

10

1214

1618

20

น้ําเกิด:น้ําข้ึน น้ําเกิด:น้ําลง น้ําตาย:น้ําข้ึน น้ําตาย:น้ําลง

Chaetoceros sp.

Nitzchia sp.

Rhizosolenia sp.

ความหนาแนนรวม

รูปที่ 9 ความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชทั้งหมดและความหนาแนนของแพลงกตอนพืช

กลุมเดน บริเวณหาดทาวังระหวางนํ้าเกิดและนํ้าตาย นํ้าขึ้นและนํ้าลง (เก็บตัวอยางในทะเล)

( ×106cells/m3)

ตารางที่ 9 ชนิดทั้งหมดและความหนาแนนรวม(จํานวนเซล/ลูกบาศกเมตร) ของแพลงกตอน

พืชทั้งหมดและแพลงกตอนพืชชนิดเดน 3 ชนิด บริเวณหาดทาวัง ระหวางชวงนํ้าเกิดและนํ้า

ตาย และนํ้าขึ้นและนํ้าลง (บริเวณชายฝง) ( ×106cells/m3)

ชวงเวลา

ขอมูล

นํ้าเกิด นํ้าตาย

นํ้าเกิด:นํ้าขึ้น นํ้าเกิด:นํ้าลง นํ้าตาย:นํ้าขึ้น นํ้าตาย:นํ้าลง

ความหนาแนนรวม 189.1100 191.6655 59.8000 215.6250

Page 32: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

จํานวนชนิดรวม 14 10 11 14

Rhizosolenia sp. 21.7221 12.7770 7.4750 8.6250

Chaetoceros sp. 114.9993 136.7214 20.1250 124.2000

Nitzchia sp. 12.7777 17.8880 4.6000 22.4250

0

50

100

150

200

250

น้ําเกิด:น้ําข้ึน น้ําเกิด:น้ําลง น้ําตาย:น้ําข้ึน น้ําตาย:น้ําลง

Chaetoceros sp.

Rhizosolenia sp.

Nitzchia sp.

ความหนาแนนรวม

รูปที่ 10 ความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชทั้งหมดและความหนาแนนของแพลงกตอน

พืชกลุมเดน บริเวณหาดทาวังระหวางนํ้าเกิดและนํ้าตาย นํ้าขึ้นและนํ้าลง (เก็บตัวอยางบริเวณ

ชายฝง) ( ×106cells/m3)

จากการศึกษาความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชกลุมเดน คือ Rhizosolenia sp.

Chaetoceros sp. และ Nitzchia sp. ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืช

บริเวณหาดทาวังทั้งบริเวณชายฝงและในทะเล ระหวางนํ้าเกิดและนํ้าตาย นํ้าขึ้นและนํ้าลง พบวา แพ

ลงกตอนพืชกลุมเดนทั้ง 3 จีนัส มีผลตอความหนาแนนรวมของแพลงกตอนพืชทั้งหมด

Page 33: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

เอกสารอางอิง

พเยาว ยินดีสุข และคณะ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4.

กรุงเทพฯ : สถาบนัพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.), 2546.

พิมพันธ เดชะคุปต และคณะ. ชีววิทยาพื้นฐาน ชวงชั้นที่ 4 (ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6). กรุงเทพฯ :

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.), 2546.

ลัดดา วงศรัตน. แพลงคตอนพืช. กรุงเทพฯ : ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2539ก.

สมพิศ เผือกสอาด. การศึกษาแพลงคตอนบริเวณชายฝงทะเลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต(ชีววิทยา). ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา, 2542.

Page 34: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยน้ีไดรับทุนสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ภายใตโครงการครุวิจัย

ความรู กระบวนการเรียนรูและประสบการณที่ไดรับจาการทําวิจัยสามารถนําไปประยุกตใชใน

กิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาชีววิทยาที่สอนไดเปนอยางดี

ขอขอบคุณ คุณสมภพ รุงสุภา นักวิจัยพี่เลี้ยงที่ทําหนาที่ไดอยางสมบูรณและไมรูจักเหน็ด

เหน่ือย ประทับใจในความมุงมั่นในการทํางานของผูอํานวยการและนักวิจัยทุกทาน ขอขอบคุณ

สํานักงานสงเสริมการวิจัย และสถาบันวิจัยทรัพยากรทางนํ้า จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยที่ใหการ

สนับสนุน และเปดโอกาสใหครูไดพัฒนาความรู เพื่อใหครูเปนครูที่ ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป ขอขอบคุณ

ผูอํานวยการโรงเรียนเขื่อนชางวิทยาคารที่อนุญาตใหมาทําการวิจัยเพื่อพัฒนาความรูความสามารถ

ขอบคุณเพื่อน ๆ และพี่ ๆ ครูทุกคนในศูนยที่ใหความชวยเหลือดวยดีเสมอมา เพื่อกาวไปสูจุดหมาย

เดียวกันคือ พัฒนาการศึกษาใหกาวหนา เพื่อใหเยาวชนของชาติเปนคนเกง คนดี และสามารถอยูใน

สังคมไดอยางมีความสุข

Page 35: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ภาคผนวก

Page 36: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

รูปที่ 1 แผนที่จุดเก็บตัวอยางแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตว เกาะสีชัง ชลบุรี

ทาวัง

หาดทรายแกว

เกาะสีชัง

เกาะรานดอกไม

หาดถ้ําพัง

แหลมงู

ทาบน

เกาะสัมปนย้ือ

Page 37: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

รูปที่ 2 ภาพถายทางอากาศแสดงลักษณะบริเวณ รูปที่ 3 ลักษณะบริเวณหาดทาวัง เกาะสี

ชัง จ.ชลบุรี

หาดทาวัง เกาะสีชัง จ.ชลบุรี

รูปที่ 6 สไลดนับจํานวน ความจุ 1 cm3 รูปที่ 7 จานแกว Petri dish

รูปที่ 4 ถุงลากแพลงกตอน รูปที่ 5 ขวดเก็บตัวอยางแพลงกตอน

Page 38: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

รูปที่ 8 กลองจุลทรรศนกําลังขยายสูงชนิดสองตา รูปที่ 9 กลองจุลทรรศนกําลังขยายตํ่า

รูปที่ 10 แสดงวิธีการเก็บตัวอยางแพลงกตอนในทะเล

รูปที่11 แสดงวิธีการเก็บตัวอยางแพลงกตอนบริเวณชายฝง รูปที่ 12 การศึกษาทางอนุกรมวิธานใน

หองปฏิบัติการ

Page 39: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ตารางบันทึกขอมูลการเก็บตัวอยางแพลงกตอน

หมายเลขขวดเก็บตัวอยาง TW1

ชื่อผูเก็บ นางสาวศรวณีย ลาเต

วัน/เดือน/ป 8 เมษายน 2550 เวลา 11.32 น. (นํ้าลง)

สถานที่เก็บ ชายฝงบริเวณทาวัง

ชายฝงบริเวณทาวัง

ปริมาตรตัวอยาง 230 มิลลิลิตร

ปริมาตรนํ้าที่กรอง 20 ลิตร

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนพืชจํานวนรวม

/จํานวนชองที่ดู 9ชอง

จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร

( ×106cells/m3)

1 Rhizosolenia sp. 10 12.7777

2 Chaetoceros sp. 107 136.7214

3 Navicula sp. 5 6.3889

4 Nitzchia sp.. 14 17.8888

5 Pleurosigma sp. 4 5.1111

6 Coscinodescus sp. 1 1.2778

7 Gyrosigma sp. 2 2.5555

8 Gymnodinium sp. 1 1.2778

9 Diplonesis sp. 1 1.2778

10 Guinaria sp. 5 6.3889

รวม : 191.6655

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนสัตวจํานวนตัว/ลูกบาศก

เมตร

1 copepod 5600

2 ตัวออนเพรียงหิน 400

3 nauplius 2800

4 polychate 800

5 ตัวออนหอยสองฝา 800

6 ตัวออนหอยฝาเดียว 1600

Page 40: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

7 ตัวออน nauplius 1200

8 cladosera (ไรนํ้าเค็ม) 400

9 roucifer 400

รวม : 14000

หมายเลขขวดเก็บตัวอยาง TW2

ชื่อผูเก็บ นางสาวศรวณีย ลาเต

วัน/เดือน/ป 8 เมษายน 2550 เวลา 15.20 น.(นํ้าขึ้น)

สถานที่เก็บ ชายฝงบริเวณทาวัง

ชายฝงบริเวณทาวัง

ปริมาตรตัวอยาง 230 มิลลิลิตร

ปริมาตรนํ้าที่กรอง 20 ลิตร

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนพืชจํานวนรวม

/จํานวนชองที่ดู 9ชอง

จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร

( ×106cells/m3)

1 Rhizosolenia sp. 17 21.7221

2 Chaetoceros sp. 90 114.9993

3 Navicula sp. 2 2.5555

4 Nitzchia sp. 10 12.7777

5 Pleurosigma sp. 1 1.2778

6 Coscinodescus sp. 2 2.5555

7 Gyrosigma sp. 3 3.8333

8 Peridinium sp. 1 1.2778

9 Rhizosolenia sp. 1 1.2778

10 Guinaria sp. 2 2.5555

11 Bacteriastrum sp. 11 14.0555

12 Noctiluca sp. 1 1.2778

13 Ceratium sp. 2 2.5555

14 Biduphia sp. 5 6.3889

รวม : 189.1100

Page 41: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนสัตว

จํานวนตัว/ลูกบาศก

เมตร

1 copepod 1200

2 nauplius 2400

3 polychate 400

รวม : 4000

หมายเลขขวดเก็บตัวอยาง TW3

ชื่อผูเก็บ นางสาวศรวณีย ลาเต

วัน/เดือน/ป 9 เมษายน 2550 เวลา 14.50 น.(นํ้าลง)

ระดับความลึก 5 เมตร ลักษณะการลาก แนวด่ิง

สถานที่เก็บ ในทะเลบริเวณทาวัง

ปริมาตรตัวอยาง 230 มิลลิลิตร

ปริมาตรนํ้าที่ลาก 0.7955 ลูกบาศกเมตร

ถุงลากแพลงกตอนมีเสนผานศูนยกลางปากถุง 0.45 เมตร

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนพืชจํานวนรวม

/จํานวนชองที่ดู 9ชอง

จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร

( ×106cells/m3)

1 Rhizosolenia sp. 51 1.6383

2 Chaetoceros sp. 240 7.7097

3 Navicula sp. 10 0.3212

4 Nitzchia sp. 158 5.0756

5 Pleurosigma sp. 9 0.2891

6 Coscinodescus sp. 1 0.0321

7 Gyrosigma sp. 9 0.2891

8 Eucambia sp. 65 2.0880

9 Laudaria sp. 7 0.2249

10 Guanaria sp. 1 0.0321

11 Bacteriastrum sp. 23 0.7388

12 Biduphia sp. 3 0.0964

13 Ceratium sp. 1 0.0321

Page 42: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

14 Biduphia sp. 3 0.0964

รวม : 18.6639

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนสัตว

จํานวนตัว/ลูกบาศก

เมตร

1 copepod 221

2 Actino larvae 10

3 polychate 20

4 sagita 402

5 roucifer 20

6 fish larvae 10

7 hydromedusae 10

รวม : 693

หมายเลขขวดเก็บตัวอยาง TW4

ชื่อผูเก็บ นางสาวศรวณีย ลาเต

วัน/เดือน/ป 9 เมษายน 2550 เวลา 08.50 น.(นํ้าขึ้น)

ระดับความลึก 6 เมตร ลักษณะการลาก แนวด่ิง

สถานที่เก็บ ในทะเลบริเวณทาวัง

ปริมาตรตัวอยาง 230 มิลลิลิตร

ปริมาตรนํ้าที่ลาก 0.9546 ลูกบาศกเมตร

ถุงลากแพลงกตอนมีเสนผานศูนยกลางปากถุง 0.45 เมตร

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนพืชจํานวนรวม

/จํานวนชองที่ดู 9ชอง

จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร

( ×106cells/m3)

1 Rhizosolenia sp. 47 1.2582

2 Chaetoceros sp. 177 4.7382

3 Navicula sp. 8 0.2142

4 Nitzchia sp. 108 2.8911

5 Pleurosigma sp. 25 0.6692

6 Coscinodescus sp. 2 0.0535

7 Gyrosigma sp. 3 0.0803

Page 43: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

8 Eucambia sp. 18 0.4819

9 Laudaria sp. 2 0.0535

10 Guanaria sp. 3 0.0803

11 Bacteriastrum sp. 24 0.6425

12 Ceratium sp. 3 0.0803

13 Noctiluca sp. 1 0.0268

14 Peridinium sp. 2 0.0535

15 Diplonesis sp. 2 0.0535

16 Dinophysis sp. 5 0.1338

17 Thallasseonema sp. 6 0.1606

รวม : 11.6716

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนสัตว

จํานวนตัว/ลูกบาศก

เมตร

1 copepod 67

2 polychate 17

3 roucifer 36

4 hydromedusae 17

5 75

รวม : 212

หมายเลขขวดเก็บตัวอยาง TW5

ชื่อผูเก็บ นางสาวศรวณีย ลาเต

วัน/เดือน/ป 14 เมษายน 2550 เวลา 11.00 น. (นํ้าขึ้น)

ปริมาตรตัวอยาง 230 มิลลิลิตร

สถานที่เก็บ ชายฝงบริเวณทาวัง

ปริมาตรนํ้าที่กรอง 20 ลิตร

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนพืชจํานวนรวม

/จํานวนชองที่ดู 9ชอง

จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร

( ×106cells/m3)

1 Rhizosolenia sp. 13 7.4750

2 Chaetoceros sp. 35 20.1250

3 Navicula sp. 2 1.1500

Page 44: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

4 Nitzchia sp. 8 4.6000

5 Pleurosigma sp. 4 2.3000

6 Eucampia sp. 25 14.3750

7 Laudaria sp. 1 0.5750

8 Dinophysis sp. 1 0.5750

9 Bacteriastrum sp. 13 7.4750

10 Guinaria sp. 1 0.5750

11 Protoperidinium sp. 1 0.5750

รวม : 59.8000

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนสัตว

จํานวนตัว/ลูกบาศก

เมตร

1 copepod 4400

2 sagitta 800

3 nauplius 400

4 polychate 400

5 ตัวออนหอยสองฝา 2400

รวม : 8400

หมายเลขขวดเก็บตัวอยาง TW6

ชื่อผูเก็บ นางสาวศรวณีย ลาเต

วัน/เดือน/ป 14 เมษายน 2550 เวลา 16.15.00 น. (นํ้าลง)

สถานที่เก็บ ชายฝงบริเวณทาวัง

ชายฝงบริเวณทาวัง

ปริมาตรตัวอยาง 230 มิลลิลิตร

ปริมาตรนํ้าที่กรอง 20 ลิตร

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนพืชจํานวนรวม

/จํานวนชองที่ดู 9ชอง

จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร

( ×106cells/m3)

1 Rhizosolenia sp. 15 8.6250

2 Chaetoceros sp. 216 124.2000

3 Navicula sp. 4 2.3000

4 Nitzchia sp. 39 22.4250

Page 45: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

5 Pleurosigma sp. 1 0.5750

6 Eucampia sp. 54 31.0500

7 Laudaria sp. 14 8.0500

8 Odontella sp. 1 0.5750

9 Bacteriastrum sp. 5 2.8750

10 Anabaena sp. 20 11.5000

11 Coscinodescus sp. 1 0.5750

12 Thallaseonema sp. 3 1.7250

13 Gyrosigma sp. 1 0.5750

14 Notiluca sp. 1 0.5750

รวม : 215.6250

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนสัตว

จํานวนตัว/ลูกบาศก

เมตร

1 copepod 8600

2 sagitta 400

3 nauplius 2400

4 polychate 1400

5 ตัวออนหอยสองฝา 200

6 ตัวออนหอยฝาเดียว 200

รวม : 13200

หมายเลขขวดเก็บตัวอยาง TW7

ชื่อผูเก็บ นางสาวศรวณีย ลาเต

วัน/เดือน/ป 15 เมษายน 2550 เวลา 08.31 น.(นํ้าขึ้น)

ระดับความลึก 5 เมตร ลักษณะการลาก แนวด่ิง

สถานที่เก็บ ในทะเลบริเวณทาวัง

ปริมาตรตัวอยาง 230 มิลลิลิตร

ปริมาตรนํ้าที่ลาก 0.7955 ลูกบาศกเมตร

ถุงลากแพลงกตอนมีเสนผานศูนยกลางปากถุง 0.45 เมตร

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนพืชจํานวนรวม

/จํานวนชองที่ดู 9ชอง

จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร

( ×106cells/m3)

Page 46: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

1 Rhizosolenia sp. 31 0.9958

2 Chaetoceros sp. 128 4.1118

3 Navicula sp. 14 0.4497

4 Nitzchia sp. 154 4.9471

5 Pleurosigma sp. 10 0.3212

6 Coscinodescus sp. 1 0.0321

7 Gyrosigma sp. 3 0.0964

8 Eucambia sp. 108 3.4694

9 Laudaria sp. 13 0.4176

10 Guanaria sp. 1 0.0321

11 Dinophysis sp. 3 0.0964

12 Ceratium sp. 1 0.0321

13 Odentella sp. 2 0.0642

14 Peridinium sp. 1 0.0321

รวม : 15.0982

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนสัตว

จํานวนตัว/ลูกบาศก

เมตร

1 copepod 282

2 polychate 10

3 roucifer 70

4 hydromedusae 30

5 sagita 131

6 napleus 20

7 ตัวออนหอยสองฝา 10

8 ตัวออนปู 10

9 ตัวออนปลา 40

รวม : 603

หมายเลขขวดเก็บตัวอยาง TW8

ชื่อผูเก็บ นางสาวศรวณีย ลาเต

Page 47: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

วัน/เดือน/ป 15 เมษายน 2550 เวลา 13.20 น.(นํ้าลง)

ระดับความลึก 6 เมตร ลักษณะการลาก แนวด่ิง

สถานที่เก็บ ในทะเลบริเวณทาวัง

ปริมาตรตัวอยาง 230 มิลลิลิตร

ปริมาตรนํ้าที่ลาก 0.9546 ลูกบาศกเมตร

ถุงลากแพลงกตอนมีเสนผานศูนยกลางปากถุง 0.45 เมตร

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนพืชจํานวนรวม

/จํานวนชองที่ดู 9ชอง

จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร

( ×106cells/m3)

1 Rhizosolenia sp. 32 0.8566

2 Chaetoceros sp. 290 7.7632

3 Navicula sp. 5 0.1338

4 Nitzchia sp. 170 4.5509

5 Pleurosigma sp. 12 0.3212

6 Coscinodescus sp. 2 0.0535

7 Gyrosigma sp. 2 0.0535

8 Eucambia sp. 76 2.0345

9 Laudaria sp. 25 0.6692

10 Guanaria sp. 1 0.0268

11 Bacteriastrum sp. 1 0.0268

12 Ceratium sp. 3 0.0803

13 Noctiluca sp. 1 0.0268

14 Protoperidinium sp. 1 0.0268

15 Odontella sp. 5 0.1338

16 Anabaena sp. 30 0.8031

17 Thallasseonema sp. 32 0.8566

18 Spirulina sp. 1 0.0268

รวม : 18.4444

ลําดับที่ ชนิดของแพลงกตอนสัตว

จํานวนตัว/ลูกบาศก

เมตร

Page 48: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

1 copepod 478

2 polychate 59

3 roucifer 151

4 hydromedusae 34

5 sagitta 235

6 napleus 34

7 ตัวออนกุง 17

8 ตัวออนปู 25

รวม : 1033

การคํานวณความหนาแนนแพลงกตอนพืช

แพลงกตอนพืชบริเวณชายฝง

ความหนาแนนรวม = จํานวนเซลลรวม × 1,000/จํานวนชองท่ีดู × ปริมาตรตัวอยาง(มล)

(จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร) ปริมาตรนํ้าท่ีตักมากรอง(ลบ.เมตร)

แพลงกตอนพืชในทะเล

- การคํานวณปริมาตรนํ้าท่ีลากผาน เม่ือปากถุงลากแพลงกตอน เทากับ 0.45 เมตร จะมีรัศมี 0.225 เมตร

นํ้าลึก 5 เมตร มีพื้นท่ีปากถุง = r2 × ลึก

= (22/7) × (0.225)2 × 5

= 0.795 m3

- การคํานวณความหนาแนน (จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร) ตัวอยางสําหรับ Bacteriastrum sp. เม่ือสุม

ตัวอยางมา 1 มิลลิลิตร และดู 9 ชอง จากท้ังหมด 1,000 ชอง ไดจํานวนเซลลรวมเทากับ 3 เซลล

คํานวณเปนความหนาแนนรวมเม่ือปริมาตรตัวอยางเทากับ 230 มิลลิลิตร และปริมาตรนํ้าท่ีลากผาน

เทากับ 0.795 m3

ความหนาแนนรวม = จํานวนเซลลรวม × 1,000/จํานวนชองท่ีดู × ปริมาตรตัวอยาง(มล)

(จํานวนเซลล/ลูกบาศกเมตร) ปริมาตรนํ้าท่ีลากผาน(ลบ.เมตร)

= ((3 × 1,000/9) × 230)/0.795

= 57,861 เซลล/ลูกบาศกเมตร

หรือ = 0.057 × 106 เซลล/ลูกบาศกเมตร

การคํานวณความหนาแนนแพลงกตอนบริเวณชายฝง

เม่ือตักนํ้าขึ้นมากรองจํานวน 20 ลิตร (0.02 m3) ไมจําเปนตองปรับปริมาตรสุดทาย แบงตัวอยาง

ท้ังหมดเปน 8 สวน ดู 1 สวน พบโคพีพอด 3 ตัว จะมีความหนาแนน ดังน้ี

ความหนาแนนของแพลงกตอนสัตว = จํานวนท่ีพบ x สวนท่ีแบง

(ตัว/ลบ.เมตร) ปริมาตร(ลบ.เมตร)

Page 49: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

แพลงกตอนสัตวในทะเล

เม่ือลากแพลงกตอนบริเวณความลึก 5 เมตร ปริมาตรนํ้าท่ีลาก 0.795 ลูกบาศกเมตร ไมจําเปนตองปรับ

ปริมาตรสุดทาย แบง 8 สวน ดู 1 สวน พบลูซิเฟอร 9 ตัว จะมีความหนาแนน ดังน้ี

ความหนาแนนของลูซิเฟอร = จํานวนท่ีพบ x สวนท่ีแบง

(ตัว/ลบ.เมตร) ปริมาตร(ลบ.เมตร)

ตัวอยางแพลงกตอนพืชท่ีพบ

กลุมไดอะตอม

Chaetoceros sp. Nitzschia sp. Bidduphia sp. Rhizosolenia sp.

Chaetoceros sp. Odontella sp. Coscinodiscus sp. Coscinosira sp.

Eucambia sp. Nitzschia sp. Guinardia sp. Lauderia sp.

Navicula sp. Bacteriastrum sp. Pleurosigma sp. Rhizosolenia sp.

Page 50: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

กลุมไดอะตอม

Thalassiothrix sp. Thalassiosira sp. Thalassionema sp Rhizosolenia sp.

กลุมไดโนแฟลกเจลเลต

Ceratium sp. Ceratium sp. Ceratium sp. Ceratium sp.

Gymnodinium sp. Dinophysis sp. Noctiluca sp. Protoperidinium sp

กลุมสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน

Oscillatoria sp. Oscillatoria sp. Oscillatoria sp.

Page 51: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

ตัวอยางแพลงกตอนสัตวท่ีพบ

กลุม Cnidaria

Medusae form

(แมงกะพรุน)

Medusae form

(แมงกะพรุน)

Medusae form

(แมงกะพรุน)

Polychaete larva Polychaete larva Polychaete larva Polychaete larva

กลุม Mollusca

กลุม Annelida

Page 52: รายงานการวิจัยpioneer.netserv.chula.ac.th/~rsompop/karuvijai50/%C8%C3%C7%B3%EA%C2%E… · นางสาวศรวณีย ลาเต ตําแหน

กลุม Arthopoda

Baranus larvae(เพรียง) Copepod Copepod Nauplius larvae

Lucifer sp. Lucifer sp. Cladocera (ไรนํ้า) Shimp larva

กลุม Chaetognata กลุม Chordata

Sagitta elegans

(หนอนธนู)

Sagitta elegans

(หนอนธนู)

Fish egg