ประเมินอันตราย/เลือก ... · 2017-10-13 ·...

7
1 SAFET Y LIFE ภาคผนวกของขอกําหนด 29 CFR 1910: อุปกรณปองกันสวนบุคคล (PPE) ของสํานัก บริหารสุขภาพและความปลอดภัยในการทํางาน แหงชาติสหรัฐฯ (OSHA) มีวัตถุประสงคเพื่อ เสนอแนะวิธีที่ถูกตองในการประเมินอันตรายและ การเลือกอุปกรณปองกันสวนบุคคลแกนายจาง มีรายละเอียดดังตอไปนี1. การควบคุมอันตราย (Controlling Hazards) อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลเพียง อยางเดียวไมสามารถใชปองกันอันตรายได อยางสมบูรณแบบ แตตองใชรวมกันเครื่องมือ ปองกัน (Guards) การควบคุมทางวิศวกรรม (Engineering Controls) และวิธีปฏิบัติในการ ผลิตที่ดี (Sound Manufacturing Practices) 2. การประเมินและการเลือก (Assessment and Selection) มีความจําเปนจะตองหาแนวทางในการ ประเมินอันตรายที่เกิดกับเทา ศีรษะ ตา และ ใบหนาซึ่งมีอยูในการปฏิบัติการหรือกระบวนการ ทางการอาชีพหรือการศึกษาเพื่อใหไดอุปกรณ ปองกันที่เหมาะสมกับอันตรายเฉพาะชนิด เปน ความรับผิดชอบของเจาหนาที่ความปลอดภัย ในการใชสามัญสํานึกและความชํานาญพิเศษ ในการทํางานนี้ใหเปนผลสําเร็จ 3. แนวทางการประเมิน (Assessment Guidelines) ในการประเมินเพื่อการใชอุปกรณปองกัน สวนบุคคล ใหทําขั้นตอนตอไปนีa. การสํารวจ (Survey) ทําโดยการเดิน สํารวจ (Walk-through Survey) พื้นที่ที่มีปญหา วัตถุประสงคในการเดินสํารวจเพื่อระบุแหลง อันตรายตอคนงานหรือผูรวมงานซึงพิจารณา ตามลักษณะพื้นฐานการทําใหเกิดการบาดเจ็บ ไดแก (a) การกระทบ (Impact) (b) การทิ่มแทง (Penetration) (c) การบีบหรือการอัด (วัตถุกลิ้งทับ) [Compression (roll-over)] (d) สารเคมี (Chemical) (e) ความรอน (Heat) (f) ฝุนอันตราย (Harmful dust) (g) แสงสวาง (รังสีที่มองเห็นได) [Light (optical) radiation] b. แหลงกําเนิด (Sources) ระหวางการ เดินสํารวจ เจาหนาที่ความปลอดภัย ตองสังเกต สิ่งตางๆ ตอไปนี(a) แหลงกําเนิดความเคลื่อนไหว (Sources of Motion) ตัวอยางเชน เครื่องจักร หรือกระบวนการที่มีการเคลื่อนไหวของเครื่องมือ สวนประกอบหรืออนุภาคของเครื่องจักร หรือมี การเคลื่อนไหวของบุคคลที่อาจทําใหเกิดการชน กับวัตถุที่ตั้งประจําที(b) แหลงกําเนิดอุณหภูมิสูง (Sources of High Temperatures) ซึ่งสามารถทําใหเกิด การไหม การบาดเจ็บที่ตา หรือการลุกไหมของ อุปกรณปองกัน ฯลฯ (c) ชนิดของสารเคมีที่มีการสัมผัส (Types of Chemical Exposures) (d) แหลงกําเนิดฝุนอันตราย (Sources of Harmful Dust) (e) แหลงกําเนิดแสงหรือรังสีที่มองเห็น ได (Light Radiation) เชน แสงจากการเชื่อม แสงจากการบัดกรี แสงจากการตัด แสงจากการ หลอมหรือการชุบโลหะ แสงจากการใชความ รอนสูง แสงที่มีความเขมสูง ฯลฯ (f) แหลงกําเนิดของวัตถุที่ตกจากที่สูง Source: OSHA Standards 29 CFR 1910 Subpart I App B; Non-mandatory Compliance Guidelines for Hazard Assessment and Personal Protective Equipment Selection ประเมินอันตราย/เลือกอุปกรณปองกันสวนบุคคล ประเมินอันตราย/เลือกอุปกรณปองกันสวนบุคคล www.safetylifethailand.com

Upload: others

Post on 15-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ประเมินอันตราย/เลือก ... · 2017-10-13 · เรื่องสําคัญอย างยิ่งที่คนงานที่ใช

1SAFET Y LIFE

ภาคผนวกของขอกาํหนด 29 CFR 1910:อุปกรณปองกันสวนบุคคล (PPE) ของสํานักบริหารสขุภาพและความปลอดภัยในการทํางานแหงชาติสหรัฐฯ (OSHA) มีวัตถุประสงคเพื่อเสนอแนะวิธท่ีีถกูตองในการประเมินอันตรายและการเลือกอุปกรณปองกนัสวนบคุคลแกนายจางมีรายละเอียดดังตอไปนี้

1. การควบคุมอันตราย (ControllingHazards)

อุปกรณปองกนัอันตรายสวนบคุคลเพยีงอยางเดียวไมสามารถใชปองกันอันตรายไดอยางสมบูรณแบบ แตตองใชรวมกันเคร่ืองมือปองกัน (Guards) การควบคุมทางวิศวกรรม(Engineering Controls) และวิธีปฏิบัติในการผลิตท่ีดี (Sound Manufacturing Practices)

2. การประเมินและการเลอืก (Assessmentand Selection)

มีความจําเปนจะตองหาแนวทางในการประเมินอันตรายท่ีเกดิกับเทา ศีรษะ ตา และใบหนาซึง่มีอยูในการปฏิบติัการหรือกระบวนการทางการอาชีพหรือการศึกษาเพื่อใหไดอุปกรณปองกนัท่ีเหมาะสมกบัอันตรายเฉพาะชนดิ เปนความรับผิดชอบของเจาหนาท่ีความปลอดภัยในการใชสามัญสํานึกและความชํานาญพิเศษในการทํางานนี้ใหเปนผลสําเร็จ

3. แนวทางการประเมนิ (AssessmentGuidelines)

ในการประเมินเพือ่การใชอุปกรณปองกนัสวนบุคคล ใหทําข้ันตอนตอไปนี้

a. การสํารวจ (Survey) ทําโดยการเดินสาํรวจ (Walk-through Survey) พืน้ท่ีท่ีมีปญหาวัตถุประสงคในการเดินสํารวจเพื่อระบุแหลงอันตรายตอคนงานหรือผูรวมงานซึงพิจารณาตามลักษณะพืน้ฐานการทําใหเกดิการบาดเจ็บไดแก

(a) การกระทบ (Impact)(b) การท่ิมแทง (Penetration)(c) การบีบหรือการอัด (วัตถุกล้ิงทับ)

[Compression (roll-over)](d) สารเคมี (Chemical)(e) ความรอน (Heat)(f) ฝุนอันตราย (Harmful dust)

(g) แสงสวาง (รังสีท่ีมองเห็นได) [Light(optical) radiation]

b. แหลงกําเนดิ (Sources) ระหวางการเดินสาํรวจ เจาหนาท่ีความปลอดภัย ตองสงัเกตสิ่งตางๆ ตอไปนี้

(a) แหล งกําเนิ ดความเคล่ื อนไหว(Sources of Motion) ตัวอยางเชน เคร่ืองจักรหรือกระบวนการท่ีมีการเคล่ือนไหวของเคร่ืองมือสวนประกอบหรืออนภุาคของเคร่ืองจักร หรือมีการเคล่ือนไหวของบคุคลท่ีอาจทําใหเกดิการชนกับวัตถุท่ีต้ังประจําท่ี

(b) แหลงกําเนิดอุณหภูมิสูง (Sourcesof High Temperatures) ซึ่งสามารถทําใหเกิดการไหม การบาดเจ็บท่ีตา หรือการลุกไหมของอุปกรณปองกัน ฯลฯ

(c) ชนดิของสารเคมีท่ีมีการสมัผสั (Typesof Chemical Exposures)

(d) แหลงกําเนิดฝุนอันตราย (Sourcesof Harmful Dust)

(e) แหลงกาํเนิดแสงหรือรังสท่ีีมองเห็นได (Light Radiation) เชน แสงจากการเชื่อมแสงจากการบดักรี แสงจากการตัด แสงจากการหลอมหรือการชุบโลหะ แสงจากการใชความรอนสูง แสงท่ีมีความเขมสูง ฯลฯ

(f) แหลงกําเนิดของวัตถุท่ีตกจากท่ีสูง

Source: OSHA Standards 29 CFR 1910 Subpart I App B; Non-mandatory Compliance Guidelines for Hazard Assessment and Personal Protective Equipment Selection

ประเมินอันตราย/เลือกอุปกรณปองกันสวนบุคคลประเมินอันตราย/เลือกอุปกรณปองกันสวนบุคคล

w w w . s a f e t y l i f e t h a i l a n d . c o m

Page 2: ประเมินอันตราย/เลือก ... · 2017-10-13 · เรื่องสําคัญอย างยิ่งที่คนงานที่ใช

2SAFET Y LIFE

(Sources of Falling Objects) หรือมีแนวโนมจะหลนลงมา

(g) แหลงกาํเนดิวัตถท่ีุมีความคมซึง่อาจบาดเทาหรือมือ

(h) แหลงกาํเนดิวัตถท่ีุกล้ิงทับหรือหนบีเทาของคนงาน

(i) ลักษณะของพื้นท่ีปฏิบัติงานและบริเวณท่ีอยูของคนงาน

(j) อันตรายจากไฟฟานอกจากการเดินสํารวจแลว ขอมูลหรือ

สถิติเกี่ยวกับการบาดเจ็บ/อุบัติเหตุ ท่ีผานมาสามารถนาํมาทบทวนเพือ่ชวยระบปุญหาในพืน้ท่ีปฏิบัติงานได

c. การรวบรวมขอมลู (Organize Data)หลังจากการเดินสํารวจ มีความจําเปนจะตองรวบรวมขอมูลและรายละเอียดตางๆ เพื่อใชในการประเมินอันตราย จดุประสงคเพือ่เตรียมการการวิเคราะหอันตรายท่ีอยูในสภาพแวดลอม

สําหรับการเลือกอุปกรณปองกันท่ีเหมาะสมd. วเิคราะหขอมลู (Analyze Data) เม่ือ

เอาขอมูลและรายละเอียดของอันตรายในสถานท่ีทํางานมารวมกัน เราสามารถคาดการณถึงแนวโนมการบาดเจ็บ ซึ่งและลักษณะพื้นฐานท่ีทํา ใหบาดเจบ็ของอันตรายตามท่ีแสดงไวในขอ3.a. การสาํรวจ (Survey) สามารถนาํมาทบทวนเพื่อพิจารณาถึงชนิดของอันตราย ระดับความ

a) ปองกันอันตรายที่มีอยูในสถานที่ทาํงานได อุปกรณปองกนัอันตรายตองเปนชนดิสามารถปองกันอันตรายท่ีมีอยูหรือมีแนวโนมวาจะมีในพืน้ท่ีปฏิบติังาน อาทิ การปองกนัการสาดกระเซน็ของสารเคมีท่ีเปนของเหลว ปองกนัการกระแทกของวัตถุท่ีมีน้ําหนักและเคล่ือนท่ีดวยความเร็ว เปนตน

b) เหมาะสมกับการใชงานในสภาพ

เสี่ยงและความรุนแรงของแนวโนมการไดรับบาดเจ็บของแตละลักษณะพื้นฐานท่ีทําใหเกิดการบาดเจ็บซึ่งพบในสถานท่ีทํางาน ท้ังนี้ ตองพจิารณาสาํหรับความเปนไปไดท่ีจะไดรับอันตรายหลายชนิดในเวลาเดียวกันดวย

4. แนวทางการเลือก (SelectionGuidelines)

หลังจากปฏิบติัการเสร็จสิน้ตาม ขอที ่3.การประเมนิอนัตราย ข้ันตอนตอไปจะเปน การเลือกอุปกรณปองกันอันตรายซึ่งมีสาระสําคัญไดแก

แวดลอมที่เปนอันตราย เชน แรงกระแทกท่ีมีความเร็ว มวลวัตถุ การเคล่ือนท่ีวิถีโคง ความเขมของรังส ีฯลฯ ซึง่อุปกรณตองสามารถปองกนัอันตรายเหลานี้ได

c) เลือกอุปกรณปองกันซึ่งใหความม่ันใจวามีระดับการปองกันสูงกวาคาความตองการขั้นตํ่าในการปองกันอันตรายแกคนงาน

d) ใหคาํแนะนาํและสอนวธิใีชและการดแูลรกัษาอปุกรณปองกันแกคนงาน ท้ังนี ้เปนเร่ืองสาํคัญอยางยิง่ท่ีคนงานท่ีใชอุปกรณปองกนัจะตองรับรูถึงขอมูลในปายเตือนและขอจํากัดของอุปกรณปองกัน

5. ความกระชับของอุปกรณ (Fittingthe Device)

จะตองพจิารณาถงึความสบายและความกระชบัในการสวมใสอุปกรณปองกนัไปพรอมกนัอุปกรณสวมใสแลวหลวมเกนิไป ใหการปองกนัท่ีจําเปนไดไมเต็มท่ี อุปกรณสวมใสแลวใหท้ัง

Page 3: ประเมินอันตราย/เลือก ... · 2017-10-13 · เรื่องสําคัญอย างยิ่งที่คนงานที่ใช

3SAFET Y LIFE

ความกระชับและความสบาย คนงานจะสวมใสอยางตอเนือ่งและไดรับการปองกนัเต็มระดับความสามารถของอุปกรณ โดยท่ัวไป อุปกรณปองกนัมีหลายขนาดใหเลือก ดังนั้น ตองม่ันใจวาไดเลือกขนาดท่ีถกูตอง

6. อุปกรณปองกันมีที่ปรับ (Deviceswith Adjustable Features)

สาํหรับคนงานคนใดคนหนึง่จะตองมีการปรับอุปกรณปองกันใหกระชับและสวมสบายรวมท้ังเพื่อใหอุปกรณยังอยูในตําแหนงถูกตองตลอดเวลา โดยเฉพาะอุปกรณปองกันดวงตาสาํหรับปองกนัฝุนและสารเคมีสาดกระเซน็ ตองม่ันใจวาอุปกรณดังกลาวแนบสนิทกับใบหนานอกจากนี้ หมวกแข็งปองกันศีรษะตองสวมใสอยางกระชบัเพือ่ไมใหหมวกหลุดขณะปฏิบติังานในบางกรณีตองมีสายรัดคางเพื่อใหหมวกแข็งยังคงอยูบนศีรษะคนงาน (อยางไรก็ตาม สายรัดคางตองปลดออกไดโดยใชแรงเล็กนอย เพื่อปองกันสายรัดคอหายใจไมออก) ท่ีสําคัญ ตองปฏิบัติตามคําแนะนาํของผูผลิตอยางเครงครัด

7. การประเมินอนัตรายซ้าํ (Reassessmentof hazards)

เปนความรับผดิชอบของเจาหนาท่ีความปลอดภัยในการทํางานในการประเมินอันตรายในสถานท่ีทํางานซ้าํตามความจาํเปน อาทิ การระบุและการประเมินอุปกรณและกระบวนการผลิตใหม การทบทวนสถิติอุบัติเหตุ และการประเมินความเหมาะสมของอุปกรณปองกันท่ีเลือกกอนหนา

8. ตารางแนะนําวิธีเลือกการปองกันดวงตาและใบหนา

วิธีเลือกการปองกันดวงตาและใบหนาสําหรับคนงานในอาชีพตางๆ (บางสวน ไมใชท้ังหมด) ดังตอไปนี้: ชางไม ชางไฟฟา ชางกลชางเคร่ือง ชางซอม ชางโรงงาน ชางประปาและชางซอมทอ ชางเหล็กแผน ชางบัดกรี ชางขัดชางประกอบ ชางเจียร คนควบคุมเคร่ืองจักรคนควบคุมเคร่ืองกลึงและเคร่ืองบด คนเล่ือยไมชางเชื่อม ผูใชแรงงาน ผูปฏิบติัการและควบคุมสารเคมี คนงานตัดซุงและทําไม

แหลงกําเนิด

การประเมินอันตราย

การปองกัน

การกระทบ (Impact)

การห่ัน การบด การขึ้นรูป งานกอ งานไม งานเลื่อย

งานเจาะ งานสกัดดวยสิ่ว งานมัดหรือยึดดวย

เคร่ืองจักร งานตอกหมุด และงานขัด

เศษชิ้นสวนขนาดเล็ก วัตถุตางๆ

แผนวัสดุขนาดใหญ ผงทราย

อนุภาคฝุน ฯลฯ

แวนตามีกระบังขาง ที่ครอบตา กระบัง

หนา ดูหมายเหตุ (1), (3), (5), (6), (10)

กรณีสัมผัสรุนแรง ใหใชกระบังหนา

ความรอน (Heat)

งานหนาเตาหลอม งานเทโละหลอม งานหลอม งาน

ชุบ และงานเชื่อม

ประกายไฟ สะเก็ดไฟ

กระบังหนา ท่ีครอบตา แวนตามีกระบัง

ดานขาง กรณีสัมผัสรุนแรง ใชกระบังหนา

ดูหมายเหตุ (1), (2), (3)

โลหะหลอมเหลวกระฉอก

กระบังหนาอยูเหนือที่ครอบตา

ดูหมายเหตุ (1), (2), (3)

สัมผัสอุณหภูมิสูง กระบังหนาที่มีเลนสลดความรอนหรือ

เลนสสะทอนความรอน ดูหมายเหตุ (1),

(2), (3)

สารเคมี (Chemicals)

การใชกรดและสารเคมี การลางคราบไขมัน

สารเคมีกระฉอก

ที่ครอบตา ถวยครอบตาชนิดมีสวนคลุม

กรณีสัมผัสรุนแรง ใชกระบังหนา

ดูหมายเหตุ (3), (11)

ไอสารระคายเคือง ที่ครอบตาออกแบบพิเศษ

ฝุน (Dust)

งานไม การขัดผิวไม สภาพฝุนทั่วไป

ฝุนรําคาญ ที่ครอบตา ถวยครอบตาชนิดมีสวนคลุม

ดูหมายเหตุ (8)

แสง และ/หรือ รังสี (Light and/or Radiation)

งานเชื่อม : อารกไฟฟา (Welding: Electric arc) รังสีที่มองเห็นได หมวกเชื่อมหรือกระบังสําหรับงานเช่ือม

อัตราความเขมของเลนส 10-14

ดูหมายเหตุ (9), (12)

งานเชื่อม : แกส (Welding: Gas) รังสีที่มองเห็นได ที่ครอบตาหรือกระบังหนาสําหรับงาน

เชื่อม อัตราความเขมของเลนส: การเชื่อม

4-8 การตัด 3-6 การบัดกรี 3-4

ดูหมายเหตุ (9)

การตัด การบัดกรีแข็งดวยหัวเชื่อมแกส การเชื่อม

ประสานดวยหัวเชื่อมแกส (Cutting, Torch

brazing, Torch soldering)

รังสีที่มองเห็นได แวนตาหรือกระบังหนาสําหรับงานเชื่อม

อัตราความเขมของเลนส 1.5-3

ดูหมายเหตุ (3), (9)

แสงบาดตา (Glare) ทัศนวิสัยต่ํา (มองเห็นไดยากหรือ

มองไมเห็น)

แวนตาที่อัตราความเขมของเลนสหรือ

เลนสชนิดพิเศษ ขึ้นอยูกับความเหมาะสม

ดูหมายเหตุ (9), (10)

ตารางแนะนาํวิธเีลือกการปองกนัดวงตาและใบหนาท่ีนําเสนอตอไปนี้เปนขอแนะนําวิธีท่ีถกูตองในการเลือกการปองกนัใบหนาและดวงตาจากอันตรายท่ีระบุไดซึ่งมีแหลงกําเนิดอยูในสถานท่ีปฏิบัติงาน

ตารางแนะนําวิธีเลือกการปองกันดวงตาและใบหนา

Page 4: ประเมินอันตราย/เลือก ... · 2017-10-13 · เรื่องสําคัญอย างยิ่งที่คนงานที่ใช

4SAFET Y LIFE

หมายเหตตุามตาราง(1) ตองระมัดระวังความเปนไปไดท่ีจะ

สัมผัสอันตรายหลายชนดิพรอมกัน ตองใชการปองกนัข้ันสงูสดุสาํหรับอันตรายแตละชนดิ และตระหนักวาอุปกรณแตละชนิดมีความสามารถในการปองกันท่ีจาํกัด

(2) การปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวของกับความรอนมักมีรังสท่ีีเปนแสงรวมดวย ตามขอกาํหนดของมาตรฐาน ตองปองกนัท้ังความรอนและรังสีท่ีเปนแสงสวางในเวลาเดียวกัน

(3) กระบังหนาจะใชเม่ือคนงานสวมอุปกรณปองกันตาชนิดหลัก (ท่ีครอบตาหรือแวนตา) ไวแลวเทานั้น

(4) ตามขอกาํหนดของมาตรฐาน เลนสปองกันตองมีอัตราความเขมตรงตามท่ีระบุไวในขอบังคับ 1910.133 (a)(5) เลนสเคลือบหรือเลนสกรองแสงกันแดดไมถือวาเปนเลนสปองกันยกเวนมีเคร่ืองหมายหรือสิง่ระบุวาเปนเลนสปองกัน

(5) ตามขอกาํหนดของมาตรฐาน บคุคลท่ีมีปญหาดานสายตา ตองสวมอุปกรณปองกันชนิดใชเลนสปรับสายตา หรือชนิดออกแบบมาเพือ่สวมทับแวนสายตาปกติท่ีคนงานสวมใสอยูอยางใดอยางหนึง่

(6) ผูสวมใสคอนแท็คเลนสตองสวมใสอุปกรณปองกนัตาและหนาซึง่มีความเหมาะสมในสภาพแวดลอมท่ีอันตราย และใหพจิารณาวาฝุน และ/หรือ สารเคมี เปนอันตรายเพิ่มเติมสําหรับผูสวมใสคอนแท็คเลนส

(7) ระมัดระวังเม่ือสวมใสอุปกรณปองกนัท่ีมีกรอบโลหะในพื้นท่ีท่ีมีอันตรายจากไฟฟา

(8) สภาพบรรยากาศและการระบายอากาศท่ีมีจาํกดัภายในตัวอุปกรณอาจทําใหเกดิฝาท่ีเลนสได ดังนั้นควรทําความสะอาดบอยๆ

(9) หมวกชางเชื่ อมหรือกระบังหนาควรใชในกรณีท่ีมีการสวมอุปกรณปองกันหลัก(ท่ีครอบตาหรือแวนตา) ไวแลวเทานั้น

(10) แวนตาท่ีไมมีกระบงัดานขาง ใหใชเฉพาะการปองกันดานหนาเทานั้น อีกท้ังไมอนุญาตใหใชปองกันดวงตากับแหลงกําเนิดหรือการปฏิบัติงานท่ีเปนอันตรายในลักษณะ“การกระทบ” (Impact)

(11) การระบายอากาศภายในตัวอุปกรณตองมีเพียงพอแตตองปองกันการสาดกระเซ็นของของเหลวไดดีดวย อุปกรณปองกันตาและใบหนาตองออกแบบมาใหมีคุณสมบติัครบถวน

ท้ังสองดาน นัน่คือ สามารถระบายอากาศอยางมีประสิทธิภาพขณะเดียวกันก็สามารถปองกันของเหลวกระฉอกเขาหนาหรือตาได

(12) การปองกันรังสีท่ีเปนแสงเปนผลโดยตรงจากความเขมของเลนสท่ีใช ดูหมายเหตุ(4) ใหเลือกเลนสท่ีมีความเขมสงูสดุ (มืดท่ีสดุ)แตยงัสามารถเอ้ืออํานวยใหสามารถปฏิบติังานไดอยางมีประสิทธิภาพ

9. แนวทางการเลอืกการปองกันศรีษะ(Head Protection)

อุปกรณปองกันศีรษะ (หมวกแข็ง)ท้ังหมดไดรับการออกแบบเพือ่ปองกนัอันตรายในลักษณะการกระทบและการท่ิมแทงจากวัสดุท่ีตกลงมาจากท่ีสงู

หมวกแข็งยงัมีชนดิท่ีใหการปองกนัไฟฟาชอตและไฟไหม ในการเลือกอุปกรณปองกันศีรษะ การตะหนักถึงแนวโนมการเกิดอันตรายจากไฟฟาเปนเร่ืองสําคัญเชนกัน

หมวกแข็ง Class A นอกจากสามารถตานทานการกระทบและการท่ิมแทงแลว ยังสามารถตานทานกระแสไฟฟาไดดวย (ผานการทดสอบท่ีแรงดันไฟฟา 2,200 โวลต)

Page 5: ประเมินอันตราย/เลือก ... · 2017-10-13 · เรื่องสําคัญอย างยิ่งที่คนงานที่ใช

5SAFET Y LIFE

หมวกแข็ง Class B นอกเหนือจากการปองกนัการกระทบและการท่ิมแทงแลว ยงัปองกนักระแสไฟฟาแรงสงูไดอีกดวย (ผานการทดสอบท่ีแรงดันไฟฟา 20,000 โวลต)

หมวกแข็ง Class C ปองกันการกระทบและการท่ิมแทงจากวัตถท่ีุตกหลนเทานัน้ (โดยท่ัวไปทําดวยอะลูมิเนียมซึ่งเปนตัวนําไฟฟา)ท้ังนี ้หามนาํไปใชในพืน้ท่ีท่ีมีอันตรายจากไฟฟา

ในบริเวณท่ีมีอันตรายจากวัสดุตกหลนตองสวมหมวกแข็ง ตัวอยางเชน การทํางานในบริเวณดานลางคนงานคนอ่ืนซึ่งเคร่ืองมือหรือ

ในคลังสนิคาเร่ิมตนดวยมาตรฐาน ANSI Z89.1-

1997 สถาบนัมาตรฐานแหงชาติสหรัฐอเมริกา(ANSI) ไดปรับปรุงและจัดระบบมาตรฐานหมวกแข็งใหทันสมัยมาตลอด ขอบังคับกอน

หนาแบงชนิดของหมวกเปนชนิดมีปกหมวกดานหนา (Caps) และมีปกรอบหมวก (FullBrimmed) เร่ิมต้ังแตป 1970 หมวก Type I ไดรับการออกแบบใหลดแรงกระทบจากการกระแทกหรือการฟาดเฉพาะบนยอดหมวก ขณะท่ีหมวกType II ถูกออกแบบใหลดแรงกระทบท่ีเกดิจากการกระแทกหรือการฟาดท่ียอดหมวกและดานขางหมวก ดังนัน้ หากผลการประเมินอันตรายชี้ออกมาวามีแนวโนมจะเกดิการกระแทกหรือการฟาดท่ีดานขางศีรษะ จึงตองเลือกหมวก Type IIใหคนงานสวมใส และเพื่อความเขาใจและผลประโยชนของผูใชอุปกรณ มาตรฐานป 1997 จงึไดปรับปรุงเพิม่เติมในสวนของการจดัระดับการตานทานไฟฟา กลาวคือมีการแบงหมวกแข็งตามคุณสมบัติตานทานกระแสไฟฟา ไดแก

Class G-General เปนหมวกแข็งท่ีไดรับการออกแบบใหสามารถลดอันตรายจากการสัมผัสกระแสไฟฟาแรงดันตํ่า

Class E-Electrical เปนหมวกแข็งท่ีไดรับการออกแบบใหสามารถลดอันตรายจากการสมัผัสกระแสไฟฟาแรงดันสูง

Class C-Conductive เปนหมวกแข็งท่ีปองกันแรงกระแทกแตไมสามารถตานทานกระแสไฟฟา หรือมีคุณสมบัติเปนตัวนําไฟฟา

10. แนวทางการเลอืกการปองกันเทา(Foot Protection)

รองเทานริภัยและบูทนริภัยซึง่มีคุณสมบติัตรงตามมาตรฐาน ANSI Z41-1991 สามารถปองกันไดท้ังการกระทบและการบีบ ในกรณีจําเปน รองเทานิรภัยสามารถเพิ่มคุณสมบัติตานทานการเจาะทะลุ ในการทํางานบางลักษณะรองเทาตองการการปกปองบริเวณหลังเทา(Metatarsal Protection) รวมไปถึงคุณสมบัติ

วัสดุท่ีอาจตกลงมา การทํางานบริเวณโดยรอบหรือดานลางของสายพานท่ีมีวัสดุเคล่ือนท่ีอยูการทํางานดานลางเคร่ืองจกัรหรือกระบวนการผลิตท่ีอาจมอุปกรณหรือวัตถตุางๆ ตกลงมา และการทํางานท่ีอาจสัมผัสตัวนํากระแสไฟฟา

ตัวอยางอาชพีท่ีตองสวมใสอุปกรณปองกนัศีรษะ (บางสวน ไมใชท้ังหมด) : ชางไม ชางไฟฟาคนวางสายไฟฟา ชางกลและชางซอม ชางประปาและชางซอมทอ ชางประกอบ คนงานบรรจุของคนงานพับวัสดุ คนเล่ือยไม ชางเชื่อม ผู ใชแรงงาน ผูควบคุมคลังสินคา คนตัดไม คนงานตัดซุงและทําไม คนดูแลพัสดุ และผูใชแรงงาน

Page 6: ประเมินอันตราย/เลือก ... · 2017-10-13 · เรื่องสําคัญอย างยิ่งที่คนงานที่ใช

6SAFET Y LIFE

พิเศษในการนําไฟฟาหรือการเปนฉนวนไฟฟาตามความเหมาะสมของการทํางานและสิง่แวดลอมในการทํางาน

สาํหรับรองเทาหรือบูทนริภัยท่ีมีคุณสมบติัตานทานแรงกระทบตองสามารถรับแรงกระทําจากหีบหอ วัตถ ุสวนของเคร่ืองจกัร ฯลฯ ท่ีตกลงมา หรือกิจกรรมอ่ืนซึ่งวัตถุสามารถหลนใสเทาขณะท่ีรองเทาและบูทนริภัยท่ีมีคุณสมบติัตานทานแรงบีบหรือแรงอัดใชในการทํางานท่ีเกี่ยวของกับวัตถุล่ืนไถล เชน รถเข็นวัสดุ รถฟอรกลิฟต

ยานพาหนะขนสงวัสดุภายในสถานประกอบการหรือมวนวัสดุขนาดใหญ เชน มวนกระดาษมวนโลหะ หรือทอท่ีมีน้าํหนักมากซึง่มีแนวโนมจะกล้ิงทับหรือบดเทาของคนงาน

รองเทาหรอืบูทนิรภยัทีม่คีณุสมบัติตานทานการเจาะทะลุ ใชในสภาพการทํางานท่ีมีวัตถุแหลมคม เชน ตะปู ลวด ตะขอ ตะปูเกลียวลวดเย็บกระดาษขนาดใหญ เศษโลหะ ฯลฯ ซึ่งสามารถแทงทะลุพืน้รองเทาข้ึนมาทําใหเทาของคนงานบาดเจบ็ได

รองเทาหรือบูทนิรภัยท่ีมีคุณสมบัติเปนตัวนําไฟฟาใชในพื้นท่ีมีแนวโนมเกิดเพลิงไหม

มาตรการเสริมปองกันไฟฟาชอตหรือไฟฟาดูดขณะยืนทํางานบนพืน้ซึง่สัมผัสกบักระแสไฟฟาหรือความตางศักยทางไฟฟา (ความตางศักยทางไฟฟาระหวางเทาท้ังคูหรือระหวางมือกบัเทา)หรือในเงือ่นไขท่ีอุปกรณปองกนัไฟฟาหลัก เชนถงุมือยาง ผาคลุมฉนวน ฯลฯ ไมสามารถปองกนัคนงานท่ียืนทํางานอยูบนพื้นไดอยางเพยีงพอ

อาชพีท่ีตองใชอุปกรณปองกนัเทาในการทํางานประจาํวัน (บางสวน ไมใชท้ังหมด)ไดแกเสมียนตรวจสินคานําเขาหรือสงออก เสมียนคลังสินคา คนงานโครงสรางเหล็ก ชางไม ชางไฟฟา ชางเคร่ือง ชางกลและซอมบํารุง ชางประปาและงานทอ ชางประกอบ ชางบุผนังชางกลึง ชางบรรจุหีบหอ ชางหอหุม ชางสกัดผูควบคุมเคร่ืองปมโลหะ คนเล่ือยไม ชางเชื่อมผูใชแรงงาน ผูควบคุมงานขนสง คนงานทําสวนคนดูแลสนาม คนตัดซุงและทําไม ผูควบคุมคลังสนิคาและคนงานคลังสนิคา

11. แนวทางการเลือกการปองกันมือ(Hand Protection)

ถุงมือเปนอุปกรณท่ีเชื่อถือไดสําหรับใชปองกนัการตัด การบาด การไหม และการสมัผสัสารเคมีซึง่เปนเหตุใหเกิดบาดเจ็บหรือเสียหาย

จากการสปารกหรือจดุติดไฟของประจไุฟฟาสถติท่ีสะสมเปนปริมาณมากในพื้นท่ีปฏิบัติงานกับไอสารเชื้อเพลิงท่ีมีอยู โดยรองเทาท่ีเปนตัวนําจะดึงประจไุฟฟามาท่ีตัวรองเทาแลวไหลผานลงพืน้กอนสลายตัวไปสงผลใหบริเวณนัน้ไมมีการสะสมตัวของประจไุฟฟาสถติในปริมาณมากพอจะทําใหเกดิการจดุระเบดิหรือจดุติดไฟของสวนผสมไอสารเชื้อเพลิงกับอากาศได

สวนรองเทาหรือบูทนิรภัยท่ีมีคุณสมบัติเปนฉนวนสามารถตานทานกระแสไฟฟา เปน

Page 7: ประเมินอันตราย/เลือก ... · 2017-10-13 · เรื่องสําคัญอย างยิ่งที่คนงานที่ใช

แกผวิหนงัท้ังแบบเฉพาะจดุและท้ังระบบ OSHAไมไดรับรองถุงมือท่ีอวดอางวาสามารถปองกันแนวโนมอันตรายท่ีจะเกิดกับมือไดทุกชนิด แตกาํหนดใหถงุมือมีคุณสมบติัท่ีจาํกดักบัอันตรายหรือสารบางชนิด ดังนั้น จึงเปนเร่ืองสําคัญอยางยิ่งท่ีจะตองเลือกถุงมือเหมาะสมท่ีสุดเพื่อใชปองกันอันตรายเฉพาะชนิดท่ีพบในสถานท่ีทํางาน อีกท้ังตองพิจารณาเร่ืองอายุการใชงานและความเปนไปไดในการนาํกลับมาใชงานใหม

นอกจากนีย้งัเปนเร่ืองสาํคัญในการเรียนรูประสิทธิภาพของถุงมือท่ีสัมพันธกับอันตรายเฉพาะชนิดท่ีมีอยู เชน อันตรายจากสารเคมีอันตรายจากการบาด อันตรายจากเปลวไฟ ฯลฯ

ซึ่งประสิทธิภาพตออันตรายเหลานี้ไดมาจากการทดสอบตามมาตรฐานกําหนด ดังนั้น กอนการซือ้ถงุมือ นายจางตองตรวจสอบเอกสารจากผูผลิตเกีย่วกบัการผานการทดสอบตามมาตรฐานท่ีกําหนด

และยังมีปจจัยอ่ืนๆ ท่ีตองนําพิจารณารวมดวย ไดแก

(A) ตราบเทาท่ีคณุลกัษณะดานประสิทธิภาพยังเปนท่ียอมรับได ในบางสถานการณ การใชถงุมือราคาถกูกวาแตเปล่ียนใหมเปนประจาํอาจประหยดัคาใชจายกวาการใชถงุมือราคาแพงแตใชซ้ําหลายคร้ัง

(B) ควรมีการศึกษาพฤติกรรมการทํางานของลูกจางเพือ่พจิารณาระดับความคลองแคลว

ความทนทาน ความถี ่ระดับการสมัผสัอันตรายและความเม่ือยลาทางกายท่ีเกดิจากการใชถงุมือ

ประเดน็สาํคญัเก่ียวกับการเลอืกถงุมอืปองกันสารเคมอีนัตราย :

(A) ตองพิจารณาความเปนพิษของสารเคมี โดยเฉพาะความสามารถของสารเคมีในการทําใหผลกระทบตอผิวหนัง และ/หรือ ซึมผานผวิหนงัแลวสงผลกระทบตอระบบภายในรางกาย

(B) โดยท่ัวไป ถุงมือตานทานสารเคมีสามารถใชไดกับสารเคมีท่ีเปนผงแหง

(C) สําหรับสารเคมีท่ีเปนสารผสมหรือสูตรผสม (ยกเวน มีขอมูลจําเพาะไดจากการทดสอบ) ตองเลือกถุงมือชนดิตานทานสารเคมี

ของสวนผสมท่ีมีเวลาการทะลุผาน (Break-through Time) สัน้ท่ีสดุ เนือ่งจากมีความเปนไดท่ีสารทําละลายจะเปนสวนผสมสําคัญของสารโพลีเมอรท่ัวไป และ

(D) ลูกจางตองสามารถถอดถงุมือออกใน

ลักษณะท่ีไมเกิดการปนเปอนท่ีผิวหนัง12. การทาํความสะอาดและการบํารงุ

รักษา (Cleaning and Maintenance)เปนเร่ืองสําคัญท่ีตองใหอุปกรณปองกัน

สวนบคุคลมีความสะอาดและอยูในสภาพใชงานไดดี อุปกรณปองกนัตาและใบหนาตองทําความสะอาดเม่ือมีฝาเกาะท่ีเลนสทําใหมองเห็นไมชดั

ขอบังคับ 1910.132 (a) และ (b)กาํหนดใหมีการตรวจสอบ ทําความสะอาด และบาํรุงรักษาอุปกรณปองกนัเปนประจาํตามชวงเวลาเพื่อใหอุปกรณยังคงคุณสมบัติปองกันท่ีจําเปนเอาไวได นอกจากนีเ้นนถงึความสําคัญของการท้ิงอุปกรณปนเปอนท่ีไมสามารถชาํระลางไดในลักษณะท่ีผูใชไมไดสัมผัสการปนเปอนนั้น

7SAFET Y LIFE