หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง what...

15
หน่วยการเรียนรู้ที3 เรื่อง What’s for dinner ? แผนการจัดการเรียนรู้ที10 เรื่อง Favorite Pastimes รายวิชา ภาษาอังกฤษ 3 รหัสวิชา อ 22101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีท2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ชั่วโมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระที1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐานการเรียนรู1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล ตัวชี้วัด 1.1 . 2/2 อ่านออกเสียงข้อความข่าวประกาศและบทร้อยกรองสั้นๆถูกต้องตามหลักการอ่าน 1.1 . 2/3 ระบุ /เขียนประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆที่อ่าน สาระที2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐานการเรียนรู2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและ นาไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ ตัวชี้วัด 2.1 . 2/2 อธิบายเกี่ยวกับเทศกาลวันสาคัญชีวิตความเป็นอยู่และประเพณีของเจ้าของภาษา สาระที3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐานการเรียนรู3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นและเป็น พื้นฐานในการพัฒนาแสวงหาความรู้และเปิดโลกทัศน์ของตน ตัวชี้วัด 3.1 . 2/1 ค้นคว้ารวบรวมและสรุปข้อมูล /ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่ง เรียนรู้และนาเสนอด้วยการพูด/การเขียน 2. ผลการเรียนรู2.1 สามารถสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับงานอดิเรกที่ถูกต้อง 2.2 อ่านบทความและบทสนทนาและเขียนข้อความเกี่ยวกับงานอดิเรก 2.3 นาเสนอผลงานเกี่ยวกับงานอดิเรกที่แปลกและไม่เหมือนใครได้ 2.4 สามารถใช้ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ได้ถูกต้องตามกาลเทศะและสถานการณ์จริง 3. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ความสามารถและทักษะ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ ตามวัย คุณลักษณะตามช่วงวัย อยู่อย่างพอเพียง 4. สาระสาคัญ

Upload: others

Post on 14-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What’s for dinner ?

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง Favorite Pastimes รายวิชา ภาษาอังกฤษ 3 รหัสวิชา อ 22101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ชั่วโมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระท่ี 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐานการเรียนรู้ ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตัวช้ีวัด ต 1.1 ม. 2/2 อ่านออกเสียงข้อความข่าวประกาศและบทร้อยกรองสั้นๆถูกต้องตามหลักการอ่าน ต 1.1 ม. 2/3 ระบ/ุเขียนประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆที่อ่าน สาระท่ี 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐานการเรียนรู้ ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและ น าไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ ตัวช้ีวัด ต 2.1 ม. 2/2 อธิบายเกี่ยวกับเทศกาลวันส าคัญชีวิตความเป็นอยู่และประเพณีของเจ้าของภาษา สาระท่ี 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน มาตรฐานการเรียนรู้ ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนและเป็นพ้ืนฐานในการพัฒนาแสวงหาความรู้และเปิดโลกทัศน์ของตน ตัวช้ีวัด ต 3.1 ม. 2/1 ค้นคว้ารวบรวมและสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนจากแหล่งเรียนรู้และน าเสนอด้วยการพูด/การเขียน

2. ผลการเรียนรู้ 2.1 สามารถสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับงานอดิเรกที่ถูกต้อง 2.2 อ่านบทความและบทสนทนาและเขียนข้อความเกี่ยวกับงานอดิเรก 2.3 น าเสนอผลงานเกี่ยวกับงานอดิเรกที่แปลกและไม่เหมือนใครได้

2.4 สามารถใช้ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ได้ถูกต้องตามกาลเทศะและสถานการณ์จริง

3. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ความสามารถและทักษะ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์

ตามวัย คุณลักษณะตามช่วงวัย อยู่อย่างพอเพียง

4. สาระส าคัญ

Page 2: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

การสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับงานอดิเรกที่ถูกต้องจึงเป็นสิ่งจ าเป็น การพูดถาม-ตอบเกี่ยวกับการท างานอดิเรกของตนเองและของผู้อ่ืน ฟังบทพูดเกี่ยวกับการท างานอดิเรก อ่านบทความและบทสนทนาเกี่ยวกับงานอดิเรก และเขียนข้อความเกี่ยวกับงานอดิเรกของตนเองได้และสามารถใช้ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ได้ถูกต้องตามกาลเทศะและสถานการณ์จริง

5. สาระการเรียนรู้ สื่อสารเพ่ือแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับงานอดิเรก

6. การบูรณาการกับหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ - ท ากิจกรรมได้ตามก าหนดเวลา และวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเหมาะสม - วางแผนการท างานอย่างรอบครอบเป็นระบบ และมีข้ันตอน ความมีเหตุผล - รู้จักการท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้ - มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ควรและไม่ควรท าเมื่อมีเวลาว่าง - ความเหมือนและความแตกต่างของกิจกรรม การมีภูมิคุ้มกันในตัว - ฝึกการมีส่วนร่วมในการท างาน - สร้างความสามัคคีในการท างาน เงื่อนไขความรู้ - ศึกษา ค้นคว้าวิธีการท าแบบฝึก กิจกรรม - สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมยามว่างของเจ้าของภาษา เงื่อนไขคุณธรรม - มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย -ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยความกระตือรือร้น สนใจ ตั้งใจและใฝ่เรียน

7.คุณลักษณะอันพึงประสงค์/จิตพิสัย ( ) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ( ) 2. ซื่อสัตย์สุจริต ( ) 3. มีวินัย ( / ) 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ( / ) 5. อยู่อย่างพอเพียง ( / ) 6. มุ่งมั่นในการท างาน ( ) 7. รักความเป็นไทย ( ) 8. มีจิตสาธารณะ

8.สมรรถนะส าคัญ ( / ) 1. ความสามารถในการสื่อสาร ( / ) 2. ความสามารถในการคิด ( / ) 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ( / ) 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ( / ) 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

9. ภาระงาน/ชิ้นงาน นักเรียนน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการน าเสนอผลงานเกี่ยวกับกิจกรรมยาม

กิจกรรมยามว่างหรืองานอดิเรกที่มีประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคมและน าผลงานไปเผยแพร่เพ่ือเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

Page 3: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

10. กิจกรรมการเรียนรู้และกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นที่ 1 น าเข้าสู่บทเรียนครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมที่ครูท าในยามว่างและความบ่อยครั้ง

ที่ท ากิจกรรมนั้น ๆ เช่น I go to the gym three times a week. I also surf the Internet two or three times a week. I go to the movies once or twice a month. และให้นักเรียนช่วยกันบอกกิจกรรมยามว่างอ่ืน ๆ ที่นักเรียนรู้จัก แล้วเขียนสิ่งที่นักเรียนบอกบนกระดาน

ขั้นที่ 2 ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมยามว่างที่วัยรุ่นชอบท าและฟังบทพูดเกี่ยวกับการท างานอดิเรก

- เปิดซีดีบันทึกเสียงการบรรยายกิจกรรมยามว่างที่เด็กวัยรุ่นในประเทศสหรฐัอเมริกานิยมท ากันและอ่านบทสนทนาในกรอบค าพูดของ Tim กับ Judy

- เปิดซีดีบันทึกเสียงหัวข้อเรื่อง Teens’ Leisure Preferences แล้วให้นักเรียนอ่านออกเสียงตาม

- ฟังซีดีบันทึกเสียงการส ารวจข้อมูล What Teens Do Online ซึ่งเป็นตารางการส ารวจข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมออนไลน์ที่วัยรุ่นนิยมท า แล้วถามนักเรียนว่า Do you think the survey results are the same for teens in this country? If not, what’s different?

ขั้นที่ 3 อ่านบทสนทนาเก่ียวกับงานอดิเรกและให้นักเรียนท างานกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน นักเรียนแต่ละคนจะต้องบอกข้อมูลแก่เพ่ือนสมาชิกในกลุ่มเกี่ยวกับงานอดิเรกที่ตนเองชื่นชอบ สถานที่ที่ท างานอดิเรก และทักษะความสามารถของตน นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับงานอดิเรกของสมาชิกในกลุ่ม ครูประเมินการท างานกลุ่มโดยใช้แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม

ขั้นที่ 4 ครูให้นักเรียนท างานกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน เพ่ือท ากิจกรรม Project โดยให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับงานอดิเรกของเพื่อนในห้อง ครูกระตุ้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือ ภาพยนตร์ หรือจากบุคคลเขียนข้อความเก่ียวกับงานอดิเรกของตนเองและน าเสนอผลงานเพ่ือน าไปเผยแพร่เป็นการแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ในการด าเนินชีวิตบนพื้นฐานของความพอเพียง

10. การวัดและประเมินผล

เครื่องมือ วิธีการ เกณฑ์การผ่าน 1. แบบประเมินการอ่าน 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม 3. แบบประเมินคุณลักษณะ 4. แบบประเมินชิ้นงาน

- สังเกตและประเมินการอ่าน - สังเกตและประเมินพฤติกรรมการท างาน - สังเกตและประเมินคุณลักษณะ - ตรวจและประเมินชิ้นงาน

ระดับดีขึ้นไป ระดับดีขึ้นไป ระดับดีขึ้นไป ระดับดีขึ้นไป

11. สื่อการเรียนรู้ . - หนังสือเรียน - บทอ่านเกี่ยวกับกิจกรรมยามว่าง - แบบประเมินการอ่าน

Page 4: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

- แบบสังเกตพฤติกรรมการท างาน - แบบประเมินคุณลักษณะ - แบบประเมินชิ้นงาน - สื่ออิเลคทรอนิกส์http ://www.google.com

12. แหล่งการเรียนรู้ - ห้อง ICT กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

- ห้องศูนย์ภาษาต่างประเทศ - ห้องสมุด - อินเตอร์เน็ต

13 . กิจกรรมการเรียนรู้ต่อเนื่อง / ข้อเสนอแนะ ให้นักเรียนท าแบบส ารวจกิจกรรมยามว่างของนักเรียนในห้องแล้วน าแบบส ารวจมาติดบนป้ายนิเทศเพ่ือให้เพ่ือนดู

14. แนวคิด / เนื้อหาสาระที่บูรณาการ นักเรียนได้รับทราบวัฒนธรรมการด ารงชีวิตของเจ้าของภาษาเรื่องกิจกรรมที่ท ายามว่าง

เกณฑ์การประเมินการอ่าน

ชื่อผู้รับการประเมิน …………………………………….…………………… ชั้น ………. เลขที่ …………

ระดับคะแนน

ประเด็น การประเมิน

4 3 2 1 คะแนน

ที่ได้

ความเข้าใจ ตอบค าถามหลังจากที่อ่านได้ทั้งหมด

ตอบค าถามหลังจากท่ีอ่านได้เกือบทั้งหมด

ตอบค าถามหลังจากที่อ่านได้เล็กน้อย

ตอบค าถามหลังจากท่ีอ่านได้น้อยมาก

การจับใจความส าคัญ

จับใจความส าคัญของเนื้อหาได้ทั้งหมด

จับใจความส าคัญของเนื้อหาได้เกือบทั้งหมด

จับใจความส าคัญของเนื้อหาได้เล็กน้อย

จับใจความส าคัญของเนื้อหาได้น้อยมาก

การรู ้ความหมายค าศัพท์

เมื่ออ่านพบค าศัพท์ใหม่ สามารถเดาความหมายค าศัพท์จากบริบทได้ทั้งหมด

เมื่ออ่านพบค าศัพท์ใหม่ สามารถเดาความหมายค าศัพท์จากบริบทได้เกือบทั้งหมด

เมื่ออ่านพบค าศัพท์ใหม่ สามารถเดาความหมายค าศัพท์จากบริบทได้เล็กน้อย

เมื่ออ่านพบค าศัพท์ใหม่ สามารถเดาความหมายค าศัพท์จากบริบทได้น้อยมาก

รวมคะแนนทั้งหมด

Page 5: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

ลงชื่อ …………………………………………… ผู้ประเมิน ( ……………………………………………………… ) เกณฑ์การประเมินการอ่าน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 10-12 คะแนน ดีมาก 7-9 คะแนน ดี 4-6 คะแนน พอใช้ น้อยกว่า 3 คะแนน ปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินการพูด

ชื่อผู้รับการประเมิน …………………………………….…………………… ชั้น ………. เลขที่ …………

ระดับคะแนน

ประเด็น การประเมิน

4 3 2 1 คะแนน

ที่ได้

ความถูกต้อง ด้านเนื้อหา

สื่อสารได้ตรงประเด็นเ นื้ อ ห า ถู ก ต้ อ ง ต า มหัวข้อที่ก าหนด ออกเสียงถูกต้องใช้ค าศัพท์ ส านวน และโครงสร้างภาษาถูกต้อง

สื่ อ ส า ร ไ ด้ ต ร งป ร ะ เ ด็ น เ นื้ อ ห าถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ออกเสียงได้ถูกต้อง

สื่ อ ส า ร ไ ด้ ต ร งป ร ะ เ ด็ น เ ป็ นบางส่ วน เนื้ อหาและการออกเสียงถู ก ต้ อ ง เ ป็ นบางส่วน

สื่ อ ส า ร ไ ด้เ นื้ อ ห า น้ อ ยออกเสียง ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่

ความสามารถ ในการพูด

พูดได้คล่องแคล่ว พูดเป็นธรรมชาติประสานสายตากับผู้ ฟัง มีการแสดงออกทางสีหน้าแ ล ะ ท่ า ท า ง อ ย่ า งเหมาะสม

พูด ได้ คล่ อ งแคล่ ว พูด เป็ น ธ ร รมชาติประสานสายตากับผู้ฟัง มีการแสดงออกท า ง สี ห น้ า แ ล ะท่าทางบ้างเล็กน้อย

พูดได้คล่องแคล่วแ ต่ ไ ม่ เ ป็ น ธรรมชาติประสานส า ย ต า กั บ ผู้ ฟั งน้อย

พู ด เ ห มื อ นท่ อ ง จ า มีการประสานส า ย ต า กั บผู้ฟังบ้างเป็นระยะ

รวมคะแนนทั้งหมด

ลงชื่อ …………………………………………… ผู้ประเมิน ( ……………………………………………………… )

Page 6: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

เกณฑ์การประเมินการอ่าน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 10-12 คะแนน ดีมาก 7-9 คะแนน ดี 4-6 คะแนน พอใช้ น้อยกว่า 3 คะแนน ปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินผลงานและการน าเสนอผลงาน

ชื่อผู้รับการประเมิน …………………………………….…………………… ชั้น ………. เลขที่ …………

ระดับคะแนน

ประเด็นการประเมิน

4 3 2 1 คะแนน

ที่ได้

ผลงาน/ชิ้นงาน

- ผลงานถูกต้องตรงประเด็น

- เ ขี ย น ตั ว ส ะ ก ดถูกต้อง

- เ นื้ อ ห า ต่ อ เ นื่ อ ง สัมพันธ์กัน

- มีสัญลักษณ์หรื อภ า พ ป ร ะ ก อ บเหมาะสมน่าสนใจ

- มี ค ว า ม ป ร ะ ณี ตสวยงาม

- ผลงานถู กต้ อ งตรงประเด็น

- เขียนตัวสะกดผิดบ้าง 1-3 แห่ง

- เนื้อหาต่อเนื่อง สัมพันธ์กัน

- มีสัญลักษณ์หรือภ า พ ป ร ะ ก อ บประกอบเป็นส่วนใหญ ่

- มีความประณีตสวยงาม

- ผลงานถูกต้องตรงประเด็น

- เขียนตัวสะกดผิดบ้าง 4-6 แห่ง

- เนื้อหาสัมพันธ์กันเป็นส่วนใหญ่

- มีสัญลักษณ์หรือภ า พ ป ร ะ ก อ บประกอบบ้าง

- มีการตกแต่งบ้าง

- ผ ล ง า น ถู ก ต้ อ งประเด็นที่น าเสนอมีน้อย

- เขียนตัวสะกดผิดมากกว่า 6 แห่ง

- เนื้อหาสัมพันธ์กันบางส่วน

- ไ ม่ มี ภ า พ ห รื อสั ญ ลั ก ษ ณ์ประกอบ

- ผลงานขาดความประณีต

การน าเสนอผลงาน

- ก า ร อ อ ก เ สี ย ง Stress Intonation เสียงพยัญชนะต้ น ค า แ ล ะ ท้ า ย ค า ถู ก ต้ อ ง ต า มหลักการออกเสียง

- การ พูดน า เสนอต่อเนื่องน่าสนใจ

- ก า ร อ อ ก เ สี ย ง Stress Intonation เสี ย งพยัญชนะต้นค าและท้ ายค าผิ ดหลั กการอ อ ก เ สี ย ง 1-3 แห่ง

- การพูดน าเสนอ น่าสนใจ หยุดคิด

- ก า ร อ อ ก เ สี ย ง Stress Intonation เสียงพยัญชนะต้นค าแ ล ะท้ า ย ค า ผิ ดหลักการออกเสียง 4-6 แห่ง

- การพูดน าเสนอไม่ต่อเนื่อง หยุดคิด 4-6 ครั้ง

- ก า ร อ อ ก เ สี ย ง Stress Intonation เสียงพยัญชนะต้นค าแล ะท้ า ย ค า ผิ ดหลักการออกเสียงมากกว่า 6 แห่ง

- การพูดน าเสนอไม่น่าสนใจ

Page 7: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

บ้าง 1-3 ครั้ง รวมคะแนนทั้งหมด

เกณฑ์การประเมินการอ่าน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ลงชื่อ …………………………………………… ผู้ประเมิน 10-12 คะแนน ดีมาก ( ……………………………………………………… ) 7-9 คะแนน ดี 4-6 คะแนน พอใช้ น้อยกว่า 3 คะแนน ปรับปรุง

เกณฑ์การประเมินงานเขียน

ชื่อผู้รับการประเมิน …………………………………….…………………… ชั้น ………. เลขที่ …………

Page 8: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

ระดับคะแนน

ประเด็น การประเมิน

4 3 2 1 คะแนน

ที่ได้

เนื้อหา เ ขี ย น ถู ก ต้ อ งครอบคลุมเนื้อหาอย่างสมบูรณ์

เ ขี ย น ถู ก ต้ อ งครอบคลุมเนื้อหาเป็นส่วนใหญ่

เขียนผิดบ้างและไ ม่ ค ร อ บ ค ลุ มเนื้อหา

เขี ยนผิ ดมากและให้ข้ อมูลน้อย

ค าศัพท์ ส านวน และโครงสร้าง

ภาษา

ใช้ค าศัพท์ ส านวนแ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า งภ า ษ า ถู ก ต้ อ ง เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะหลากหลาย

ใช้ค าศัพท์ ส านวนแ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า งภ า ษ า ถู ก ต้ อ ง เหมาะสม

ใช้ค าศัพท์ ส านวนและ โ ค ร งส ร้ า งภาษาแบบง่าย ๆ และมีข้อผิดบ้าง

ใ ช้ ค า ศั พ ท์ ส า น ว น แ ล ะโ ค ร ง ส ร้ า งภาษาแบบง่าย ๆ และมีข้อผิดมาก

องค์ประกอบ ของงานเขียน

องค์ประกอบของงานเขียนแสดงให้เห็นความคิดริเริ่มส ร้ า ง ส ร ร ค์ มีค ว า ม สั ม พั น ธ์ต่อ เนื่ องน่ าสนใจมาก

องค์ประกอบของง า น เ ขี ย น มีค ว า ม สั ม พั น ธ์ต่อเนื่องน่าสนใจ

องค์ประกอบของงานเขียนน่าสนใจแ ต่ ข า ดค ว า ม สั ม พั น ธ์ต่อเนื่อง

องค์ประกอบของงานเขียนไม่น่าสนใจ

รวมคะแนนทั้งหมด ลงชื่อ …………………………………………… ผู้ประเมิน ( ……………………………………………………… ) เกณฑ์การประเมินการอ่าน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 10-12 คะแนน ดีมาก 7-9 คะแนน ดี 4-6 คะแนน พอใช้ น้อยกว่า 3 คะแนน ปรับปรุง

บันทึกผลหลังสอน

ปัญหา / อุปสรรค นักเรียนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นอย่างดี เนื่องจากกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นเรื่องท่ีนักเรียนสามารถน าไปใช้ได้ในชีวิตประจ าวัน

Page 9: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

แนวทางแก้ไขปัญหา / อุปสรรค นักเรียนปรับปรุงเรื่องการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

กิจกรรมเสนอแนะ จัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนและน าทักษะภาษาไปใช้ ลงชื่อ นางสาวปัทมา อ่อนน้อม ต าแหน่ง ……………….....ครู..........……………. …..…./…….……./………

ตาราง วิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของหน่วยการเรียนรู้

“ตามรอยเท้าพ่อพอเพียง”แนวทางการน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

1. ผู้สอนน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

หลกัพอเพียง ประเด็น

ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี

Page 10: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

เนื้อหา

- วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด - ก าหนดและจัดเรียงล าดับของเนื้อหาเหมาะสมกับความสนใจของผู้เรียนและบริบทของท้องถิ่นอย่างเหมาะสมกับเวลาและวัยของผู้เรียน

- เนื้อหาที่ก าหนดขึ้นสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดการปลูกฝังลั ก ษ ณ ะ นิ สั ย ค ว า มพอเพียง - ใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย

- ก าหนดและจัด เรียงล าดับเนื้อหาให้ผู้เรียนได้ทราบล่วงหน้าอย่างชัดเจนและสามารถเรียนรู้ไ ด้ เ ต็ ม ศั ก ย ภ า พ แ ล ะ น า ไ ปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ - ค รู มี ค ว า ม ร อ บ รู้ แ ล ะ มีแหล่งข้อมูลให้สืบค้นจนเข้าใจก่อนสอน

เวลา

- ศึกษาโครงสร้างเวลาในหลักสูตร - ก าหนดเวลาได้เหมาะสมกับเนื้อหา กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ก า รประเมินผล วัยของผู้เรียนและบริบทของท้ องถิ่ น ง่ า ยต่ อการหาวั สดุอุปกรณ ์

- สามารถจัดกิจกรรมการเรียนให้กับผู้ เรียนได้บรรลุจุดประสงค ์- เวลาที่จัดไว้เหมาะสมกับความสนใจตามวัยของผู้เรียน

- ก าหนดเวลาไว้ส ารองในกรณีที่บ า งกิ จกรรมอาจจะใช้ เ วล ามากกว่าที่ก าหนด

วิ ธี ก า ร จั ดกิจกรรม

- จัดกิจกรรมให้ผู้ เรียนได้ปฏิบัติ ด้วยตนเอง เหมาะสมกับวัยและ ความสนใจ - การจัดกิจกรรมให้มีความเชื่อมโยงสัม พันธ์ กันอย่ า ง เป็ นระบบและเหมาะสม - ก าหนดจ านวนกลุ่ม/ห้องเรียนสมาชิก/กลุ่มได้ เหมาะสมกับการปฏิบัติ

- การจัดกิจกรรมที่ให้ผู้ เรียนได้ลงมือปฏิบัติจะท าให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ - การจัดการเรียนรู้เป็นกลุ่มท าให้เกิดมิติทางด้ านสั งคมอย่ า งชัดเจน

- วางแผนจัดล าดับให้ผู้เรียนได้เ รี ย น รู้ ต า มมี ค ว า มต่ อ เ นื่ อ งเ ชื่ อ ม โ ย ง กั น ท า ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี พ้ืนฐานความรู้ที่เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ - จัดกิจกรรมไว้ส ารองกรณีไม่สามารถสอนตามแผนที่ก าหนดไว้ได ้

แหล่งเรียนรู้

- การน าบุคคลที่ เป็นแบบอย่างความพอเพียงเป็นแหล่งรู้ที่เชื่อมโยงสู่การสอนในแต่ละกลุ่มสาระฯ ได้อย่างเหมาะสม - นักเรียนได้เรียนรู้กับแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นของผู้เรียน อยู่ใกล้ตัว เป็นสิ่งที่หาง่าย ไม่ต้องลงทุนมาก และเกิดผลคุ้มค่า

-กา รน า บุ ค คล ที่ เ ป็ นแบบอย่างความพอเพียง ม า บู ร ณ า ก า ร กั บเ นื้ อ ห า วิ ช า เ พ่ื อ ใ ห้ผู้เรียนได้ตระหนัก เห็นความส าคัญในภูมิปัญญาท้องถิ่น - เป็นแหล่งเรียนรู้ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น - ครูใช้แหล่งเรียนรู้อย่างคุ้มค่า

- ติดต่อประสานกับแหล่งเรียนรู้ไว้ให้พร้อมก่อนปฏิบัติ - เตรียมแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆส ารองไว้กรณีไม่สามารถใช้แหล่งเรียนรู้ที่วางแผนไว้

Page 11: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

สื่อ/อุปกรณ์ - จัดสื่ออุปกรณ์ให้เหมาะสมไม่ง่ายหรือยากเกินไปสอดคล้องกับตัวชี้วัด กิจกรรม วัยผู้เรียนและเวลา - ใช้สื่ออุปกรณ์ในท้องถิ่น เป็นการประหยัดงบประมาณเคลื่อนย้ายสะดวก - สื่ออุปกรณ์มีจ านวนพอเพียงกับจ านวนผู้เรียน

- เลือกอุปกรณ์ ในการปฏิบัติงานให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง - สื่ออุปกรณ์มีส่วนช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและเรียนรู้ได้เร็วขึ้น

- เตรียมสื่ออุปกรณ์ให้พร้อมก่อนการปฏิบัติ - วั สดุ อุปกรณ์ที่ ผู้ เ รี ยนต้ องเตรียมมาปฏิบัติครูต้องแจ้งให้นักเรียนทราบก่อน - ครู ชี้แจงการใช้สื่ ออุปกรณ์ หรื อสาธิ ต ให้ นั ก เ รี ยนดู ก่ อนปฏิบัติ - จัดเก็บสื่ออย่างเป็นระบบ

การประเมินผล

- มี ก า ร ออก แ บ บ ก า ร วั ด แ ล ะประเมินผลได้เหมาะสมกับตัวชี้วัด เนื้อหา เวลาวัยผู้เรียน - ก าหนดปริมาณของข้อ วิธีการประเมินเหมาะสมกับเวลา วัย

การประ เมินผลด้ วยวิธีการที่หลากหลายแ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม ต ร งตัวชี้วัดท าให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

- วางแผนการออกแบบเครื่องมือประเมินผลตรงกับตัวชี้ วัดมีผู้ตรวจสอบ - มี วิ ธี ก าร วั ดที่ หล ากหลาย เที่ยงตรง มีความเชื่อมั่นตรงตามจุดประสงค์

ความรู้ที่ครูจ าเป็นต้องมี

- การท าโครงงาน - มีความรู้ในเรื่องที่สอน - วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ - หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - การประเมินตามสภาพจริง

คุณธรรมของครู

- มีความรักเมตตาศิษย์ เสียสละ มีความยุติธรรมมีกัลยาณมิตร - มีความอดทนและมีความมุ่งม่ันในการพัฒนาผู้เรียน - มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน - รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ยืดหยุ่น - มีวินัย ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี

2. ผลท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรียนสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.1 ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักคิดและฝึกปฏิบัติ ตาม 3 ห่วง 2 เงื่อน ดังนี้

หลักพอเพียง

ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ก าหนดหน้าที่ของสมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของสมาชิก - ก าหนดขอบข่ายการท างานได้เหมาะสมกับเวลาที่ ก า ห น ด แ ล ะ จ า น ว นสมาชิกในกลุ่ม - เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะป ฏิ บั ติ

- มีการวิเคราะห์ห า เ ห ตุ ผ ล เ พ่ื อแก้ปัญหาในขณะปฏิบั ติ กิ จ กรรมอ ย่ า ง มี ส ติ รอบคอบ ถูกต้องเหมาะสม - ร่ ว ม กั นอ ภิ ป ร า ย ใ น

- วางแผนการปฏิบัติกิจกรรมที่ ไ ด้ รั บมอบหมายได้ อย่ า งเหมาะสมชัดเจนและ ปฏิบัติได้จนส าเร็จ - ศึ ก ษ า ขั้ น ต อน ข อ ง ก า รป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม ที่ ไ ด้ รั บมอบหมายให้เข้าใจก่อนการปฏิบัติ - จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ไว้

Page 12: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

กิจกรรมได้อย่างเหมาะสมคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด - ออกแบบหน่ ว ยกา รเ รี ย น รู้ ใ น สิ่ ง ใ ก ล้ ตั ว ไ ด้เหมาะสมกับงบประมาณที่มี

ประเด็นที่ก าหนดอ ย่ า งสมเหตุสมผล - ปฏิบัติงานกลุ่ม เป็นผู้ น า ผู้ ตาม ต า ม ห ลั กประชาธิปไตยได้

ส ารองในกรณีที่ การปฏิบัติกิจกรรมครั้ งแรกอาจจะไม่ได้ผล - สามารถศึกษาค้นคว้าจากสื่อและแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง - ท างานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข

ความรู้ที่ต้องมีก่อนการเรียน

- องค์ประกอบพื้นฐาน ความเป็นมาของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - หลักการทรงงานและโครงการในพระราชด าริในหลวง - รู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ค าศัพท์ที่เก่ียวข้องกับกิจกรรมยามว่างตางๆ - รู้วิธีน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการกับชีวิตประจ าวัน - การเขียนบรรยาย การท าโครงงาน

คุณธรรม

- มีความซื่อสัตย์ สุจริตและตรงต่อเวลา - มีวินัยในตนเองใฝ่เรียนรู้ - มีความรับผิดชอบ มีความมุ่งม่ันในการท างาน - มีความสามัคคีเสียสละ มีจิตสาธารณะ - มีความเอ้ืออาทร ช่วยเหลือกัน - มีความกตัญญูต่อภูมิปัญญาท้องถิ่น - มีความประหยัด

2.2 ผู้เรียนได้เรียนรู้การใช้ชีวิตที่สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้

ด้าน องค์ประกอบ

สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม

ความรู้

- มีความรู้ในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติกิจกรรมที่ก า ห น ด ไ ว้ ไ ด้ อ ย่ า งเหมาะสมตามบริบทอย่ า งป ร ะหยั ด แ ล ะคุ้มค่า

- มีความรอบรู้ในการท างานเป็นกลุ่มโดยไม่ก่อให้เกิดปัญหา - มีความรู้ในการปฏิบัติตนเมื่อต้องไปศึกษาในแหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน

- มีความรอบรู้ในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ไ ม่ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อสิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม อ ย่ า งประหยัดและเกิดคุณค่าที่สุด

- แนวทา งการพัฒนาท้ องถิ่ นตามปรัชญาของเ ศ ร ษ ฐ กิ จพอเพียง - มีความรอบรู้เก่ียวกับการจัด ท าชิน้งานตามความสามารถ ของตนเอง

ทักษะ

- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการน า เสนอผลงานได้อย่างเหมาะสมตามบริบท

- ปฏิบัติกิจกรรมภายในกลุ่มไดอ้ย่างมีประสิทธิภาพ - มีทักษะในการหาข้อมูล/ปฏิสัมพันธ์กบัภูมิปัญญาท้องถิ่นของ

- ใช้วัสดุอุปกรณ์โดยค านึงถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดกับสิ่ง แวดล้อมอย่างประหยัด

- มีทักษะในการสืบค้นข้อมูลจากภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อย่าง

Page 13: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

เกิดประโยชน์สูงสุด - มีทักษะในการเลือก ใช้วัสดุอุปกรณ์เกี่ยว กับการน าเสนอผลงานได้อย่างเหมาะสม

ชุมชนได้เหมาะสม - ปฎิบัติตามหลักประชาธปิไตย

และเกิดประโยชน ์- เก็บ/ดูแล รักษาวัสดุอุปกรณ์อย่างเป็นระบบโดยไม่ท าลายสิ่งแวดล้อม - มีส่วนร่วมในการรักษาสภาพแวดล้อมของท้องถ่ิน

เหมาะ สม ด้วยการมีมารยาทตามวัฒนธรรมประ เพณีไทยที่ด ี

ค่านิยม

- มีความตระหนักเห็นคุณค่าของวัสดุอุปกรณ์ในท้องถ่ินมาท าให้เกิดมูลค่า - เห็นประโยชน์ของการผลิตจากวสัดุท้องถิ่น

- ตระหนักถึงความส าคัญของการอยู่ร่วมกันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและน ามาใช้ในการด ารงชีวิตปัจจบุัน - เห็นคุณค่าของการท างานร่วมกันด้วยความสามัคคี เอื้ออาทร มีน้ าใจและประชาธปิไตย

- เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยการรักษาความสะอาดและร่วมกันอนุรักษ์

- เ ห็ น คุ ณ ค่ าของบุคคลส าคัญในท้องถิ่นที่มีวิถีชี วิ ต แ บ บพอเพียง

เรื่องเล่าการน าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียง

เรื่อง การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ผู้เล่า นางสาวปัทมา อ่อนน้อม

เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระด ารัสแก่ชาวไทยทุกคนเพ่ือเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถด ารงชีวิตอยู่ได้อย่างมั่นคง มีประสิทธิภาพและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆของโลก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่มาของนิยาม 3 ห่วง 2 เงื่อนไข โดย 3 ห่วงแบ่งออกเป็น ความพอประมาณมีเหตุผลและมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ในส่วนของ 2เงื่อนไขนั้นก็คือความรู้และคุณธรรม ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ าวันมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กวัยรุ่น ซึ่งเป็นวัยที่ต้องศึกษาเล่าเรียน ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ในการค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติมนอกห้องเรียน แต่ติดเกมส์ จนกลายเป็นวิกฤติที่รุนแรงก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ในสังคมและใกล้ตัวเรามาก ทางภาครัฐมีพระราชบัญญัติเกี่ยวกับการควบคุมระยะเวลาการเปิดให้บริการของร้านเกมส์ ร้านอินเตอร์เน็ต แต่ก็ยังห่วงผลประโยชน์และแอบเปิดให้บริการแก่เด็กอยู่ดี การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งท าได้เพียงใช้มาตรการรณรงค์ส่งเสริมและจูงใจ หากเราสามารถเปลี่ยนทัศนคติน าไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้จริง โดยเริ่มต้นที่ตัวเราไม่ใช่เกิดจากกฎ ข้อบังคับ หรือค าสั่งแต่ต้องเกิดจากอุปนิสัยพอเพียงของตนเอง ครูผู้สอนจึงได้สอดแทรกแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน โดยผู้เรียนสามารถท ากิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและการเรียนรู้นอกห้องเรียน โดยผ่านการจัดการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้เรื่องFavorite Pastimes ในหัวข้อ การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ให้ผู้เรียนมีความรู้สามารถวิเคราะห์เกี่ยวกับการเลือกท ากิจกรรมในเวลาว่างที่เหมาะสมกับตนเองหรือครอบครัวปลูกฝังให้ผู้เรียนมีวิธีปรับเจตคติ อุปนิสัย และพฤติกรรมในการท ากิจกรรมที่เป็นประโยชน์ได้จนเป็นนิสัย ดังนั้นผู้สอนจึงได้จัดกระบวนการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ การยกตัวอย่าง การส ารวจข้อมูล การสอบถาม เน้นการปฏิบัติจริง

Page 14: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

เพ่ือน าไปสู่การปฏิบัติตนที่เหมาะสมในชีวิตประจ าวันและเชื่อมโยงสู่ครอบครัว ชุมชน สงัคม และประเทศชาติ ตลอดจนการวัดผลการเรียนรู้ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จากนั้นผู้สอนได้วิเคราะห์แนวทางการจัดกิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งประเด็น เนื้อหา กิจกรรม แหล่งเรียนรู้ สื่ออุปกรณ์ เวลา และการประเมินผล เพ่ือออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่อรอบๆตัว เช่น ข่าว นิตยสาร วารสาร อินเตอร์เน็ตฯลฯ และใช้ค าถามเพ่ือกระตุ้นกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีข้ันตอนดังนี้ ขั้นน า ผู้สอนได้ใช้ค าถามเพ่ือให้นักเรียนเตรียมตัวว่าตนเองต้องใช้ความรู้อะไรบ้างในการที่จะเรียนเรื่องนีแ้ละประเมินตนเองว่าพร้อมหรือยังหากว่ายังไม่พร้อมผู้เรียนต้องท าอย่างไร ขั้นกิจกรรม มีการวางแผนร่วมกันเพื่อส ารวจกิจกรรมยามว่างของเพ่ือนในห้องเรียนว่าส ารวจอะไรบ้าง ท าอย่างไร การท ากิจกรรมนี้มีประโยชน์อย่างไรและส่งผลต่อใครบ้าง ใช้สื่อการสอนใบความรู้เกี่ยวกับการใช้เวลาว่าง โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษที่จ าเป็นในการสื่อสาร เช่น Talk about abilities, Describe hobbies, Questions with How often?, Frequency expressions, Adverbs of frequency เป็นต้น

มีแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน คือห้องศูนย์ภาษาต่างประเทศและห้องสมุด จากนั้นผู้เรียนแบ่งกลุ่ม 4-5 คน โดยแต่ละคนในกลุ่มช่วยกันไปสอบถาม ส ารวจกิจกรรมยามว่างของเพ่ือนกลุ่มอ่ืนๆ ภายในห้องเรียน แล้วน ามาวิเคราะห์ร่วมกันโดยผู้สอนใช้ค าถามกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์และน าเสนอเกี่ยวกับกิจกรรมที่ท ายามว่างว่ามีผลดีเหมาะสมและผลเสียไม่เหมาะสมอย่างไร ถ้าส่งผลเสียจะมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสมอย่างไรพร้อมให้เหตุผลลงในกระดาษ A4 พร้อมทั้งวิเคราะห์ด้วยหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไขด้านหลังของใบงาน เพ่ือแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนตระหนักถึงประโยชน์ในการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ว่ามีผลต่อตนเอง ครอบครัว และประเทศชาติอย่างไร รวมไปถึงการน าไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์จริงในชีวิตประจ าวัน เพ่ือการพัฒนาผู้เรียนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค ์ ขั้นสรุป ใช้ค าถามกระตุ้นให้ผู้เรียนเห็นประโยชน์แล้วน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและขยายผลไปสู่ครอบครัวโรงเรียนชุมชน หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง Favorite pastime การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้ว ผู้เรียนส่วนใหญ่ตระหนักถึงประโยชน์มองเห็นความส าคัญที่สามารถน าไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และปฏิบัติจริงจากการท าใบงานและสามารถน าไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจ าวัน ซึ่งผู้สอนได้ประเมินจากการส ารวจการท ากิจกรรมยามว่างของนักเรียน2 เดือนติดต่อกัน เมื่อเทียบกับกิจกรรมที่นักเรียนได้ท าในเดือนก่อนเรียนกับหลังจากได้เรียนในหน่วยการเรียนนี้ อย่างไรก็ตามการส่งเสริม ปลูกฝังให้ผู้เรียนเกิดอุปนิสัยพอเพียงผู้สอนคิดว่าในระยะเวลาเพียงแค่ 2 เดือนอาจยังไม่เพียงพอ ผู้สอนจึงไม่ได้หยุดที่จะถามนักเรียนว่านักเรียนต้องกิจกรรมอะไร ท าอย่างไรและท าไมเราต้องท าเช่นนี้ เพ่ือให้นักเรียนเกิดเป็นนิสัยมิใช่เพียงเพราะครูบอกให้ปฏิบัติ ซึ่งถึงขณะนี้ดิฉันสังเกตว่านักเรียนมีความสนใจในการเรียน สามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยที่ครูไม่ต้องบอกเตือน ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่บ่งบอกได้ว่านักเรียนเกิดอุปนิสัยพอเพียงและน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตจริงได้อย่างเหมาะสม การที่เราน าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันของเรานี้ ส่งผลให้เราสามารถด าเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ตามที่ในหลวงด ารัสไว้ และนอกจากเราจะจัดการ การใช้ชีวิตของเราแล้ว เราก็ควรที่จะมีความรอบคอบในการใช้ชีวิตไม่ให้ใครเดือดร้อนและเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมมากท่ีสุดด้วย

Page 15: หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง What ...chainatpit.ac.th/wp-content/uploads/2016/09/Favorite...ต 1.1 ม. 2/3 ระบ /เข ยนประโยคและข

จากความส าเร็จที่เกิดข้ึน ผู้สอนได้มีโอกาสเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับเพ่ือนครูในกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถน าไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้นักเรียนระดับชั้นในโรงเรียนเกิดอุปนิสัยพอเพียง อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สังคมและประเทศชาติต่อไป

ใบความรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10เรื่อง Favorite Pastimes