พฤติกรรมการจัดการขยะของ...

117
พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ปนัดดา รุจะศิริ วิชาการคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร พ.ศ. 2555

Upload: others

Post on 25-Jan-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

ปนัดดา รุจะศิริ

วิชาการคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม)

คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

พ.ศ. 2555

Page 2: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population
Page 3: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

บทคัดยอ

การศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล มีวัตถุประสงค คือ 1) เพ่ือศึกษาปจจัยสวนบุคคลในดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 2) เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 3) เพ่ือศึกษาปจจัยสวนบุคคลที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะขอ งนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล และ 4) เพ่ือศึกษาแนวทางการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล การศกึษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงสํารวจ (Survey Research) กลุมประชากรท่ีทําการศึกษา คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล จํานวน 101 คน โดยนําขอมูลท่ีไดจากแบบสอบถามมาวิเคราะหดวยโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร สถิติพรรณนาท่ีใช คือ คารอยละ (Percentage) คาความถี่ (Frequency) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Diviation) เพ่ืออธิบายเชิงพรรณนาขอมูลปจจัยสวนบุคคลและพฤติกรรม และสถิติอนุมาน ไดแก การวิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย (t – test) การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (F – test) และคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson’s Correlation Coefficient: r)เพ่ือวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยตาง ๆ กับพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมในการจัดการขยะของนักเรียนและแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะมีความสอดคลองกัน เนื่องจากพฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนกลุมประชากรอยูในระดับต่ํา มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.30 คิดเปนรอยละ 57.5 โดยเม่ือพิจารณาเปนรายขอแลว

ช่ือวิชาการคนควาอิสระ : พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

ช่ือผูเขียน : นางสาวปนัดดา รุจะศิริ ช่ือปริญญา : วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) ปการศึกษา : 2554

Page 4: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

(4)

พบวา พฤติกรรมในการจัดการขยะของนักเรียนกลุมประชากรสวนใหญเปนเรื่องของการนําขยะกลับมาใชใหมท้ังสิ้น ซึ่งมีความสอดคลองกับความคิดเห็นของนักเรียนตอแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียน โดยนักเรียนกลุมประชากรมีความคิดเห็นวามีเกณฑท่ีควรปรับปรุงอยูในระดับมาก อยูในเรื่องของการบังคับใชกฎระเบียบ/ขอบังคับตาง ๆ ของโรงเรียนในเรื่องการคัดแยกและการท้ิงขยะลงถังของนักเรียน และการกําหนดนโยบายของคณะผูบริหารในดานสงเสริมการจัดการขยะในโรงเรียน สวนมีความคิดเห็นวามีเกณฑท่ีควรปรับปรุงอยูในระดับนอย อยูในเรื่องของการติดปายประกาศและคําอธิบายในเร่ืองของขยะรีไซเคิล แสดงใหเห็นวาโรงเรียนใหความสําคัญในเรื่องของการนําขยะนํากลับมาใชใหม แตนักเรียนกลุมประชากรยังขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติ ในสวนนี้ผูศึกษามีความคิดเห็นวาควรกําหนดนโยบายและสรางแรงจูงใจในเรื่องการของการนําขยะกลับมาใชใหมเพ่ือกอใหเกิดพฤติกรรมในการจัดการขยะของนกัเรียนใหอยูในเกณฑที่ดี สําหรับปจจัยสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ประกอบดวย เพศ ระดับชั้นเรียนปจจุบัน โปรแกรม สัญชาติ ภูมิลําเนา สถานะการอยูอาศัย รายไดครอบครัวตอเดือน การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน และการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ พบวา ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการจัดการขยะของนกัเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ในสวนนีค้วรมีการศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนโดยใชวิธีการอื่น เชน การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการเก็บรวบรวมขอมลูพฤติกรรมของนักเรียน ดวยวิธีการสังเกตพฤติกรรมจากนักเรียน ซึ่งอาจใหผลการศึกษาที่แสดงถงึพฤติกรรมท่ีเปนปญหายิ่งขึ้น และควรศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนเปรียบเทียบระหวางโรงเรียนเอกชนและโรงเรียนรัฐบาลดวย เนื่องจากมีปจจัยท่ีแตกตางกันมาก

Page 5: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

ABSTRACT

The study of “Garbage Management Behavior of Secondary Students in Traill International School”, the objectives of this study were to investigate 1) the personal factors in the field of garbage management of secondary students in Traill International School, 2) the behavior of the garbage management of secondary students in Traill International School, 3) the personal factors that influence the behavior of garbage management of secondary students in Traill International School, and 4) the ways to improve the garbage management of Traill International School. The study was the survey research. The population group for the study comprised 101 students in secondary of Traill International School, studied the data from questionnaires, analyzed by using a computer program for social science research. Descriptive statistics i.e., percentage, frequency, mean and standard deviation to describe information of the personal factors and behavior, while the inferential statistic to test the hypothesis were t – test, F – test and correlation to analyse the relation between the various factors and garbage management behavior of secondary students in Traill International School.

The findings were summarized as follow: the behavior of garbage management of the population group was low level. The mean was 2.30, equivalent to 57.5 percent. When considering the above, then the garbage management behavior of the student was the majority of the garbage recycled which consistent with the student’s opinions on ways to improve the garbage

Title of Research Paper : Garbage Management Behavior of Secondary Students in Traill International School

Author : Miss. Panatda Rujasiri Degree : Master of Science (Environmental Management) Year : 2011

Page 6: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

(6)

management of the school. The population group’s opinion that there are criteria that should be improved at a high level in the matter of enforcing the rule/regulations and the separation and put the garbage into the bin. The policy of the management in the promotion of garbage management in the school which opinion improvement at a low level in terms of the notice and explanation of garbage recycling shows that the school focuses on the issue of garbage and recycling but the student still lack the motivation to practice. In this study, there are policies that create incentives for recycling to the cause of their behavior in garbage is considered satisfactory.

Personal factors that effecting the behavior of the garbage management of the secondary students in Traill International School were sex, class, program, nationality, domicile, status of the residents, family income per month, learning the discipline training to handle the garbage from families, learning the discipline training to handle the garbage from school and the facilitating of garbage management that did not relate to garbage management behavior of secondary students in Traill Internation School. There should be a study of garbage management behavior of students by using other methods such as qualitative research by way of collecting student behavior data with observing the behavior of their students and study garbage management behavior of students which compare between private and public schools since there are many factors.

Page 7: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

กิตติกรรมประกาศ

วิชาการคนควาอิสระเร่ือง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ฉบับนี้ สําเร็จลงไดดวยความอนุเคราะหจากบุคคลหลายทาน ดังนั้น ผูศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

ขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร. ธวัชชัย ศุภดิษฐ ในฐานะอาจารยท่ีปรึกษา ท่ีกรุณาสละเวลาใหความชวยเหลืออยางดียิ่ง ตลอดจนใหคําปรึกษาแนะนําตอการทาํวิชาการคนควาอิสระครั้งนี้จนสําเร็จลุลวง

ขอกราบขอบพระคุณ คณาจารยทุกทานของหลักสูตรการจัดการสิ่งแวดลอม คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม ท่ีไดถายทอดความรูใหแกผู เขียน เจาหนาท่ีของคณะพัฒนาสังคม และสิ่งแวดลอม ท่ีกรุณาใหความชวยเหลือ ประสานงาน อํานวยความสะดวก ดวยอัธยาศัยไมตรี ดียิ่ง สุภาพ เปนกันเอง และขอขอบคุณ เพ่ือนรวมหลักสูตรการจัดการสิ่งแวดลอม ภาคพิเศษ รุนท่ี 8 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ทุกทาน ท่ีใหความชวยเหลือ และเปนกําลังใจท่ีดีมาตลอด

ขอกราบขอบพระคุณ นางจินดา เทร็ลล ผูบริหารโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ท่ีอนุญาตใหดําเนินการพรอมสนับสนุนขอมูลในการจัดทําวิชาการคนควาอิสระ และขอขอบใจนักเรียนโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลทุกทานท่ีใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถามอยางดียิ่ง

ขอขอบคุณ สมาชิกทุกทานในครอบครัว นายณัฐพรรณ และนางสมปอง รุจะศิริ ซึ่งเปนบิดาและมารดาท่ีใหกําลังใจ ยอมสละเวลาใหผูเขียนไดเขามาศึกษาหลักสูตรการจัดการสิ่งแวดลอม รวมถึง นายนภชา ย้ิมอยู ท่ีคอยเปนกําลังใจท่ีดีในการจัดทําวิชาการคนควาอิสระมาโดยตลอด

ปนัดดา รุจะศิริ

สิงหาคม 2555

Page 8: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

สารบัญ

หนา บทคัดยอ (3) Abstract (5) กิตติกรรมประกาศ (7) สารบัญ (8) สารบัญตาราง (10) สารบัญภาพ (12) บทที่ 1 บทนํา 1 1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา 1 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 3 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 3 1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 4 1.5 นิยามศพัท 5 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวของ 7

2.1 แนวคิดเร่ืองพฤติกรรม 7 2.2 ทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับพฤตกิรรม 12

2.3 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการขยะ 18 2.4 แนวคิดการจัดการขยะอยางมีประสิทธภิาพ 27 2.5 ผลท่ีไดรับจากการดําเนนิงานอยางมคีวามรับผิดชอบตอสังคม 28 2.6 ขอมูลพ้ืนฐานของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 29 2.7 การใหความรูเกี่ยวกับการจัดการขยะในโรงเรยีน 30 2.8 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 34

บทที่ 3 วิธีการศึกษา 41 3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 41

Page 9: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

(9)

3.2 สมมติฐานการศกึษา 43 3.3 ประชากรท่ีใชในการศึกษา 43 3.4 เครือ่งมือท่ีใชในการศกึษาและวิธกีารท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 44 3.5 การตรวจสอบคุณภาพของเครือ่งมือ 47 3.6 วิธีประมวลผลและวิเคราะหขอมูล 48 3.7 การวิเคราะหขอมูล 49 บทที่ 4 ผลการศกึษา 52 4.1 ขอมูลสวนบุคคล 52 4.2 พฤติกรรมของนักเรียนในดานการจัดการขยะ 58 4.3 แนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาตเิทรล็ล 61 4.4 การทดสอบสมมติฐาน 64 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 74 5.1 สรุปผลการศกึษา 75 5.2 อภิปรายผลการศกึษา 80 5.3 ขอเสนอแนะ 85 บรรณานุกรม 87 ภาคผนวก 93 ภาคผนวก ก แบบสอบถามแบบมีโครงสราง 94 ภาคผนวก ข ผลการทดสอบความเชื่อม่ันแบบสอบถาม 101 ประวัติผูเขียน 105

Page 10: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

3.1 ประชากรเปาหมาย จําแนกตามระดับชัน้เรียน 44 4.1 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตามเพศ 52 4.2 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตาม 53

ระดับชั้นเรียนปจจุบัน 4.3 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตามโปรแกรม 53 4.4 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตามสัญชาติ 54 4.5 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตามภูมิลําเนา 54 4.6 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตาม 55

สถานะการอยูอาศัย 4.7 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตาม 55

รายไดครอบครัว 4.8 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตาม 56

การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว 4.9 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตาม 56

การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน 4.10 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตาม 57

การอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะของโรงเรียน 4.11 คาเฉลีย่และคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของประชากร เม่ือจําแนกตาม 59

พฤติกรรมการจัดการขยะ 4.12 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตาม 62 แนวทางการปรับปรุงดานการจัดการขยะ

4.13 คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบตัวแปร 64 เพศกับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ

Page 11: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

(11)

4.14 คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรม 65

ดานการจัดการขยะ จําแนกตามระดับชั้นเรียนปจจุบัน 4.15 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ 65

จําแนกตามระดับชั้นเรียนปจจุบัน 4.16 คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรม 66

ดานการจัดการขยะ จําแนกตามโปรแกรม 4.17 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามโปรแกรม 66 4.18 คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ 67

จําแนกตามสัญชาติ 4.19 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามสัญชาติ 67 4.20 คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ 68

จําแนกตามภูมิลําเนา 4.21 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามภูมิลําเนา 69 4.22 คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ 69

จําแนกตามสถานะการอยูอาศัย 4.23 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามสถานะการอยูอาศัย 70 4.24 คาเฉลีย่ สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ 71

จําแนกตามรายไดครอบครัว 4.25 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามรายไดครอบครัว 71 4.26 ความสัมพันธระหวางการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว 72

กับระดับพฤตกิรรมดานการจัดการขยะ 4.27 ความสัมพันธระหวางการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน 72

กับระดับพฤตกิรรมดานการจัดการขยะ 4.28 ความสัมพันธระหวางการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ 73

กับระดับพฤตกิรรมดานการจัดการขยะ 5.1 สรุปผลการทดสอบสมมตฐิาน 78

Page 12: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา 3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 42

Page 13: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา เปนท่ีทราบกันดีอยูแลววาปญหาสิ่งแวดลอมนับวันยิ่งทวีความรุนแรงและมีผลกระทบตอทุกชีวิตบนโลก สาเหตุสําคัญของปญหามาจากการกระทําของมนุษยท้ังสิ้น มนุษยนําทรัพยากรในโลกมาใชเปนประโยชนแกตน โดยผานกระบวนการผลิตกอใหเกิดมลพิษและของเสียในแตละขั้นตอนของการผลิต ไมเพียงเทานั้นมนุษยยังมีวัฒนธรรมบริโภคนิยมที่ใหความสาํคญักบัรปูลกัษณความสวยงามของสินคาและความสะดวกสบายในการบริโภค จากอดีตจนปจจุบันท้ังภาครัฐและเอกชนไดพยายามรณรงคและหาวิธีการตาง ๆ มากมายเพ่ือจะใหประชาชนเกิดจิตสํานึกและรวมกนัคัดแยกขยะอยางถูกตองแตยังไมประสบผลสําเร็จ ท้ังนี้เนื่องจากประชาชนท่ัวไปมีสวนรับรูในเรือ่งการจัดการขยะในขั้นตอนตาง ๆ นอยมาก โดยสวนใหญคิดวาไมใชหนาท่ีของตน แตเปนหนาท่ีของรัฐ จึงไมใหความรวมมือในการท้ิงขยะลงถังที่จัดไวหรือท้ิงขยะในท่ีสาธารณะ ไมชวยกันลดปริมาณขยะและแยกขยะกอนท้ิง ดังนั้น การแกไขปญหาขยะจึงจําเปนจะตองสรางจิตสํานึกและควรเริ่มปลูกฝงต้ังแตวัยเด็กใหเกิดความรับผิดชอบในการมีสวนรวมและรูจักการแกไขปญหาของขยะใหหมดไป การคัดแยกขยะ นับเปนวิธีการหนึ่งของระบบการจัดการขยะ เปนการแกไขปญหาขยะท่ีประชาชนมีสวนรวมในการปองกันและแกไข การคัดแยกขยะ ณ แหลงกําเนิดเปนการชวยลดปริมาณขยะ กอนท่ีจะนําไปกําจัดในขั้นตอนสุดทายซึ่งเปนขั้นตอนท่ีสําคัญในการจัดการกับขยะเปนการลดรายจาย อีกท้ังยังสรางรายได ท่ีเกิดจากการนําวัสดุท่ีแยกออกมานั้นไปจําหนาย (ปรีดา แยมเจริญวงศ, 2531: 130) ปจจุบันปญหาขยะไดเพ่ิมมากขึ้นเร่ือย ๆ ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการขาดระบบการจัดการท่ีดี การขาดพ้ืนท่ีรองรับปริมาณขยะ รวมถึงการขาดจิตสํานึก ทําใหพฤติกรรมการท้ิงขยะไมมีการคัดแยกขยะกอนทิ้ง ไมมีการนําขยะมาใชประโยชนใหม โดยเฉพาะในชุมชนเมือง ปริมาณขยะจึงเพ่ิมขึ้นอยางมาก โดยในป พ.ศ. 2552 มีปริมาณของขยะมากกวา 15.0 ลานตันท่ัวประเทศ หรือคิดเฉลี่ยวันละ 41,410 ตัน/วัน (กรมควบคุมมลพิษ, 2553) ปญหาขยะจะไมมีวันหมดไปหรือบรรเทาเบาบางลง ถากระบวนการจัดการขยะไมมีประสิทธิภาพเพียงพอ ตลอดจนยังไมมีจิตสํานึกในการ

Page 14: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

2

แกปญหาขยะท่ีเกิดขึ้น ดังนั้น การสรางจิตสํานึกในการจัดการขยะนี้จึงควรเร่ิมต้ังแตวัยเด็ก เพ่ือเปนการปลูกฝงจิตสํานึกท่ีดีในการจัดการขยะใหเกิดขึ้น ซึ่งจะสงผลตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใหเปนไปอยางถาวร อันจะสงผลตอการแกปญหาขยะไดอยางมีประสิทธิภาพ (อคิน รพีพัฒน, 2548: 6) โรงเรียนเปนสถาบันการศึกษาท่ีมีบทบาทสําคัญในการสรางจิตสํานึกใหเกิดขึ้นในตัวเด็ก ซึ่งเดก็ในชวงมัธยมศึกษาจะมีลักษณะพัฒนาการทางสติปญญาท่ีเพ่ิมขึ้น เด็กจะมีความกาวหนาทางดานความคิด ความเขาใจ และการหาเหตุผลเพ่ือมาอธิบายสิ่งตาง ๆ ไดอยางถูกตองมากขึ้น

โรงเรียนนานาชาติเทร็ลลเปนโรงเรียนขนาดกลางมีการจัดการศึกษาในระบบโดยใชหลักสูตรตางประเทศ ท่ีปรับรายละเอียดเนื้อหาวิชาใหมหรือหลักสูตรท่ีจัดทําขึ้นเองท่ีไมใชหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการและใชภาษาตางประเทศเปนสื่อในการเรียนการสอนใหกับนักเรียน มีการจัดการเรียนการสอนจากระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับมัธยมศึกษา ซึ่งโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลเปนสถานศึกษาท่ีใหความสนใจในเรื่องปญหาการจัดการขยะในโรงเรียน เนื่องจากเห็นวาเด็กและเยาวชนมีศักยภาพในการพัฒนาหรือสงเสริมใหเขามาทํากิจกรรมในดานการจัดการขยะ เพราะเด็กในวัยนี้มีความเจริญทางรางกายและระดับสติปญญา ตลอดจนวุฒิภาวะเพียงพอที่จะเรียนรูถึงปญหาขยะ ดังนั้น การแกปญหาดานขยะท่ีดีในระดับหนึ่งจึงควรมุงเนนไปสูกลุมเปาหมายที่เปนเด็กและเยาวชน ดวยเหตุผลดังกลาวจึงทําใหผูศึกษาเล็งเห็นความสําคัญของการจัดการขยะภายในโรงเรียนโดยเนนในเรื่องพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งผูศึกษาเห็นวาภายในโรงเรียนมีการจัดการขยะท่ียังขาดระบบการจัดการท่ีเหมาะสม ประกอบกับขอจํากัดทางดานบริเวณพ้ืนท่ีท้ิงขยะท่ีจํากัดและไมมีมาตรการหรือขอกําหนดท่ีชัดเจนสําหรับการดําเนินการเพื่อสานตอนโยบายจากผูบริหารหรือผูท่ีมีสวนเกี่ยวของโดยตรง รวมถึงการขาดแรงจูงใจในการจัดการขยะไมวาจะเปนการคัดแยกขยะกอนท้ิง การนํากลับมาใชซ้ํา ตลอดจนอุปกรณที่อํานวยความสะดวกโดยเฉพาะถังขยะท่ีไมมีการแบงแยกประเภทสําหรับขยะแตละประเภท จึงนําไปสูพฤติกรรมการท้ิงขยะของนักเรียนท่ีแตกตางกันออกไป สภาพปญหาดังกลาวขางตนเปนสิ่งท่ียังรอการแกไขปรับปรุงเพ่ือใหเกิดการจัดการขยะที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

โรงเรียนนานาชาติเทร็ลลมีจํานวนนักเรียนทั้งสิ้น 292 คน โดยแบงออกเปน นักเรียนระดับชั้นอนุบาลจํานวน 17 คน นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 1 ถึง 6 จํานวน 81 คน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 93 คน และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 101 คน ปญหาขยะเปนปญหาหนึ่งท่ีสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมในโรงเรียนทําใหเกิดทัศนะ

Page 15: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

3

วิสัยและภาพลักษณที่ไมดี อันเนื่องมาจากพฤติกรรมของนักเรียนในดานการจัดการขยะ รวมถึงมาตรการตาง ๆ ภายในโรงเรียนที่สงผลใหการจัดการขยะภายในโรงเรียนไมเกิดประสิทธิภาพท่ีดีนัก ผูศึกษาจึงสนใจท่ีจะพัฒนาและหาแนวทางการปรับปรุงแกไขดานพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนในโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล โดยกลุมประชากรท่ีนํามาศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 101 คน ผูศึกษาเห็นวาจะเปนประโยชนอยางยิ่งหากมีการศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนภายในโรงเรียน เพ่ือเปนประโยชนในการลดปริมาณขยะภายในโรงเรียน และมีมาตรการแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนใหถูกตองและเหมาะสม รวมถึงเพ่ือนําขอมูลไปวิเคราะหปญหา อุปสรรค เพื่อนําไปสูการจัดการขยะท่ีดีภายในโรงเรียน 1.2 วตัถปุระสงคของการศกึษา

1.2.1 เพื่อศึกษาปจจัยสวนบุคคลในดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

1.2.2 เพ่ือศึกษาพฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

1.2.3 เพ่ือศึกษาปจจัยสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

1.2.4 เพ่ือศึกษาแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 1.3 ขอบเขตของการศึกษา

การศึกษาวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล เขตรามคําแหง จังหวัดกรุงเทพมหานคร ไดกําหนดขอบเขตของการศึกษา ดังนี้

1.3.1 ดานประชากร ประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 – 6 โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล จํานวน 101 คน (ขอมูล ณ วันท่ี 16 ธันวาคม พ.ศ. 2554)

Page 16: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

4

1.3.2 ดานเนื้อหา ประกอบดวย

1.3.2.1 ตัวแปรอิสระ ไดแก 1) ปจจัยสวนบุคคล

(1) เพศ (2) ระดับชั้นเรียน (3) โปรแกรม (4) สัญชาติ (5) ภูมิลําเนา (6) สถานะการอยูอาศัย (7) รายไดครอบครัว (8) การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว (9) การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน (10) การอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ

1.3.2.2 ตัวแปรตาม ไดแก ตัวแปรตามในกรอบแนวคิดของการศึกษา คือ พฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

1.3.3 ดานพื้นท่ี พ้ืนท่ี คือ โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล เลขท่ี 43 ซอย 16 ถนนรามคําแหง เขตหัวหมาก

กรุงเทพมหานคร 1.3.4 ดานเวลา

ใชระยะเวลาในการดําเนินงานระหวางเดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 – มิถุนายน พ.ศ. 2555

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.4.1 เพ่ือทราบถึงปจจัยสวนบุคคลในดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

Page 17: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

5

1.4.2 เพ่ือทราบถึงพฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 1.4.3 เพ่ือทราบถึงปจจัยสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียน

มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 1.4.4 เพื่อทราบถึงแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติ

เทร็ลล

1.5 นิยามศัพท

การศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาไดใหคําอธิบายศัพทเฉพาะท่ีเกี่ยวของไว ดังนี้ 1.5.1 พฤติกรรม หมายถึง การกระทําของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียน

นานาชาติเทร็ลลที่กระทําโดยมีความรู ความเขาใจ ทัศนคติ และการปฏิบัติ เปนตวักอใหบุคคลนัน้แสดงพฤติกรรมออกมา อาจเปนพฤติกรรมท่ีถูกหรือผิดก็ได ซึ่งแบงเปนพฤติกรรมที่อาจจะสังเกตไดและพฤติกรรมท่ีสังเกตไมได

1.5.2 ขยะ หมายถึง บรรดาสิ่งของตาง ๆ ในขณะนั้น ท่ีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลไมตองการและท้ิงไป ท้ังนี้รวมถึง กลองโฟม แกวพลาสติก ถุงขนมขบเคี้ยว เปลือกลูกอม ขวดน้ําพลาสติก กระปองน้ําอัดลม เศษกระดาษ หนังสือพิมพเกา กลองลังกระดาษ ที่เหลือจากการใชประโยชนจากกิจกรรมภายในโรงเรียน

1.5.3 การจัดการขยะ หมายถึง การดําเนินการใด ๆ ก็ตามท่ีเกี่ยวของกับการบริหารจัดการขยะในโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ไดแก การคัดแยกขยะ การลดการเกิดขยะ หรือการนํากลับมาใชใหม

1.5.4 พฤติกรรมการจัดการขยะ หมายถึง การปฏิบัติหรือการกระทําของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลที่แสดงออกเปนกิจวัตรประจําวัน ในการคัดแยกประเภทของขยะ พฤติกรรมการทิ้งขยะ และการนําขยะกลับมาใชใหม ทําใหขยะลดลง เปนการดูแลความสะอาดภายในโรงเรียน

1.5.5 เพศ หมายถึง เพศของนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 ซึ่งจําแนกออกเปน 2 เพศ คือ 1) เพศหญิง และ 2) เพศชายในโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

Page 18: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

6

1.5.6 ระดับชั้นเรียน หมายถึง ชั้นเรียนที่นักเรียนกําลังศึกษาอยูในโรงเรียนนานาชาติ

เทร็ลล เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร โดยแบงเปน 3 ระดับ คือ 1) มัธยมศึกษาปท่ี 4 2) มัธยมศึกษาปท่ี 5 และ 3) มัธยมศึกษาปท่ี 6

1.5.7 โปรแกรม หมายถึง หลักสูตรหรือแผนการศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลท่ีเลือกเรียน

1.5.8 สัญชาติ หมายถึง ประเทศเกิดของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล โดยไมนับเชื้อชาติ

1.5.9 ภูมิลําเนา หมายถึง ถิ่นท่ีอยูอาศัยในปจจุบันของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

1.5.10 สถานะการอยูอาศัย หมายถึง จํานวนบุคคล ท่ีอยูอาศัยกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลในท่ีพักเดียวกันไมนอยกวา 5 วันตอ 1 สัปดาห

1.5.11 รายไดครอบครัว หมายถึง รายไดของครอบครัวท่ีไดรับตอเดือน 1.5.12 การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว หมายถึง ความรูความ

เขาใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในสิ่งท่ีครอบครัวไดอธิบายหรือมีการปฎิบัติเปนแนวทางเพ่ือเปนแบบอยางในเรื่องปริมาณขยะในครอบครัว และนักเรียนมีการปฏิบัติตอขยะท่ีเกิดขึ้น

1.5.13 การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน หมายถึง ความรูความเขาใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลในสิ่งท่ีคณะครูอาจารยหรือบุคคลากรภายในโรงเรียนไดอธิบายหรือมีการปฎิบัติเปนแนวทางเพ่ือเปนแบบอยางในเร่ืองปริมาณขยะในโรงเรียน และนักเรียนมีการปฏิบัติตอขยะที่เกิดขึ้น

Page 19: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียน

นานาชาติเทร็ลล” ผูศึกษาไดกําหนดประเด็นศึกษาเพ่ือใชเปนกรอบพ้ืนฐานและประกอบแนวทางการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการขยะ รวมตลอดถึงงานวิจัยที่เกี่ยวของโดยแบงออกเปนสวน ๆ ดังนี้

2.1 แนวคิดเรื่องพฤติกรรม 2.2 ทฤษฎีท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรม 2.3 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการขยะ 2.4 แนวคิดการจัดการขยะอยางมีประสิทธิภาพ 2.5 ผลท่ีไดรับจากการดําเนินงานอยางมีความรับผิดชอบตอสังคม 2.6 ขอมูลพื้นฐานของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 2.7 การใหความรูเกี่ยวกับการจัดการขยะในโรงเรียน 2.8 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

2.1 แนวคิดเรื่องพฤติกรรม

2.1.1 ความหมายของพฤติกรรม พจนานุกรม Longman Dictionary of Psychology and Psychiatry (1984 อางถึงใน ทรงพล

กลับศรีออน, 2547: 4) ไดใหคําจํากัดความวา “พฤติกรรม” เปนการกระทําหรือการตอบสนองการกระทําทางจิตวิทยาของแตละบุคคล และเปนปฏิสัมพันธในการตอบสนองตอสิ่งกระตุนภายในหรือภายนอก รวมทั้งเปนกิจกรรมการกระทําตาง ๆ ท่ีเปนไปอยางมีจุดมุงหมาย สังเกตได หรือเปนกิจกรรมการกระทําตาง ๆ ท่ีไดผานการใครครวญมาแลว หรือเปนไปอยางไมรูสึกตัว สวน Albert (1997: 16) ไดใหคําจํากัดความ “พฤติกรรม” หมายถึง ความรู ความเขาใจ หรือความเชื่อของคน ซึ่งมีบทบาทสําคัญตอการแสดงออกของพฤติกรรม ในทํานองเดียวกันกับ Martin and Pear (1992:3)

Page 20: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

8

ไดใหคําจํากัดความวา “พฤติกรรม” คือ กิจกรรม การกระทํา การแสดงออก การตอบสนอง ความรับผิดชอบ และการโตตอบ พฤติกรรมเปนสิ่งที่บุคคลจะแสดงออกมาท้ังการพูดหรือการกระทําตลอดจนใหทัศนะวา สิ่งแวดลอมเปนสาเหตุของพฤติกรรม สวน Zimbardo and Gerrig (1996: 4) ไดใหคําจํากัดความของ “พฤติกรรม” วาเปนผลจากการแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอสิ่งเราในสถานการณตาง ๆ ขณะเดียวกัน สิทธิโชค วรานุสันติกูล (2548: 14) ใหความหมาย “พฤติกรรม” คือ การกระทําของสิ่งมีชีวิตโดยท่ีรูสึกตัว และไมรูสึกตัวในลักษณะที่สังเกตไดหรือไมก็ตามถือวาเปนการกระทําท้ังสิ้น และในสวนของ วิมลสิทธ หรยางกูล (2526: 35) กลาววา พฤติกรรมมนุษยนั้นมีความสัมพันธระหวางพฤติกรรมทางจิตหรือพฤติกรรมภายใน ไดแก ความคิด ทัศนคติ ความรูสึก ความเชื่อ จะทําหนาท่ีควบคุมพฤติกรรมภายนอก

จากความหมายตาง ๆ ของพฤติกรรมที่นํามากลาวไวขางตน สามารถสรุปไดวา “พฤติกรรม” คือ การแสดงออกซึ่งการกระทําของมนุษยท่ีสังเกตเห็นไดจากภายนอก มีรากฐานจากความรู ความเชื่อ ทัศนคติสวนบุคคล โดยพฤติกรรมท่ีแสดงออกจะถูกควบคุม สั่งการดวยระบบจารีตขนบธรรมเนียมประเพณี กฎระเบียบ และขอบังคับตาง ๆ

2.1.2 ประเภทของพฤติกรรม สมจิตต สุพรรณทัสน (2526: 26) และสิทธิโชค วรานุสันติ (2548: 14) ไดจําแนกพฤติกรรม

ของบุคคลแบงออกไดหลายลักษณะหากจําแนกโดยอาศัยการสังเกตเปนหลัก สามารถแบงประเภทของพฤติกรรมได 2 ประเภท หลัก ๆ คือ

2.1.2.1 พฤติกรรมภายในหรือพฤติกรรมปกปด (Covert Behavior) หมายถึง การกระทําหรือกิจกรรมท่ีเกิดขึ้นในตัวบุคคล ซึ่งสมองจะทําหนาท่ีรวบรวมและสั่งการ ซึ่งมีท้ังที่เปนรูปธรรม อันไดแก การเตนของหัวใจ การบีบตัวของลําไส และท่ีเปนนามธรรม ไดแก ความคิด ความรูสึก ทัศนคติ ความเชื่อ คานิยม ซึ่งมีอยูในสมองของคนท่ีไมสามารถสังเกตได

2.1.2.2 พฤติกรรมภายนอกหรือพฤติกรรมเปดเผย (Overt Behavior) หมายถึง ปฏิกิริยาของบุคคล หรือกิจกรรมของบุคคลท่ีปรากฎออกมาใหบุคคลอื่นเห็นได ท้ังวาจา การกระทํา ทาทางตาง ๆ เชน การพูด การหัวเราะ การกินอาหาร การรักษาความสะอาด การปลูกตนไม เปนตน ซึ่งพฤติกรรมภายนอกเปนปจจัยท่ีสําคัญท่ีสุดของมนุษยท่ีจะกอใหเกิดการอยูรวมกนักบับคุคลอืน่และเปนสาเหตุท่ีสําคัญท่ีจะกอใหเกิดการอนุรักษสิ่งแวดลอม

Page 21: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

9

2.1.3 องคประกอบของพฤติกรรม Cronbach (1972: 14) อธิบายวา พฤติกรรมของมนุษยมีองคประกอบอยู 7 ประการ คือ

2.1.3.1 เปาหมาย (Goal) หมายถึง วัตถุประสงค หรือความตองการ ซึ่งกอใหเกิดพฤติกรรม โดยมนุษยตองทํากิจกรรมเพ่ือสนองตอบตอความตองการของตนและอาจมีความตองการหลาย ๆ อยางในเวลาเดียวกัน มนุษยจึงตองเลือกท่ีจะตอบสนองความตองการท่ีสําคัญกอนหลังจากนั้นจึงคอยสนองตอบความตองการอื่น ๆ ที่สําคัญนอยกวาในภายหลัง

2.1.3.2 ความพรอม (Readiness) หมายถึง ระดับวุฒิภาวะ และความสามารถท่ีจําเปนในการทํากิจกรรมเพ่ือสนองความตองการ

2.1.3.3 สถานการณ (Situation) หมายถึง ลูทางหรือโอกาส หรือเหตุการณท่ีเปดโอกาสใหเลือกทํากิจกรรมเพ่ือสนองความตองการ

2.1.3.4 การแปลความหมาย (Interpretation) หมายถึง การพิจารณาลูทางหรือสถานการณ เพ่ือเลือกหาวิธีท่ีคิดวาจะสนองความตองการใหเปนท่ีพอใจมากท่ีสุด

2.1.3.5 การตอบสนอง (Response) หมายถึง การดําเนินการทํากิจกรรม เพ่ือสนองความตองการตามวิธีท่ีเลือกสรรแลว

2.1.3.6 ผลที่ตามมา (Consequence) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นจากการกระทํากิจกรรมนั้น ซึ่งอาจไดผลตรงกับท่ีคาดหวังไว หรือตรงขามกับที่คิดหวังไว

2.1.3.7 ปฏิกิริยาตอความผิดหวัง (Reaction to Thwarting) หมายถึง ปฏิกิริยาท่ีเกิดขึ้นเม่ือสิ่งท่ีเกิดขึ้นไมสามารถตอบสนองความตองการความตองการตามวิธีท่ีเลือกสรรแลว

2.1.4 สิ่งที่กําหนดพฤติกรรม สิ่งท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของมนุษยมีหลายประการ ซึ่งอาจจําแนกได 2 ประการ (ชุดา จิต

พิทักษ, 2525: 58) คือ 2.1.4.1 ลักษณะนิสัยสวนตัว ไดแก

1) ความเชื่อ หมายถึง การท่ีบุคคลคิดถึงอะไรก็ไดในแงของขอเท็จจริง ซึ่งไมจําเปนจะตองถูกหรือผิดเสมอไป ความเชื่ออาจมาโดยการเห็น การบอกเลา การอาน รวมท้ังการคดิขึ้นมาเอง

2) คานิยม หมายถึง สิ่งท่ีคนนิยมยึดถือประจําใจท่ีชวยตัดสินใจในการเลือก

Page 22: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

10

3) ทัศนคติหรือเจตคติ มีความเกี่ยวของกับพฤติกรรมของบุคคล กลาวคือ

ทัศนคติเปนแนวโนมหรือขั้นเตรียมพรอมของพฤติกรรมและถือวาทัศนคติมีความสําคัญในการกําหนดพฤติกรรมของสังคม

4) บุคลิกภาพ เปนสิ่งกําหนดวาบุคคลหนึ่งจะทําอะไร ถาเขาตกอยูในสถานการณหนึ่ง เปนสิ่งท่ีบอกวาบุคคลจะปฏิบัติอยางในสถานการณหนึ่ง ๆ

2.1.4.2 กระบวนการอื่น ๆ ทางสังคม ไดแก 1) สิ่งกระตุนพฤติกรรม (Stimulus Object) และความเขมขนของสิ่งกระตุน

พฤติกรรม ลักษณะนิสัยของบุคคล คือ ความเชื่อ คานิยม ทัศนคติ บุคลิกภาพ มีอิทธิพลตอพฤติกรรมก็จริง แตพฤติกรรมจะเกิดขึ้นไมไดถาไมมีสิ่งกระตุนพฤติกรรม ซึ่งเปนปจจัยภายในบุคคล ไดแก การสะสมความรู ประสบการณในเรื่องตาง ๆ ที่เคยไดรับหรืออาจไดรับจากภายนอก อาทิ จากขาวสาร คําบอกเลาของบุคคล เปนตน

2) สถานการณ (Situation) หมายถึง สิ่งแวดลอมท้ังท่ีเปนบุคคล ไมใชบุคคลซึ่งอยูในสภาวะที่บุคคลกําลังจะมีพฤติกรรม

สรุปไดวาสิ่งที่กําหนดพฤติกรรมจากความหมายท่ีใหไวขางตน สามารถอธิบายไดวาพฤติกรรมจะเกิดขึ้นไมไดถาหากขาดสิ่งกระตุนพฤติกรรมซึ่งไมวาจะเปนความเชื่อคานิยม ทัศนคติ และบุคลิกภาพของบุคคล สิ่งเหลานี้ลวนเกิดจากกระบวนการขัดเกลาทางสังคมหรือในชื่อเรียก ท่ีคลายกันวา “Socialization” รวมท้ังลักษณะท่ีเกิดขึ้นในทางสภาพแวดลอมท่ีเรียกวา ประสบการณ ซึ่งในกระบวนการดังกลาวขางตน จะเปนตัวกําหนดพฤติกรรมหรือการกระทําของมนุษยนั่นเอง

2.1.5 กระบวนการพฤติกรรมของมนุษย กระบวนการพฤติกรรมมีขั้นตอนของกระบวนการเกิดพฤติกรรม 3 กระบวนการ ซึ่ง

วิมลสิทธ หรยางกูร (2526: 7 – 9) ไดอธิบายกระบวนการเกิดพฤติกรรมโดยเกิดจาก 2.1.5.1 กระ บวนการรับรู (Perception) คือ กระ บวนการรับขาวส ารจาก

สภาพแวดลอมโดยผานทางระบบประสาทสัมผัส กระบวนการจึงรวมความรูสึก (Sensation) ดวย

Page 23: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

11

2.1.5.2 กระบวนการรับรูและความเขาใจ (Cognition) คือ กระบวนการท่ีเกี่ยวของ

กับกระบวนการทางจิตท่ีรวมถึงการเรียนรู การจํา การคิด การพัฒนา ซึ่งกระบวนการทางจิตดังกลาว หมายรวมถึงการพัฒนาดานกระบวนการรู ท่ีเกิดจากการตอบสนองทางอารมณ (Affect) ซึ่ง กระบวนการรับรู กระบวนการรู และกระบวนการทางอารมณนี้เปนพฤติกรรมภายใน (Covert Behavior)

2.1.5.3 กระบวนเกิดพฤติกรรมในสภาพแวดลอม (Spatial Behavior) จะเปนกระบวนการที่บุคคลมีพฤติกรรมเกิดขึ้นในสภาพแวดลอมท่ีมีความสัมพันธกับสภาพแวดลอมผานการกระทํา โดยสังเกตไดจากพฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) เชน การพูด การหัวเราะ การกินอาหาร เปนตน

2.1.6 Norm – activation Theory Schwartz (1977 อางถึงใน สุรเมศวร พิริยะวัฒน และคณะ, ม.ป.ป.) เสนอทฤษฎีท่ีไดรับความนิยมในการนําไปประยุกตใชสาหรับอธิบายการเปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย โดยมีสมมติฐานวาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษยนั้นเปนไปเพ่ือสิ่งท่ีดีขึ้น ในมุมมองของการอนุรักษสิ่งแวดลอม (Pro – environment) ก็เชนเดียวกัน มนุษยจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท่ีสงผลกระทบทางลบตอสิ่งแวดลอมก็ตอเม่ือรับรูถึงผลกระทบดังกลาวท่ีมีตอสิ่งมีชีวิตอื่น (Non – human Species) และธรรมชาติ (Biosphere) ตามหลักการของ Norm Activation Theory กลาววา มนุษยจะแสดงพฤติกรรมหรือเปลี่ยนพฤติกรรมไปในแนวทางท่ีสนับสนุนเปาหมายท่ีตั้งไวของตนเอง ก็ตอเม่ือบุคคลนัน้เกดิจิตสาํนกึในใจถึงสิ่งท่ีถูกตอง และเชื่อมโยงไปถึงความคาดหวังถึงสิ่งท่ีจะเกิดขึ้นตามมา ซึ่งเปนผลมาจากคุณคาท่ีมีอยูในสิ่งท่ีพิจารณา (Values) ความเชื่อหรือการรับรูในคุณคาของสิ่งนั้น ๆ (Beliefs) และบรรทัดฐานของบุคคล (Personal Norm) ท้ังนี้ความสําเร็จในการเปลี่ยนพฤติกรรม จะเปนผลมาจากการปลุกเราบรรทัดฐานเชิงมโนธรรม (Moral Norm) ใหเกิดขึ้นในบุคคล การเปลี่ยนพฤติกรรมจะเกิดขึ้นหรือไมนั้น จะขึ้นอยูกับระดับของการปลุกเราซึ่งไดรับอิทธิพลจากปจจัยสําคัญ 3 ประการ ประการแรก ไดแก การยอมรับในคุณคาของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเปนสิ่งท่ีบุคคลท่ัวไปในสังคมใหความสําคัญ (Personal Values) ประการท่ีสอง ไดแก การท่ีบุคคลเชื่อวา

Page 24: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

12

สิ่งสําคัญที่กอใหเกิดคุณคาในสิ่งท่ีวานั้น อยูในภาวะวิกฤติ หรือการตระหนักถึงผลกระทบท่ีตามมาจากการกระทําตอบุคคลอื่น (Awareness of Consequence; AC) ซึ่งโดยทั่วไปจะมุงเนนไปท่ีภาวะวิกฤติของสิ่งท่ีคนท่ัวไปในสังคมเห็นพองกันวามีความสําคัญและมีคุณคา และประการสุดทายไดแก การตระหนักถึงความรับผิดชอบในผลของการกระทําท่ีมีตอบุคคลอื่น (Ascription of Responsibility; AR) นั่นคือ การเชื่อวาผลกระทบที่ไมพึงประสงคตอบุคคลอื่นในสังคม และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ หรือธรรมชาติ ซึ่งเปนผลจากการกระทําของตัวเรานั้นสามารถบรรเทาหรือแกไขได ดวยการเปลี่ยนพฤติกรรมหรือกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง และเชื่อวาการเปลี่ยนพฤติกรรมหรือการกระทําดังกลาว สามารถบรรเทาวิกฤติท่ีเกิดขึ้นและฟนฟูสิ่งที่มีคุณคาสําหรับคนในสังคมที่ถูกทําลายลงไปแลวนัน้ใหกลับมามีสภาพท่ีดีเหมือนเดิมได

จึงสามารถสรุปไดวาการเปลี่ยนพฤติกรรมมนุษยนั้น อาศัยปจจัยทางดานทัศนคติ ความเชื่อความตระหนัก การเห็นคุณคาตอสิ่งที่เกิดขึ้น เชน การรักษาอนุรักษสิ่งแวดลอมใหอยูคูกับสังคม การรณ รงคลดภาวะโล กรอ น ซึ่ งสิ่ ง เ หล านี้ แ ส ดง ให เ ห็นถึ งความตร ะหนักในคุณ ค าขอ งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของมนุษยในการที่จะชวยกันปกปองรักษาทรัพยากรใหลกูหลานไดใชในอนาคต ดวยเหตุนี้มนุษยจึงตองมีมาตรการในการอนุรักษทรัพยากร อันประกอบดวย การถนอมรักษา (Preservation) การฟนฟู (Restoration or Renewal) การนําสิ่งอื่นมาใชทดแทน (Substitution) เปนตน มาตรการดังกลาวเปนสิ่งท่ีมนุษยเปนผูต้ังขึ้นเพื่อใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีการใชอยางคุมคามากท่ีสุดและเกิดประโยชนสูงสุด ดังนั้น จะเห็นไดวามาตรการตาง ๆ เปนเครื่องมือในการกําหนดพฤติกรรมของคนในสังคมเพ่ือสรางความตระหนักและสรางจิตสํานกึในการใชทรัพยากร

2.2 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับพฤติกรรม

ในสวนนี้เปนการอธิบายเกี่ยวกับ ทฤษฏีเกี่ยวกับการเรียนรู ทฤษฎีแหงความคาดหวัง ทฤษฎี

แรงจูงใจ ทฤษฎี ERG (Alderfer’s ERG Theory) โดยมีรายละเอียดในเร่ืองตาง ๆ ดังนี้

2.2.1 ทฤษฎีเก่ียวกับการเรียนรู (Theory of Leaning) ทฤษฎีของธอรนไดค หรือทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอรนไดค (Connectionism Theory)กลาววา ทฤษฎีการเรียนรูของธอรนไดค Thorndike (1874 อางถึงใน ทิศนา แขมมณี, 2545: 51 – 52) เชื่อวา

Page 25: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

13

การเรียนรูเกิดจากการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูก (Ttrial and Error) ปรับเปรียบไปเรื่อย ๆ จนกวาจะพบรูปแบบการตอบสนองท่ีสามารถใหผลท่ีพึงพอใจมากที่สุด เม่ือเกิดการเรียนรูแลว บุคคลจะใชรูปแบบการตอบสนองท่ีเหมาะสมเพียงรูปแบบเดียวและจะพยายามใชรูปแบบนั้นเชื่อมโยงกับสิ่งเราในการเรียนรูตอไปเรื่อย ๆ

กฎการเรียนรูของธอรนไดค สรุปไดดังนี ้1. กฎแหงการพรอม (Law of Readiness) การเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดีถาผูเรียนมีความ

พรอมทั้งทางรางกายและจิตใจ 2. กฎแหงการฝกหัด (Law of Exercise) การฝกหัดหรือกระทําบอย ๆ ดวยความเขาใจ

จะทําใหการเรียนรูนั้นคงทนถาวร ถาไมไดกระทําซ้ําบอย ๆ การเรียนรูนั้นจะไมคงทนถาวร และในท่ีสุดอาจลืมได

3. กฎแหงการใช (Law of Use and Disuse) การเรียนรูเกิดจากการเชื่อมโยงระหวางสิ่งเรากับการตอบสนอง ความม่ันคงของการเรียนรูจะเกิดขึ้น หากไดมีการนําไปใชบอย ๆ หากไมมีการนําไปใชอาจมีการลืมเกิดขึ้นได กฎแหงผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลไดรับผลท่ีพึงพอใจยอมอยากจะเรียนรูตอไป แตถาไดรับผลท่ีไมพึงพอใจจะไมอยากเรียนรู ดังนั้น การรับผลท่ีพึงพอใจจึงเปนปจจัยสําคัญในการเรียนรู

หลักการจัดการศึกษา / การสอน

1. การเปดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนแบบลองผิดลองถูกบาง (เม่ือพิจารณาแลววาไมถึงกับเสียเวลามากเกินไปและไมเปนอันตราย) จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูในวิธีการแกปญหา จดจําการเรียนรูไดดี และเกิดความภาคภูมิใจในการทําสิ่งตาง ๆ ดวยตนเอง

2. การสํารวจความพรอม หรือการสรางความพรอมของผูเรียนเปนสิ่งจําเปนท่ีตองกระทํากอนการสอนบทเรียน เชน การสรางบรรยากาศใหผูเรียนเกิดความอยากรูอยากเรียนการเชื่อมโยงความรูเดิมมาสูความรูใหม การสํารวจความรูใหม การสํารวจความรูพ้ืนฐาน เพ่ือดูวาผูเรยีนมีความพรอมท่ีจะเรียนบทเรียนตอไปหรือไม

3. หากตองการใหผูเรียนมีทักษะในเรื่องใดจะตองชวยใหเขาเกิดความเขาใจในเร่ืองนั้นอยางแทจริงแลวใหฝกฝนโดยกระทําสิ่งนั้นบอย ๆ แตควรระวังอยาใหถึงกับซ้ําซาก จะทําใหผูเรียนเกิดความเบ่ือหนาย

4. เม่ือผูเรียนเกิดการเรียนรูแลวควรใหผูเรียนฝก นําการเรียนรูนั้นไปใชบอย ๆ

Page 26: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

14

5. การใหผูเรียนไดรับผลท่ีตนพึงพอใจ จะชวยใหการเรียนการสอนประสบผลสําเร็จ

การศึกษาวาสิ่งใดเปนสิ่งเรา หรือรางวัลท่ีผูเรียนพึงพอใจจึงเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรู จากทฤษฎีการเรียนรูของของธอรนไดค สรุปไดวา ครูผูสอนควรเปดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนแบบลองผิดลองถูกบาง ไดสํารวจความพรอมของตนเองเพ่ือดูวาผูเรียนมีความพรอมท่ีจะเรียนบทเรียนตอไปหรือไม และหากตองการใหผูเรียนมีทักษะในเรื่องใดจะตองชวยใหเขาเกิดความเขาใจในเรื่องนั้นอยางแทจริงแลวใหฝกฝนโดยกระทําสิ่งนั้นบอย ๆ และใหผูเรียนนําการเรียนรูนั้นไปใชบอย ๆ ดวยการใหผูเรียนไดรับผลท่ีตนพึงพอใจ จะชวยใหการเรียนการสอนประสบผลสําเร็จ

สุนีย ภูพันธ (2546: 88) ไดกลาวถึงพฤติกรรมของวัยเด็กตอนปลายซึ่งเปนวัยท่ีคาบเกี่ยวระหวางวัยเด็กกับระยะกอนวัยรุนเกี่ยวกับพัฒนาการทางดานสังคมวา เด็กในวัยนี้จะรูสึกเปนเจาของและซื่อสัตยตอกลุม มีพฤติกรรมท่ีเหมือนกลุม ตองการเพ่ือน สวนพัฒนาการทางดานสติปญญา เด็กในวัยนี้จะมีความสามารถในการคิดและแกปญหาไดมากขึ้น เร่ิมสนใจในขอมูลขาวสารตาง ๆ เห็นไดจากการเริ่มสนใจอานหนังสือตาง ๆ เพ่ือที่จะรวมอภิปรายกับเพ่ือน ๆ มีความคิดริเริ่มท่ีจะทําสิ่งใหม ๆ เริ่มคิดและตัดสินใจเอง มีความรับผิดชอบ รูจักใชเหตุผลและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น และยังไดกลาวถึงการนําทฤษฏีของนักจิตวิทยากลุมเกสตอลท (Gestalt’s Theory) มาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอนเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเด็กวา พฤติกรรมจะเกิดขึ้นไดบุคคลตองเกดิการเรียนรู ซึ่งการเรียนรูเกิดจากการรับรู การทําความเขาใจ การแกปญหา และการหยั่งเห็น ซึ่งเปนกระบวนการทางดานความคิดและสติปญญา เปนการแปลความหมายของสิ่งท่ีเขาไดรับเขามาเพ่ือจะไดใชเปนรากฐานในการปฏิบัติการตาง ๆ ซึ่งการหย่ังเห็นเปนของผูเรียนเอง ครูไมสามารถจะถายทอดการหย่ังเห็นใหกับผูเรียนได แตผูเรียนจะพัฒนาขึ้นมาเอง ซึ่งจะพัฒนาเม่ือไดรับการถายทอด และวิธีการแกปญหาโดยการหย่ังเห็นจะเกิดขึ้นอยางทันทีทันใด ซึ่งความรูเดิมของผูเรียนหรือประสบการณของผูเรียนลวนมีสวนที่จะชวยใหผูเรียนเกิดการหยั่งเห็นเหตุการณท่ีเปนปญหาและชวยใหการหยั่งเห็นเกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนตามแนวทฤษฏีของกลุมเกสตอลทนั้น ครูและนักเรียนตองมีความสัมพันธกันในลักษณะท่ีเปนท้ังผูใหและผูรับ ครูเปนผูชวยใหเด็กไดมองเห็นความหมาย และเกิดความเขาใจในเรื่องท่ีสอน สวนผูเรียนชวยครูในแงของการเสนอความคิดเห็น อภิปราย และการวางแผนการเรียนรวมกัน ซึ่งผูเรียนตองเห็นรูปรางลักษณะท้ังหมดหรือเนื้อหาท้ังหมดของสิ่งท่ีจะเรียนกอน แลวจึงเรียนในสวนยอย ๆ ซึ่งเปนวิธีการจัดการเรียนการสอนท่ีทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอันจะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของเด็ก

Page 27: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

15

จากท่ีกลาวมาท้ังหมด ผูศึกษาพอจะสรุปไดวา วัยเด็กตอนปลายเปนวัยท่ีเด็กคลอยตามกลุม

เพ่ือน เร่ิมสนใจในขอมูลขาวสารตาง ๆ เริ่มคิดและตัดสินใจเอง ดังนั้น การใหเด็กปฏิบัติงานเปนกลุมและใหความรูในสิ่งท่ีถูกตองเหมาะสมกับกลุม รวมท้ังการสะสมความรูประสบการณในเรื่องตาง ๆ ท่ีเคยไดรับจากภายนอก เชน ขาวสาร หรือคําบอกเลาของผูอื่น ซึ่งก็คือ การไดรับขอมูลขาวสารจากแหลงตาง ๆ จะมีผลทําใหเด็กเกิดการเรียนรู ซึ่งการเรียนรูจะทําใหเกิดการหย่ังเห็น เกิดความสามารถในการคิดและแกปญหาและเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อยางไรก็ตาม การท่ีจะใหพฤติกรรมใหมคงอยูอยางถาวรจะตองมีการเสริมแรง นั่นก็คือ การใหคําชมเชยเม่ือเด็กมีพฤติกรรมท่ีถูกตองเหมาะสม และเสริมแรงทางลบเมื่อเด็กมีพฤติกรรมท่ีไมถูกตอง การเสริมแรงเมื่อเด็กแสดงพฤติกรรมท่ีถูกตองสงผลใหเด็กเกิดเจตคติท่ีดี ซึ่งเจตคติเปนพฤติกรรมท่ีเกิดขึ้นภายในจิตใจของบุคคล เปนความรูสึกท่ีเกิดขึ้นจากการเรียนรูในสถานการณตาง ๆ ตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีแนวโนมท่ีจะแสดงออกมาเปนทาทางหรือพฤติกรรม สงผลใหแตละบุคคลตอบสนองตอสิ่งเราแตกตางกัน จึงสรุปไดวา ปจจัยท่ีสงผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะ ไดแก เจตคติ และการไดรับขอมูลขาวสารจากแนวคิดของพฤติกรรม สรุปไดวา พฤติกรรมการจัดการขยะ หมายถึง การกระทําหรือการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการขยะ โดยอาศัยความรูความเขาใจท่ีไดรับจากประสบการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวันมาปรับใชในการจัดการขยะ เชน การคัดแยกขยะ การไมทิ้งขยะในท่ีสาธารณะ และการปองกันมลพิษจากขยะบางประเภทท่ีเปนอันตราย

2.2.2 ทฤษฎีแหงความคาดหวัง (Expectation Theory) ทฤษฎีความคาดหวัง ซึ่งนักจิตวิทยากลุมปญญานิยม เชื่อวามนุษยเปนสัตวโลกที่ใชปญญา

หรือความคิดในการตัดสินใจวา จะกระทําพฤติกรรมอยางใดอยางหนึ่งเพ่ือจะนําไปสูเปาหมายท่ีจะสนองความตองการของตนเอง จึงเกิดสมมติฐานดังนี้ (อุไรวรรณ เกิดผล, 2539: 26)

2.2.2.1 พฤติกรรมของมนุษยถูกกําหนดขึ้น โดยผลรวมของแรงผลักดันภายในของเขาเองและแรงผลักดันจากสิ่งแวดลอม

2.2.2.2 มนุษยแตละคนมีความตองการ ความปรารถนา และเปาหมายท่ีแตกตางกัน

Page 28: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

16

บุคคลตัดสินใจท่ีจะทําพฤติกรรมโดยเลือกจากพฤติกรรมหลายอยาง สิ่งท่ีเปนขอมูลใหเลือก ไดแก ความคาดหวังในคาของผลลัพธท่ีจะไดภายหลังจากการแสดงพฤติกรรมนั้นไปแลว ความคาดหวังเปนความเชื่อหรือความคิดอยางมีเหตุผลในแนวทางท่ีเปนไปได หรือเปนความหวังท่ีคาดการณวาตองการจะไดในอนาคตของบุคคล ความคาดหวังจึงเปนสภาวะทางจิตท่ีบุคคลคาดคะเนลวงหนาแตบางสิ่งบางอยางวาควรจะมี ควรจะเปน หรือควรจะเกิดขึ้นตามความเหมาะสม

2.2.3 ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory) ทฤษฎีลําดับความตองการของมนุษย (Hierarchy of Needs Theory) อับราฮัม เอช มาสโลว Abraham H. Maslow (1954 อางถึงใน สุธี ศรสวรรค, 2538: 26 – 27) ไดเสนอแนวความคิดวามนุษยทุกคนมีความตองการและมีอยูตลอดเวลาเม่ือความตองการท่ีไดรับการตอบสนองแลวก็จะไมมีความหมายสําหรับบุคคลนั้นตอไป ทฤษฎีลําดับความตองการของมาสโลว ต้ังอยูบนสมมติฐาน 3 ประการ คือ

2.2.3.1 มนุษยทุกคนมีความตองการและความตองการนั้นไมมีท่ีสิ้นสุด 2.2.3.2 ความตองการท่ีได รับการตอบสนองแลว จะไมเปนแรงจูงใจสําหรับ

พฤติกรรมอีกตอไป ความตองการมีอิทธิพลกอใหเกิดพฤติกรรมที่แสดงออกมานั้นเปนความตองการท่ียังไมไดรับการตอบสนอง ความตองการใดท่ีไดรับการตอบสนองเสร็จสิ้นไปแลวจะไมเปนตัวกอใหเกิดพฤติกรรมอีกตอไป

2.2.3.3 ความตองการของมนุษย จะมีลักษณะเปนลําดับขั้นจากต่ําไปหาสูงตามลําดับตองการ ในขณะที่ความตองการขั้นตํ่าไดรับการตอบสนองบางสวนแลวความตองการขั้นสูงถัดไปก็จะติดตามมาเปนตัวกําหนดพฤติกรรมตอไป

ลําดับความตองการของมนุษย มาสโลว ไดแบงไว 5 ลําดับจากตํ่าไปหาสูง ดังนี้ 1. ความตองการทางดานรางกาย (Physiological Needs) เปนความตองการขั้นพ้ืนฐาน

ของมนุษยเพ่ือความอยูรอด เชน ความตองการในเรื่องอาหาร น้ํา เครื่องนุงหม ยารักษาโรค การพักผอน ท่ีพักอาศัย และความตองการทางเพศ

2. ความตองการทางดานสังคม (Social or Belonging Needs) เปนความตองการเกี่ยวกับการอยูรวมกัน มีเพื่อนพรรคพวก การไดรับการยอมรับจากบุคคลอื่น และการเปนสวนหนึ่งของสังคม

Page 29: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

17

3. ความตองการมีชื่อเสียงเกียรติยศไดรับการยกยองทางสังคม (Esteem Needs) เปน

ความตองการเกี่ยวกับความมั่นใจในตนเองในเรื่องของความรูความสามารถ รวมท้ังความตองการท่ีจะใหบุคคลอื่นยกยองสรรเสริญ หรือเปนท่ียอมรับนับถือในสังคม

4. ความตองการท่ีจะไดรับความสําเร็จในชีวิต (Self Actualization Needs) เปนความตองการขั้นสูงของมนุษย ความตองการที่อยากจะใหเกิดความสําเร็จในทุกสิ่งทุกอยาง ตามความนึกคิดหรือตามความหวังของตน

Victor H. Vroom (1964 อางถึงใน แสงเทียน อัจจิมางกูร, 2537: 44 – 45) ไดเสนอทฤษฎีจากการศึกษาดานจิตวิทยาของบุคคลในองคกร ซึ่งพบวาบุคคลจะกระทําสิ่งใดก็ตามมักขึ้นอยูกับองคประกอบตอไปนี้ คือ

(1) ผลตอบแทนท่ีไดรับ (2) ความพอใจและความไมพอใจตอผลตอบแทนท่ีไดรับ (3) ผลตอบแทนท่ีไดรับเม่ือเปรียบเทียบกับผูอื่น (4) โอกาสที่จะไดรับผลตอบแทนตามความคาดหวัง ในทฤษฎีของวูรม การที่มนุษยจะเลือกหรือตัดสินใจกระทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดนั้น สาเหตุ

แรงจูงใจ โดยอาศัยเหตุผลและปจจัยหลาย ๆ อยางประกอบกัน มิไดเกิดจากเพียงปจจัยเดียว จะเห็นไดวาทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับความพึงพอใจของมนุษยนั้นมีหลายทฤษฎีดวยกัน โดยสาระสําคัญของแตละทฤษฎีแลวสามารถสรุปไดดังนี้คือ มนุษยมีความพึงพอใจหรือความตองการที่ไมมีท่ีสิ้นสุด โดยมีความตองการในขั้นพ้ืนฐานมากอน คือ ความตองการ ดานปจจัยสี่ ความตองการดานความม่ันคงทางเศรษฐกิจหรือความมั่นคงในการปฏิบัติงาน และความตองการความปลอดภัยทางดานรางกายหลงัจากท่ีไดรับการตอบสนองในขั้นพ้ืนฐานแลว ก็จะมีแรงจูงใจหรือความตองการในขั้นตอไป คือความตองการความรัก ความเปนเจาของ อยากมีเพ่ือนพอง อยากมีชื่อเสียงเกียรติยศ ตองการใหคนอื่นยกยอง นับถือ อยากมีอํานาจบารมีเหนือคนอื่น ตองการความเจริญ กาวหนา ความสําเร็จ และตองการรักษาความมีชื่อเสียง เกียรติยศ ความเดน รวมท้ังความสําเร็จใหคงอยูตลอดไป

2.2.4 ทฤษฎี ERG (Alderfer’s ERG Theory) Alderfer (1969 อางถึงใน อราม ศิริพันธุ, ม.ป.ป.: 7) ไดแบงความตองการของมนุษยออกเปน 3 ระดับ คือ

Page 30: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

18

2.2.4.1 ความตองการท่ีจะดํารงชีวิต หรือความตองการท่ีจะคงอยู (Existence: E) เปนความตองการท่ีจะมีชีวิตอยูในสังคมดวยดี ความตองการปจจัยสี่ในการดํารงชีวิต ความตองการทางวัตถุ เงินเดือน ประโยชนตอบแทน สภาพการทํางาน ปจจัยอํานวยความสะดวกในการทํางานเปนตน

2.2.4.2 ความตองการดานความสัมพันธ (Relatedness: R) คือ ความตองการจะผูกพันกับผูอื่นในการทํางาน ตองการเปนพวก ไดรับความยอมรับ รวมรับรูและแบงปนความรูสึกระหวางกัน ตองการมีความสัมพันธกับผูอื่น ตองการเปนเพ่ือน

2.2.4.3 ความตองการดานความเจริญเติบโต (Growth: G) เปนความตองการท่ีจะเจริญกาวหนาในการทํางาน เปนการท่ีคนสามารถทุมเทความรู ความสามารถของตน ในการทํางานอยางเต็มท่ี และสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเพ่ิมขึ้นดวย 2.3 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการขยะ

2.3.1 ความหมายของขยะ พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ไดใหความหมายของคําวา ขยะ หมายถึง เศษ

กระดาษ เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใสอาหาร เถา มูลสัตวหรือซากสัตว รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดท่ีเก็บกวาดจากถนน ตลาด ท่ีเลี้ยงสัตว หรือท่ีอื่น

ศัลยา พรรณศิริ (ม.ป.ป.: 1) ไดใหความหมายวา ขยะ หมายถึง สิ่งตาง ๆ ท่ีเราตองการท้ิงเพราะไรประโยชน เปนสิ่งของใชแลวจากการดํารงชีวิตในแตละวัน ตลอดจนกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับความเปนอยูของเรา เร่ิมตนจากกิจกรรมในบาน โรงเรียน รานอาหาร โรงพยาบาล และสถานท่ีทํางาน

สวัสด์ิ โนนสูง (2543: 15) กลาววา ขยะ (Waste) หมายถึง สิ่งของเหลือท้ิงจากกระบวนการผลิตและอุปโภคซึ่งเสื่อมสภาพจนใชการไมไดหรือไมตองการใชแลว บางชนิดเปนของแขง็ หรอืกากของเสีย (Solid Waste) มีผลเสียตอสุขภาพทางกายและจิตใจ เนื่องจากความสกปรก เปนแหลงเพาะเชื้อโรค ทําใหเกิดมลพิษ และทัศนะอุจาด

Page 31: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

19

2.3.2 ประเภทของขยะมูลฝอย 2.3.2.1 ขยะเปยก ไดแก พวกเศษอาหาร เศษพืชผัก เปลือกผลไม อนิทรยีวัตถท่ีุสามารถ

ยอยสลายเนาเปอยงายมีความชื้นสูง 2.3.2.2 ขยะแหง ไดแก พวกเศษกระดาษ เศษหญา แกว โลหะ ไม ยาง พลาสติก เปน

ตน ขยะชนิดนี้ จะมีท้ังท่ีเผาไหมไมได ขยะแหงเปนขยะที่สามารถเลือกวัสดุที่ยังมีประโยชนกลับมา ใชไดอีก โดยทําการคัดแยกขยะกอนนําทิ้ง ซึ่งจะชวยใหสามารถลดปริมาณขยะท่ีจะตองนําไปทําลายลงได และถานําสวนท่ีใชประโยชนไดนี้ไปขายก็จะทําใหมีรายไดกลับมา

2.3.2.3 ขยะอันตราย ไดแก ของเสียท่ีเปนพิษมีฤทธิ์กัดกรอนและระเบิดไดงาย ตองใชกรรมวิธีในการทําลายเปนพิเศษ เนื่องจากเปนวัสดุที่เปนอันตราย เชน สารฆาแมลง ถานไฟฉายแบตเตอรี่รถยนต หลอดไฟหลอดฟลูออเรสเซนต สเปรยฉีดผม เปนตน

2.3.3 ปญหาที่เกิดจากจากขยะ ปญหาท่ีเกิดขึ้นจากขยะเปนปญหาท่ีสงผลกระทบใหกับชุมชนตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ท้ัง

ชุมชนขนาดใหญ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก แลวแตสภาพปญหาและผลกระทบของแตละชุมชน ท้ังนี้ปญหาท่ีเกิดขึ้นอยูกับสภาพท่ัวไปของชุมชน และวิธีการจัดการของชุมชนเอง ซึ่งในแตละชุมชนก็ไมไดนิ่งนอนใจหรือไมตระหนักกับปญหาท่ีเกิดขึ้น จะเห็นไดวาหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนท่ีเกี่ยวของใหความสําคญัและพยายามหาทางแกไขปญหา ซึ่งหากไมมีการเก็บหรือขนถายและกําจัดขยะอยางถูกตองเหมาะสมแลว จะกอใหเกิดปญหาตาง ๆ ตอชุมชน โดยสาเหตุหลักที่ทําใหเกดิปญหาขยะมักเกิดจากความมักงาย การขาดความรูความเขาใจของประชาชน และขาดจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (เกษม จันทรแกว และคณะ, 2542: 86) ซึ่งจะเห็นไดจากการท้ิงขยะลงตามพ้ืนหรือแหลงน้ําโดยไมท้ิงลงในถังรองรับที่จัดไวให และโรงงานอุตสาหกรรมบางแหงลักลอบนําสิ่งปฏิกูลไปท้ิงตามท่ีวางเปลา การผลิตหรือใชสิ่งของมากเกินความจําเปน เชน การผลิตสินคาท่ีมีกระดาษหรือพลาสติกหุมหลายชั้น และการซื้อสินคาโดยหอแยกหรือใสถุงพลาสติกหลายถุง ทําใหมีขยะปริมาณมาก และการเก็บหรือทําลายหรือนําขยะไปใชประโยชนไมมีประสิทธิภาพ จึงมีขยะตกคาง กองหมักหมมและสงกลิ่นเหม็นไปท่ัวบริเวณจนกอปญหามลพิษใหกบัสิ่งแวดลอม โดย วิธวัฒน สวาศรี และคณะ (2548: 7 – 8) ไดยกตัวอยางปญหาท่ีเกิดจากขยะซึ่งสงผล

Page 32: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

20

ตอคุณภาพชีวิตในหลาย ๆ ดานไมวาจะกอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม (Pollution) ซึ่งทําใหสิ่งแวดลอมตาง ๆ ของชุมชนเกิดมลพิษ เชน น้ําเสีย อากาศเสีย การปนเปอนของดิน หรือเปนแหลงเพาะพันธุของเชื้อโรคและแมลงตาง ๆ (Breeding Places) ซึ่งขยะอาจมีเชื้อท่ีทําใหเกิดโรค ตาง ๆ ได ถาหากมีการกําจัดท่ีไมถูกตอง โดยจะสงผลใหเปนแหลงเพาะพันธุของแมลงวัน หนู ซึ่งเปนพาหะนําโรคหรือแมกระทั่งสงผลใหเกิดผลเสียตอสุขภาพของประชาชนท่ีอาศัยอยูในบริเวณท่ีไมถูกสุขลักษณะ (Health Risk) โดยเฉพาะชุมชนท่ีขาดการจัดการในดานการกําจัดขยะท่ีดีหรือท่ีมีประสิทธิภาพท่ีถูกตองตามหลักวิชาการหรือหลักเกณฑการสุขาภิบาล ซึ่งผลกระทบดังกลาวขางตน ทําใหผูที่พักอาศัยอยูในบริเวณดังกลาวเสี่ยงตอการเปนโรคตาง ๆ ไดงาย ไมวาจะเปนโรคทางเดินอาหาร และผลท่ีเกิดจากการสูญเสียทางเศรษฐกิจ (Economic Loss) ซึ่งชุมชนจะตองเสียคาใชจายสําหรับการกําจัดขยะเปนประจําทุกเดือน และถาหากมีการกําจัดไมถูกตองก็ยอมสงผลกระทบเปนลูกโซหรือเปนวัฏจักรท่ีเปนผลมาจากการขาดการจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเห็นไดวาผลกระทบดังกลาวขางตนไมเพียงแตทําใหเกิดปญหาทางดานคุณภาพชีวิตความเปนอยูเทานั้น ยังสงผลกระทบเปนวงกวางโดยเฉพาะลักษณะทางกายภาพ ไมวาจะเปนการทําใหขาดความสงา (Aesthetics) ซึ่งเห็นไดจากการเก็บขนขยะท่ีไมเปนระบบและยังขาดประสิทธิภาพ หรือแมแตปญหาท่ีทุกคนอาจมองขาม นั่นก็คือ การกอใหเกิดอุบัติเหตุ (Accident Risk) จากขยะท่ีกองท้ิงไว ซึ่งอาจมีท้ังเศษกระดาษที่ติดไฟ หรือสารพิษ สารปนเปอนโดยเฉพาะคนเก็บของเกาอาจไดรับสารพิษเขาสูรางกาย ท้ังทางการสูดดมหรือการสัมผัสท่ีอาจซึมเขาสูผิวหนังได ซึ่งหากขาดความระมัดระวังก็จะสงผลตอชีวิตและผลกระทบทางสุขภาพท่ีตามมาได และปญหาที่ ผูศึกษาทบทวนวรรณกรรมท่ีหลายหนวยงานไดกลาวเปนเสียงเดียวกันหรือแมแตการสอบถามจากประชาชนท่ีไดรับผลกระทบจากปญหาขยะท่ีขาดการจัดการท่ีมีประสิทธิภาพก็จะตอบเปนเสียงเดียวกันวา ไดรับกลิ่นเหม็นจากขยะซึ่งกอใหเกิดความรําคาญ (Nuisance) และสงผลตอสุขอนามัยไดเชนกัน

2.3.4 ประเภทของขยะ (Type of Solid Waste) การทบทวนวรรณกรรมหรือแนวคิดเกี่ยวกับขยะสามารถแบงออกไดหลายประเภทตาม

เกณฑท่ีใชแบง เชน ขยะเปยกกับขยะแหง หรือขยะท่ีสามารถนากลับมาใชไดอีกกับขยะท่ีตองสงกําจัด เปนตน ในท่ีนี้ขอแบงประเภทขยะออกเปน 4 ประเภท (กรมควบคุมมลพิษ, 2542: 21) ไดแก

2.3.4.1 ขยะท่ัวไป (General Waste) ไมวาจะเปนขยะท่ีเกิดจากการกอสรางถนนหนทาง หรือขยะสํานักงานก็จัดเปนแหลงของการเกิดขยะชนิดท่ัวไป เชน ขยะท่ีเกิดจากการกอสราง

Page 33: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

21

ไมวาจะเปนกระเบ้ือง เศษอิฐ กรวด ทราย เศษปูน หิน ซึ่งขยะประเภทนี้ไมเกิดการยอยสลายและไมเนาเหม็น โดยการกําจัดขยะท่ัวไปนั้นควรคัดแยกขยะที่สามารถนํามาใชใหมไดกอนการสงกําจัดตอไป

2.3.4.2 ขยะอินทรีย (Organic Waste) สวนใหญจะเปนขยะท่ีเกิดจากครัวเรือน รานอาหาร โรงอาหาร ตลาดสด และการเกษตรกรรม อันไดแก เศษอาหาร ซากสัตว มูลสัตว ซึ่งขยะประเภทนี้จะเปนชนิดท่ียอยสลายและเนาเปอยไดงาย เนื่องจากเปนสารประกอบอินทรียที่มีความชื้นคอนขางสูง ประกอบกับขยะประเภทนี้คอนขางมีกลิ่นเหม็น ดังนั้น ในการกําจัดขยะควรพิจารณาถึงความเปนไปไดกอน เพ่ือปองกันปญหาการเกิดการเนาเสียโดยขาดระบบการจัดการท่ีเหมาะสม เชน ใชในการทําปุยหมัก หรือทําน้ําหมักชีวภาพ เปนตน

2.3.4.3 ขยะอุตสาหกรรม (Industrial Waste) เกิดจากระบวนการ หรือขั้นตอนการผลติของโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งประเภทของขยะก็จะแตกตางกันในประเภทของอุตสาหกรรม นั้น ๆ และขยะประเภทนี้อาจเปนสารอินทรียที่เนาเปอยหรือชิ้นสวนประกอบของยานยนตก็ได ไมวาจะเปนยาง แบตเตอร่ี เศษไขมัน ซึ่งในการกําจัดผูประกอบการควรพิจารณาหรือใหความสําคัญในการคัดแยกประเภทขยะชิ้นสวนท่ียังสามารถนํากลับมาใชใหมได โดยเปนอีกแนวทางหนึ่งในการลดปรมิาณขยะได

2.3.4.4 ขยะติดเชื้อและขยะอันตราย (Hazardous Waste) ซึ่งสวนใหญนั้นจะเกิดจากสถานพยาบาล ขยะประเภทนี้จะตองใชกรรมวิธีในการทําลายเปนพิเศษ อันไดแก วัสดุท่ีผานการใชในโรงพยาบาล โดยการกําจัดขยะติดเชื้อจากแหลงดังกลาวจะทําลายโดยการเผาในเตาเผาท่ีมีประสิทธิภาพ ใชอุณหภูมิท่ีสูงกวาการกําจัดขยะท่ัวไป สวนขยะอันตรายอื่น ๆ นั้น อาจพบไดในสถานท่ีท่ัว ๆ ไปไมวาจะเปนแบตเตอร่ี กระปองสี พลาสติก ฟลมถายรูป ถานไฟฉาย ซึ่งขยะประเภทนี้หากขาดความระมัดระวังในการใชประกอบกับขาดการท้ิงหรือกําจัดที่ถูกตองอาจสงผลตอท้ังมนษุยและสิ่งแวดลอมในทางลบได

2.3.5 แหลงที่มาของขยะ (Sources of Refuse) การทบทวนวรรณกรรมหรือแนวคิดเกี่ยวกับแหลงที่มาของขยะโดยจะเห็นไดจากบานพักอาศัย (Residential Waste) ซึ่งเปนขยะประเภทเศษอาหารและเศษวัสดุเหลือใชตาง ๆ รวมถึงอาจพบขยะอันตรายไดเชนกัน ไมวาจะเปนหลอดไฟ เศษแกว ถานไฟฉาย เปนตน และในสวนของแหลงท่ีมา

Page 34: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

22

ของขยะจากธุรกิจการคา (Commercial Waste) ก็เชนเดียวกัน ซึ่งมีความเปนไปไดท่ีประเภทขยะจากบานเรือนจะพบไดในสวนของภาคธุรกิจการคา และขยะจากการพักผอนหยอยใจ (Recreational Wastes) ก็มีลักษณะท่ีคลายคลึงหรือคาบเกี่ยวกับประเภทขยะท่ีมาจาก 2 แหลงดังกลาวขางตนไดเชนกัน ดังนั้น การจัดประเภทถึงแหลงท่ีมาของขยะนั้นมีจุดมุงหมายเพ่ือใหทราบถึงชนิดขยะท่ีเกิดจากแหลงตาง ๆ เทานั้น ซึ่งหากมองอยางละเอียดลึกซึ้งแลวจะพบวารอยละของปริมาณขยะท่ีพบมากท่ีสุดจากแหลงตาง ๆ จะมีเพียงไมกี่ประเภทเทานั้น แตโดยท่ัวไปแลวนั้นขยะประเภทตาง ๆ อาจจะเกิดไดทุกสถานท่ี ซึ่งในสวนของขยะจากโรงพยาบาล (Hospital Waste) ก็เปนอีกประเภทหนึ่งท่ีมีลักษณะแตกตางกันตรงชนิดขยะท่ีเปนประเภทขยะติดเชื้อและขยะอันตราย แตมิอาจกลาวไดวาจะไมพบขยะติดเชื้อจากแหลงตาง ๆ ก็หาไม เนื่องจากขยะติดเชื้ออาจพบไดจากสถานท่ีทั่ว ๆ ไป แตรอยละของปริมาณขยะติดเชื้ออาจจะมีสัดสวนท่ีนอยกวาเทานั้นเอง แตมิไดหมายความจะไมพบขยะติดเชื้อเลยท่ีพบไดนอกเหนือจากโรงพยาบาลหรือแหลงคลินิกตาง ๆ เปนตน และในสวนของขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม (Industrail Wastes) ซึ่งผูศึกษาไดกลาวไปขางตนแลว ในสวนของประเภทของขยะจากการเกษตร (Agriculture Wastes) สวนใหญแลวจะเปนขยะประเภทมูลสัตวตาง ๆ วัชพืชและขยะอันตราย ไดแก สารเคมีตาง ๆ ซึ่งขยะเหลานี้หากขาดการกําจัดท่ีถูกตองก็จะสงผลตอท้ังเกษตรกรโดยตรงรวมถึงสภาพแวดลอมตาง ๆ เปนตน (ธวัชชัย ศุภดิษฐ, 2552: 598) ขยะ (Solid Waste) ไดแก ขยะเปยก สิ่งปฏิกูล กากตะกอน และวัสดุท่ีไมใชแลว โดยอธิบายตอไปวาขยะจะไมอยูในรูปของเหลว และไมสามารถละลายไดในน้ํา หรือตัวทําละลายอื่น ๆ โดยขยะจากอุตสาหกรรม การกอสราง การผลิตในครัวเรือน และการเกษตร ถูกจัดรวมอยูในขยะของเสียดังกลาว (ธวัชชัย ศุภดิษฐ, 2552: 598)

ขยะเปยก หมายถึง ขยะพวกเศษอาหาร พืชผัก เศษสัตว และสิ่งของซึ่งสวนใหญเกิดจากการประกอบอาหาร จากยานตลาดการคา หรือเศษที่เหลือจากการรับประทานอาหาร ขยะแหง หมายถึง ขยะท่ีมีลักษณะไมเกิดการเนาเสียไดงาย ท้ังท่ีติดไฟไดและไมติดไฟ ไมวาจะเปน กระดาษ เศษผา เศษแกว กระปอง ขวด ไม กิ่งไม โลหะตาง ๆ เปนตน ขยะท่ียอยสลายได หมายถึง สารอินทรียในขยะท่ีสามารถยอยสลายไดดวยจุลินทรีย โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมี โดยชนิดท่ีพบมาก และเปนเศษท่ีเหลือจากการบริโภค เศษอาหาร เศษผลไม ของเสียท่ีเปนอันตราย หมายถึง ของเสียหรือมูลฝอยท่ีมีสิ่งเจือปน ดวยของเสียท่ีเปนอันตรายโดยมีปริมาณความเขมขน หรือคุณสมบัติทางกายภาพ หรือทางเคมี หรือการติดเชื้อโรค ซึ่งอาจเปนสาเหตุหรือทําใหเกิดการเจ็บปวยไดงาย

Page 35: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

23

จากการทบทวนเอกสาร สามารถสรุปประเภทของขยะ โดยจําแนกตามลักษณะกิจกรรมของ

แหลงกําเนิดขยะ อันไดแก ขยะจากชุมชน (Community Waste) เชน ขยะจากท่ีพักอาศัย ยานธุรกิจ พาณิชยกรรม สถานท่ีราชการ สถานท่ีสาธารณะ เปนตน ขยะจากอุตสาหกรรม (Industrial Waste) และขยะจากการเกษตรกรรม (Agricultural Waste) และจําแนกตามลักษณะความเปนอันตรายตอชวิีตและสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปน ขยะท่ัวไป (General Waste) และของเสียอันตราย (Hazardous Waste) และยังสามารถจําแนกตามลักษณะสมบัติของขยะ เชน ขยะแหง ขยะเปยก ขยะท่ีเผาได ขยะท่ีเผาไหมไมได เปนตน

2.3.6 ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอปริมาณการเกิดขยะและลักษณะของขยะ

ในอดีตนั้นการท้ิงขยะเกลื่อนกลาดทั่วไปโดยไมมีการจัดการใด ๆ ยังไมกอใหเกิดปญหาตอสิ่งแวดลอมเทาใดนัก เพราะจํานวนประชากรยังมีไมมาก และการพัฒนาประเทศยังอยูในอัตราท่ีไมสูงนัก จึงมีปริมาณขยะคอนขางนอย รวมท้ังยังมีท่ีดินวางเปลามากพอท่ีจะรองรับการกําจัดขยะ ท่ีเกิดขึ้นได (อดิศักด ทองไขมุกต และคณะ 2546: 13) แตในปจจุบันขยะนับวันจะเพิ่มจํานวนมากขึ้นตามจํานวนประชากรและการพัฒนาทางเทคโนโลยี ทําใหมีปริมาณขยะเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก นอกจากนี้ขยะท่ีถูกผลิตขึ้นในระยะหลัง ๆ จะมีสวนประกอบของวัสดุท่ีกําจัดไดยากมากขึ้น เชน พลาสติก โฟม รวมท้ังสารเคมีที่ใชในการผลิตสิ่งของตาง ๆ (อาณัติ ตะปนตา, 2553: 2) ดังนัน้ หากยังไมมีระบบการจัดการท่ีเหมาะสมยอมจะตองเกิดปญหาความสกปรกอยางแนนอน การทบทวนวรรณกรรมหรือแนวคิดเกี่ยวกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอปริมาณการเกิดและลักษณะของขยะที่เกิดจากการดํารงชีวิตพบวาขึ้นอยูกับปจจัยตาง ๆ ไมวาจะเปน ดานที่ต้ังภูมิศาสตรฤดูกาล รายได โครงสรางของครอบครัว อุปนิสัยในการซื้อสินคา พฤติกรรมในการบริโภคอาหาร รูปแบบการดํารงชีวิต และกฎหมายขอบังคับ โดย วิธวัฒน สวาศรี และคณะ (2548: 14 – 15) ไดศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอปริมาณการเกิดและลักษณะของขยะ โดยสามารถจําแนกปจจัยที่มีอิทธิพลไดดังตอไปนี้ 1) สถานท่ีต้ังของแหลงกําเนิดขยะท่ีมีการคมนาคมขนสงสะดวก มีความเจริญสะดวกสบายในการซื้อสินคา ซึ่งทําใหปริมาณและลักษณะของขยะท่ีเกิดขึ้น มีความแตกตางกันไปตามประเภทของสถานท่ี ซึ่งพิจารณาไดจากการคมนาคม โดยถาการคมนาคมขนสงสะดวกก็จะสงผลใหปริมาณขยะเพ่ิมมากตามความเจริญนั้น ๆ และในทางตรงกันขามถาหากการคมนาคมไมสะดวกก็จะทําใหมีปริมาณขยะท่ีเกิดขึ้นนั้น

Page 36: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

24

นอยเชนกัน 2) ฤดูกาลเปนสวนหนึ่งที่สงผลใหเกิดประเภทหรือปริมาณขยะท่ีแตกตางกัน โดยพิจารณาจากฤดูกาลผลไม ก็จะมีปริมาณเปลือกผลไมมากกวาปกติ 3) รายไดและโครงสรางของครอบครัว ครอบครัวขนาดใหญ มีรายไดสูง กําลังการซื้อยอมมีมาก และเพิ่มปริมาณขยะไดมาก และหลากหลายชนิดย่ิงขึ้น 4) อุปนิสัยในการซื้อสินคา และพฤติกรรมในการบริโภคของแตละบุคคลซึ่งแตกตางกัน จึงทําใหปริมาณและลักษณะของขยะท่ีเกิดขึ้น จะแปรเปลี่ยนไปกับสามัญสํานึกของแตละบุคคลนั้น ๆ วาจะอนุรักษสิ่งแวดลอมมากนอยเพียงใด ซึ่งในที่นี้ไมเอาตัวรายไดมาเปนตัวชี้วัด และ 5) กฎหมายขอบังคับก็เปนอีกปจจัยหนึ่งท่ีสงผลใหเกิดปริมาณขยะ และลักษณะของขยะเชนกัน ซึ่งเห็นไดจากคาธรรมเนียมการจัดเก็บขยะโดยจะคิดตามปริมาณการเกิดขยะ ตลอดจนการลงโทษผูฝาฝน หรือเขมงวดการท้ิงขยะในลักษณะท่ีเปนอันตราย โดยเขาหลักการของผูกอมลพิษเปนผูจาย เปนตน การจัดการขยะเนนรูปแบบของการวางแผนจัดการขยะอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด วิธีการดําเนินการตามแนวทางมีดังนี้

1) เทคนิคการใหขอมูลขาวสาร ประกอบดวย การบรรยายสรุป การปดประกาศนิทรรศการสารคดีตาง ๆ การสงรายงานดานเทคนิคท่ีสําคัญหรือเอกสาร การแถลงขาว ใบแทรกหนังสือ ขาวแจก การนําเสนอตอประชาคม และกลุมทํางานทางเทคนิค จัดแถลงขาว การประกาศ การบริการสาธารณะตาง ๆ เปนตน

2) เทคนิคการมีสวนรวม เมื่อประชาชนไดรับขาวสารในขั้นตอนตอไป คือ จัดเวที หรือมาตรการเพื่อใหสมาชิกของสาธารณชนสามารถแสดงความรูสึกของเขา แสดงความคดิเห็น หรอืความหวงกังวลกับเรา ซึ่งมีเทคนิคหลาย ๆ อยางที่สามารถทําได คือ กลุมท่ีปรึกษา คณะทํางาน สนทนากลุม สายดวน สัมภาษณ การประชุมการรับฟงความคิดเห็น และการประชุมเชิงปฏิบัติการ เชน การประชาพิจารณ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เปนตน นอกจากนี้ พัชรี สิโรรส และคณะ (2546: 3 – 5) ไดเสนอเทคนิคในการมีสวนรวมของประชาชน ซึ่งแบงออกเปน 3 สวนดังนี้

1) การลดปริมาณการเกิดขยะ โดยการรณรงคใหประชาชนมีสวนรวมในการลดการผลิตขยะในแตละวัน ไดแก

1.1 ลดการท้ิงบรรจุภัณฑโดยการใชสินคาชนิดเติมใหม เชน ผงซักฟอก นํา้ยาลางจาน น้ํายาทําความสะอาด และถานไฟฉาย เปนตน

Page 37: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

25

1.2 เลือกใชสินคาท่ีมีคุณภาพ มีหอบรรจุนอย อายุการใชงานยาวนาน และตัวสินคาไมเปนมลพิษ

1.3 ลดการใชวัสดุกําจัดยาก เชน โฟมบรรจุอาหาร และถุงพลาสติก 2) การคัดแยกขยะ

ในการคัดแยกขยะแบบครบวงจร จําเปนตองจัดใหมีระบบการคัดแยกขยะประเภทตาง ๆ

ตามแตลักษณะองคประกอบโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือนํากลับไปใชประโยชนใหม สามารถดําเนินการไดต้ังแตแหลงกําเนิดโดยจัดวางภาชนะใหเหมาะสมตลอดจนวางระบบการเก็บรวบรวมขยะอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับระบบการคัดแยกขยะ

(1) ภาชนะรองรับขยะ ก.1 ถังขยะ เพ่ือใหการจัดเก็บรวบรวมขยะเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

และลดการปนเปอนของขยะท่ีมีศักยภาพ ในการนํากลับมาใชประโยชนใหมจะตองมีการตั้งจุดรวบรวมขยะ และใหมีการแบงแยกประเภทของถังรองรับขยะตามสีตาง ๆโดยมีถุงบรรจุภายในถงุเพือ่สะดวกและไมตกหลน หรือแพรกระจาย ดังนี้

1) ถังขยะสีเขียว สําหรับรองรับขยะยอยสลายได คือ รองรับขยะท่ีเนาเสียและยอยสลายไดเร็ว สามารถนํามาหมักทําปุยได เชน ผัก ผลไม เศษอาหาร ใบไม เปนตน

2) ถังขยะสีเหลือง สําหรับรองรับขยะรีไซเคิล คือ รองรับขยะท่ีสามารถนํามารีไซเคิลหรือขายได เชน แกว กระดาษ พลาสติก โลหะ เปนตน

3) ถังขยะสีเทาฝาสีสม สําหรับรองรับขยะมีพิษ มีอันตรายตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม เชน หลอดฟลูออเรสเซนต ขวดยา ถานไฟฉาย กระปองสสีเปรย กระปองยาฆาแมลง และภาชนะบรรจุสารอันตรายตาง ๆ

4) ถังขยะสีฟา สําหรับเก็บขยะท่ัวไป คือ รองรับขยะยอยสลายไมได ไมเปนพิษ และไมคุมคาการรีไซเคิล เชน พลาสติกหอลูกอม ซองบะหม่ีสําเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟมและฟอลยท่ีเปอนอาหาร

ข.2 ถุงขยะ สําหรับคัดแยกขยะในครัวเรือน และจะตองมีการคัดแยกรวบรวมใสถุงขยะตามสีตาง ๆ ดังนี้

1) ถุงสีเขียว สําหรับรวบรวมขยะท่ีเนาเสีย และยอยสลายไดเร็ว สามารถนํามาหมักทําปุยได เชน ผัก ผลไม เศษอาหาร ใบไม เปนตน

Page 38: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

26

2) ถุงสีเหลือง สําหรับรวบรวมขยะท่ีสามารถนํามารีไซเคิลหรือขาย

ได เชน แกว กระดาษ พลาสติก โลหะ เปนตน 3) ถุงสีแดง สําหรับรวบรวมขยะท่ีมีอันตรายตอสิ่งมีชีวิตและ

สิ่งแวดลอม เชน หลอดฟลูออเรสเซนต ขวดยา ถานไฟฉาย กระปองสีสเปรย กระปองยาฆาแมลงและภาชนะบรรจุสารอันตรายตาง ๆ

4) ถุงสีฟา สําหรับรวบรวมขยะท่ียอยสลายไมได ไมเปนพิษ และไมคุมคาการรีไซเคิล เชน พลาสติกหอลูกอม ซองบะหม่ีสําเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟมและฟอลยท่ีเปอนอาหาร เปนตน

(2) เกณฑมาตรฐานภาชนะรองรับขยะ ก.1 ควรมีสัดสวนของถังขยะจากพลาสติกท่ีใชแลวไมต่ํากวารอยละ

50.0 โดยน้ําหนัก ข.2 ไมมีสวนประกอบสารพิษ หากจําเปนควรใชสารเติมแตงใน

ปริมาณท่ีนอยและไมอยูในเกณฑท่ีเปนอันตรายตอผูบริโภค ฃ.3 มีความทนทาน แข็งแรงตามมาตรฐานสากล ค.4 มีขนาดพอเหมาะมีความจุเพียงพอตอปริมาณขยะ สะดวกตอการ

ถายเทขยะ และการทําความสะอาด ฅ.5 สามารถปองกันแมลงวัน หน ูแมว สุนัข และสัตวอื่น ๆ มิใหสัมผัส

หรือคุยเขี่ยขยะได (3) จุดรวบรวมขยะขนาดยอม เพ่ือสะดวกในการเก็บรวบรวมและประหยัด

จึงตองมีการต้ังจุดรวบรวมขยะขึ้นโดยจุดรวบรวมขยะจะกําหนดไวตามสถานท่ีตาง ๆ ไดแก หมูบาน โรงอาหาร โรงภาพยนตร โดยมีภาชนะรองรับต้ังไวเปนจุด ๆ เชนหมูบานจัดสรร กําหนดใหจุดรวบรวม 1 จุด ตอจํานวนครัวเรือน 50 – 80 หลังคาเรือน

(4) การแปรสภาพขยะ ในการจัดการขยะ อาจจัดใหมีระบบที่ชวยเพ่ิมประสิทธิภาพดวยการแปรสภาพขยะ คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพลักษณะทางกายภาพเพ่ือลดปริมาณเปลี่ยนรูปราง โดยวิธีคัดแยกเอาวัสดุท่ีสามารถหมุนเวียนใชประโยชนไดออกมาวิธีการบดใหมีขนาดเล็ก และวิธีการอัดใหเปนกอนเพ่ือลดปริมาตรของขยะ

3) การนําขยะกลับมาใชประโยชน มีอยูหลายวิธีขึ้นอยูกับสภาพและลักษณะสมบัติของขยะซึ่งสามารถสรุปไดเปน 5 แนวทางหลัก ๆ คือ

Page 39: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

27

(1) การนําขยะกลับมาใชประโยชนใหม เปนการนําขยะท่ีสามารถคดัแยกไดกลับมาใชใหม โดยจําเปนตองผานกระบวนการแปรรูปใหม หรือแปรรูปก็ได

(2) การแปรรูปเพ่ือเปลี่ยนเปนพลังงาน เปนการนําขยะท่ีสามารถเปลีย่นเปนพลังงานความรอนหรือเปลี่ยนเปนรูปกาซชีวภาพมาเพ่ือใชประโยชน

(3) การนําขยะจําพวกเศษอาหารท่ีเหลือจากการรับประทาน หรือการประกอบอาหารไปเลี้ยงสัตว

(4) การนําขยะไปปรับสภาพใหมีประโยชนตอการบํารุงรักษาดิน เชนการนําขยะสด หรือเศษอาหารมาหมักทําปุย

(5) การนําขยะปรับปรุงพ้ืนท่ีโดยการนําขยะมากําจัด โดยวิธีฝงกลบอยางถูกหลักวิชาการ จะไดพ้ืนที่สําหรับใชปลูกพืช สรางสวนสาธารณะ สนามกีฬา เปนตน 2.4 แนวคิดการจัดการขยะอยางมีประสิทธิภาพ การทบทวนวรรณกรรมหรือแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะอยางมีประสิทธิภาพนั้นหลายหนวยงาน หลายองคกร ไดศึกษาแนวทางที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งการวางแผนจัดการขยะ อยางมีประสิทธิภาพสูงสุดนั้น จะตองลดปริมาณขยะ (Reduce) ท่ีจะตองสงกําจัดใหไดมากท่ีสุด และสามารถนํามาใชประโยชนไดท้ังในสวนของการใชซ้ํา (Reuse) และการแปรรูปกลับมาใชใหม (Recycle) ซึ่งจะกอใหเกิดผลพลอยไดจากการกําจัดขยะไมวาจะเปนการทําปุยหมัก การทําขยะหอม (น้ําจุลินทรีย) การทํากาซชีวภาพ โดย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2553: 9 – 11) ไดใหแนวทางในการศึกษาโดยพิจารณาไดจากการลดปริมาณการผลิตมูลฝอย (Reduce) ดวยการรณรงคใหประชาชนเขามามีสวนรวม โดยจะตองลดการท้ิงขยะหรือบรรจุภัณฑตาง ๆ ใหนอยลง เชน ปนโต จาน และกลองใสอาหารแทนการใชถุงพลาสติก รวมถึงการใชสินคาชนิดเติมตาง ๆ เชน ครีมอาบน้ํา น้ํายาลางจาน และการเลือกใชสินคาท่ีมีบรรจุภัณฑหอนอย เพื่อลดการใชวัสดุยอยสลายยาก เชน การใชผาเช็ดหนาแทนการใชกระดาษทิชชู การลดปริมาณขยะโดยการใชซ้ํา (Reuse) โดยการใช วัสดุสิ่งของตาง ๆ ใหคุมคาที่สุดไมวาจะเปนการใชกระดาษทั้ง 2 หนา การนําบรรจุภัณฑมาใชซ้าํ เชน การนํากลอง ถุงมาใชประโยชนซ้ําหลายครั้ง และการนําขวดน้ําดื่มท่ีหมดแลวนํามาใชใสน้ําด่ืม การนําขวดแกวมาทําเปนแจกันดอกไม ประกอบกับการจัดระบบการรีไซเคิล (Recycle) โดยการคัดแยกประเภทขยะ เพื่อนําไปสูการแปรรูปใชใหมได และจัดระบบใหเอื้อตอการรวบรวมขยะพ่ือนํากลับมา

Page 40: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

28

แปรรูปใหม ไมวาจะเปนการจัดภาชนะแยกประเภทขยะ ท่ีชัดเจนเปนมาตรฐานเดียวกัน ดังท่ี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2553: 3 – 4) ไดจัดประเภทถังแตละสีในการคัดแยกขยะ เชน สีเขียว รองรับขยะท่ีเนาเสียและยอยสลายไดเร็วโดยเฉพาะเศษอาหาร สวนสีเหลืองรองรับขยะท่ีสามารถนํามารีไซเคิล สีเทาฝาสีสมรองรับขยะท่ีมีอันตรายตอสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม เชน ภาชนะบรรจุสารอันตรายตาง ๆ และในสวนของสีฟานั้นจะรองรับขยะยอยสลายไมได การจัดการดังกลาวจึงเปนการลดการปนเปอนของขยะเพ่ือนํากลับมาใชประโยชนใหมได ประกอบกับการประสานงานกับรานรับซื้อของเกาเพ่ือใหราคาเศษวัสดุเหลือใชท่ีเหมาะสมตามแหลงกําเนิด ซึ่งอาจมีการจัดต้ังศูนยวัสดุรีไซเคิลเพ่ือรองรับปริมาณขยะในแตละวันทั้งจากในชุมชน และชุมชนใกลเคียง เปนตน 2.5 ผลที่ไดรับจากการดําเนินงานอยางมีความรับผิดชอบตอสังคม

การดําเนินธุรกิจอยางมีความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility; CSR) เปนการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ขององคกรธุรกิจท่ีคํานึงถึงผูมีสวนไดสวนเสียทั้งภายในและภายนอกองคกร คํานึงถึงผลกระทบตอสังคมท้ังในระดับใกลและระดับไกล ดังนั้น การดําเนินงาน CSR จึงสงผลตอผูท่ีเกี่ยวของในดานตาง ๆ ขององคกร ผูมีสวนไดสวนเสียท่ีมีความใกลชิดและไดรับผลกระทบโดยตรงจากการดําเนินงาน CSR ไดแก ผูถือหุนและพนักงานซึ่งเปนผูมีสวนไดสวนเสียภายในองคกร จากการทบทวนวรรณกรรมพบวา การดําเนินงาน CSR ขององคกรธุรกิจไดสงผลตอผูมีสวนไดสวนเสียภายในองคกร ดังนี้

ในป พ.ศ. 2545 มีปริมาณขยะเกิดขึ้นจากชุมชนทั่วประเทศประมาณ 14.2 ลานตัน (อัตราการเพ่ิมปริมาณขยะเฉลี่ยรอยละ 1.00) แยกเปนขยะท่ีมีศักยภาพในการนํากลับมาใชประโยชนใหม (Recyclable Waste) ประมาณ 6.20 ลานตัน และขยะประเภทยอยสลายท่ีเหมาะแกการทําปุยอีกประมาณ 6.40 ลานตัน คิดเปนรอยละ 44.0 และรอยละ 45.0 ตามลําดับ โดยมีปริมาณการนําขยะท่ีคัด แยกไดจากชุมชนท้ังหมด แบงเปนประเภทรีไซเคิลประมาณ 2.40 ลานตัน และขยะยอยสลายไดประมาณ 0.300 ลานตัน ทั้งนี้ลักษณะการนําขยะกลับมาใชประโยชนใหมดําเนินการโดยฝายกิจกรรมเชน รานรับซื้อของเกา การจัดตั้งธนาคารขยะ การนํากลับมาแลกสิ่งของ การนําขยะไปประดิษฐเปนสิ่งของเคร่ืองใชตาง ๆ การนําขยะท่ียอยสลายไปมาหมักทําปุยอินทรียหรือปุยน้ําชีวภาพ การใชประโยชนดานปศุสัตว เปนตน

Page 41: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

29

2.6 ขอมูลพื้นฐานของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

2.6.1 ประวัติของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ประวัติโดยยอ โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ต้ังอยูเลขที่ 43 ซอย 16 ถนนรามคําแหง เขต

หัวหมาก กรุงเทพมหานคร เปนโรงเรียนท่ีมีการเรียนการสอนเปนไปตามหลักสูตรแหงชาติภายใตระบบการศึกษาของประเทศอังกฤษ (English National Curriculum) ใหแกนักเรียนระหวางอายุ 3 ถึง 18 ป จากระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ไดรับการประกาศจัดต้ังเปนโรงเรียนและเปดทําการสอนในป พ.ศ. 2512 โดยมี Mr. Antony Merley Traill เปนอาจารยใหญคนแรกของโรงเรียน และผูอํานวยการคนปจจุบัน คือ Mr. Gordon Espley Jones ในดานการบริหารงานของโรงเรียน มี นาย เฉลิม เทร็ลล เปนผูบริหารและเจาของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

2.6.2 วิสัยทัศน (Vision) จัดการศึกษา พัฒนาผูเรียน เปนคนดี มีปญญา กาวหนาเทคโนโลยี มีอาจารยเชี่ยวชาญ 2.6.3 พันธกิจ (Mission)

2.6.3.1 จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาใหผูเรียนมีความรูมีคุณธรรม คนพบความถนัด ความสามารถของตนเอง และมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพ่ือเปนพ้ืนฐานในการศึกษาระดับสูง

2.6.3.2 สงเสริมพัฒนาบุคลากรใหมีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐาน อาจารยมีความรูและทักษะในการวิจัยในชั้นเรียน การใชเทคโนโลยี เพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนการสอน

2.6.3.3 สงเสริมและพัฒนาระบบการบริหารใหมีประสิทธิภาพ ใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

2.6.3.4 พัฒนาสภาพแวดลอม แหลงเรียนรูภายในและภายนอกโรงเรียน และสื่ออุปกรณเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ใหเอื้อตอการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพ อันนําไปสูการเปนองคกรแหงการเรียนรู

Page 42: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

30

2.6.4 เปาประสงค (Goals) เพ่ือใหนักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค อาจารยและ

บุคลากรไดรับการพัฒนาใหมีสวนรวมในการบริหารจัดการอยางเปนระบบ โดยวงจรคุณภาพ 2.6.5 นโยบายโรงเรียน (Policy)

2.6.5.1 จัดการศึกษาเพ่ือสงเสริมใหผูเรียนมีความรูคูคุณธรรม มีความสามารถในการใชเทคโนโลยี เพ่ือเปนพื้นฐานในการศึกษาระดับสูง และสงเสริมความเปนเลิศในรายวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย

2.6.5.2 สงเสริมพัฒนาบุคลากร ใหมีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐาน อาจารยมีทักษะทางวิจัยในชั้นเรียน การวัดผลประเมินผล การใชเทคโนโลยีเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน

2.6.5.3 พัฒนาระบบบริหารใหมีประสิทธิภาพ 2.6.5.4 พัฒนาสภาพแวดลอม แหลงเรียนรู สื่อการเรียนการสอน หองปฏิบัติการใหมี

คุณภาพสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษา เนนความสามารถในดานกีฬาและศิลปะดนตรี 2.7 การใหความรูเกี่ยวกับการจัดการขยะในโรงเรียน เนื้อหาเกี่ยวกับการจัดการขยะในหลักสูตรของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ไดสอดแทรกในกลุมวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิต โดยสอนใหนักเรียนรูจักการปรับตัวใหเขากับการเปลีย่นแปลงของสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ความเจริญกาวหนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดจนสิ่งแวดลอม และมุงใหมีการจัดกระบวนการในการศึกษาเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค อันจะนาํไปสูการแกปญหาของตนเอง ครอบครัว และประเทศชาติในอนาคต กลุมสรางเสริมประสบการณชีวิตจึงเปน กลุมท่ีตองการใหผูเรียนรูถึงปญหา และกระบวนการแกปญหาชีวิตและสังคม ซึ่งปญหาขยะเปนปญหาหนึ่งดานสิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวเราและสังคม ในปจจุบันความกาวหนาดานเทคโนโลยีไมหยุดนิ่ง ทําใหมนุษยตองปรับตัวเองใหเขากับสภาพท่ีเปลี่ยนไป ในการเรียนการสอนของครูจะตองปรับเปลี่ยนในหลายดาน เพ่ือทําใหเด็กเกิดทักษะ ความคิดรวบยอด และเจตคติท่ีดีตอการอนุรักษสิ่งแวดลอม สามารถนําปญหาสิ่งแวดลอมมาแกไขดวยตนเอง เพื่อประโยชนสุขของตนเองและสังคม

Page 43: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

31

หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (พ.ศ. 2544) ซึ่งเปนหลักสูตรแกนกลางของประเทศ

มีจุดประสงคที่จะพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพชีวิตท่ีดี สามารถดํารงชีวิตอยางมีความสุขไดบนพ้ืนฐานของความถนัดและความสามารถของแตละบุคคล โดยใหสถานศึกษาจัดสาระการเรียนรูใหครบทั้ง 8 กลุมในทุกชวงชั้น ใหเหมาะสมกับสภาพการเรียนรู ซึ่งในกลุมสาระการเรยีนรู มีกลุมสาระวิทยาศาสตร มีองคความรูประกอบดวย สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต ชีวิตกับสิ่งแวดลอม สารและสมบัติของสาร แรงและการเคลื่อนท่ี พลังงาน กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ดาราศาสตรและอวกาศ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในสาระการเรียนรูชีวิตกับสิ่งแวดลอม ตองการใหผูเรียนเขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลก สามารถนําความรูไปใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

โดยกําหนดคุณภาพของผูเรียนเม่ือจบชวงชั้นท่ี 2 (ชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปท่ี 4 – 6) ไววาผูท่ีจบชวงชั้นท่ี 2 ควรมีความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมโดยตระหนักในคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แสดงถึงความซาบซึ้ง หวงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช การดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางรูคุณคามากกวานักเรียนชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนตน ซึ่ง วินัย วีระวัฒนานนท และบานชื่น สีพันผอง (2539: 85 – 90) ไดกลาวสรุปถึงการกําหนดเนื้อหาไวในหลักสูตรซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญของการเรียนรูเรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ดังนี้

1. สิ่งแวดลอมทางกายภาพ แบงเปน สิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ โดยท่ีสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติเหลานี้จะเกิดขึ้น ดํารงอยูหรือสูญสลายไปตามกฎธรรมชาติ เชน ดิน น้ํา แร ปาไม สัตว มนุษย อากาศ แสงแดด ซึ่งเปนสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติท้ังสิ้น สิ่งแวดลอมท่ีมนุษยสรางขึ้น เนื่องจากสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติไดถูกมนุษยดัดแปลง ทําใหธรรมชาติผิดแปลกไป จึงเรียกวา “สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น” เชน เมือง บาน ถนน สะพาน โตะ เกาอี้ เปนตน

เนื้อหาสําคัญท่ีเปนพ้ืนฐานครอบคลุมสิ่งตาง ๆ ดังนี้ 1.1 ทรัพยากรธรรมชาติ เปนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สถานการณเกี่ยวกับการขาดแคลนอาหารของโลก ปาไม ดิน น้ํา อากาศ รวมท้ังองคประกอบและผลกระทบท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงองคประกอบของงทรัพยากรเหลานั้น สถานการณปาไม สตัวปา แรธาตุ พลังงานในประเทศและโลก และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

Page 44: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

32

1.2 ปญหาสิ่งแวดลอม มลพิษสิ่งแวดลอม เชน ดิน น้ํา อากาศเปนพิษแหลงกําเนิดของมลพิษ สารมลพิษชนิดตาง ๆ ในอากาศ สารพิษในอาหารท่ีเกิดขึ้นจากกระบวนการเกษตรกรรม สารพิษจากพลังงานนิวเคลียร ขยะและสิ่งปฏิกูล การหมดไปของทรัพยากรธรรมชาติ

2. สิ่งแวดลอมทางสังคม เชน จริยธรรม ประเพณี ศาสนา คานิยมสิ่งเหลานี้นับวาเปนสวนสําคัญที่มีผลตอการเลือกดําเนินชีวิตของคนในสังคม และการตัดสินใจในปญหาตาง ๆ ดังนั้น จึงควรนําเรื่องสิ่งแวดลอมทางสังคมไปรวมไวในการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพราะสิ่งแวดลอมทางสังคมมีผลตอกิจกรรมของมนุษยและปริมาณการใชทรัพยากรธรรมชาติ

นอกจากนี้ เกษม จันทรแกว (2536: 142 – 211) ยังไดสอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับสิง่แวดลอมไวกับกับเรื่องอื่นท่ีเกี่ยวของเปนการใหการศึกษาเพ่ือสรางจิตสํานึกทางสิ่งแวดลอม เพ่ือใหใหผูเรยีนเกดิความรู เจตคติ ความสํานึก การตอบโต และทักษะทางสิ่งแวดลอมท่ีถูกตอง ดังนี้

2.1 ความรู (Knowledge) ทางสิ่งแวดลอมนั้นตองเปนความรูในแนวกวาง ซึ่งเปนฐานสําคัญของจิตสํานึกทางสิ่งแวดลอม หมายความวา รูหลายสาขา หรือเรื่องท่ีเกี่ยวของกับความรู เฉพาะทางสิ่งแวดลอมนั้น ๆ นอกจากนี้การรูจักผสมผสาน (Integration) ก็เปนอีกเรื่องหนึ่งท่ีสําคัญเชนกันท่ีจะกอใหเกิดความรูทางสิ่งแวดลอมในแนวกวาง ซึ่งหมายถึงการที่ความรูเฉพาะดานนัน้มีการเชื่อมโยงกับความรูทางดานอื่น ๆ ในลักษณะและทิศทางอันเปนสิ่งสําคัญของจิตสํานึกท่ีตองปลูกฝง ท้ังนี ้เพ่ือจะเปนความรูอยางมีเหตุผล สามารถสรางมโนภาพท่ีเปนธรรมชาติของสิ่งนั้น ปญหาและเหตุของปญหา แนวทางแกไข แผนการแกไขและอื่น ๆ ได

2.2 เจตคติ (Attitudes) เปนระดับความเขมขนของเนื้อหาสาระของจิตสํานึกทางสิ่งแวดลอมตอจากความรู หมายความวา ตองมีความรูอยางถูกตองตามหลักการ คือ รูกวางและรูการผสมผสานซึ่งตองมีการไดเห็น หรือสัมผัสของจริง และรวมกิจกรรมกับกิจกรรมเสริมที่ผูบริหารโปรแกรมวางแผนไว โดยเชื่อวาการไดเห็นความเปนจริง ปรากฏการณ พฤติกรรมในสิ่งเหลานั้น รวมท้ังไดมีการรวมกิจกรรม ก็สามารถมีเจตคติท่ีถูกตองและมั่นคงตลอดไป

3. ความสํานึก (Awareness) เปนระดับความเขมขนของเนื้อหาสาระในระดับท่ีสามของการสรางจิตสํานึกทางสิ่งแวดลอม โดยการกําหนดกระบวนรายวิชา รายละเอียดรายวิชาใหมีเนื้อหาถึงขั้นละเอียด ผูเรียนจะมีความรูอยางลึกซึ้ง เขาใจอยางฝงแนน อีกท้ังตองสรางบทปฏิบัติการ อาจทดลองในหองปฏิบัติการ ทดลองในพ้ืนที่จริง ทํากิจกรรมรวม เขียนรายงานบทปฏิบัติการ ทํารายงาน เสนอผลงานตอหนากลุมผูเรียน เปนตน

Page 45: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

33

4. การตอบโต (Sensitivity) ในทางสิ่งแวดลอม หมายความวา เมื่อเกิดเหตุการณใด หรือสิ่ง

ใดบังเกิดขึ้น ประสาทหรือความรูท่ีไดสะสมไวจะมีการตอบโตโดยอัตโนมัติ แตถาไมมีการตอบโตเลย หมายถึงวา การสรางความสํานึกหรือจิตสํานึกยังไมอยูในเกณฑท่ีใชได วิธีการสรางใหเกิดอาการตอบโต หรือเกิดความรูสึกก็คือ การสรางพัฒนาการโดยการฝกหัดทํา หรือฝกใหทํา อาจเปนการบังคับจากกฎหมาย การใหความรู ฝกโดยการสมัครใจและเต็มใจรับการฝกหัด

5. ทักษะ (Skills) เปนระดับสูงสุดในเนื้อหาสาระของการสรางจิตสํานึกทางสิง่แวดลอม เปนระดับท่ีสรางทักษะการทําไดอยางถูกตองและชํานาญการ คือ เม่ือมีความรูแลวมีเจตคติถูกตองแลว มีความสํานึกดีแลว และมีการตอบโตที่เปนไปโดยอัตโนมัติแลวก็ตาม ถายังมีทักษะท่ีไมถูกตองหรือขาดความชํานาญแลว การสอนสิ่งแวดลอมศึกษาฉบับนั้นก็จะไรคา กลาวคือ มีแตความรูและความเขาใจ แตทําไมไดหรือทําไมถูก การอนุรักษสิ่งแวดลอมก็คงตองผิดเปาหมายหรือไมเกิดผล วิธีการสรางทักษะท่ีมีประสิทธิภาพ คือ การฝกทํา ฝกหัดทํา ฝกการเขียน ฝกบรรยาย ฝกการเสนอผลงานฝกสอน และฝกเปนผูดําเนินการในเฉพาะเรื่องนั้น ๆ ตามเวลาท่ีเหมาะสม การทดสอบปริมาณและคุณภาพจากผูทรงคุณวุฒิก็สามารถทราบไดการสอดแทรกสิ่งแวดลอมเปนการจัดการสรางโปรแกรมการเรียนการสอนในระบบ (Formal Education) เปนการสอนสิ่งแวดลอมท่ีมีการถายทอดความพรอมในขณะท่ีสอนวิชาอื่น ๆ ซึ่งเปนการปลูกฝงการสรางจิตสํานึกทางสิ่งแวดลอมกับนักเรียน โดยเฉพาะในเรื่องท่ีเกี่ยวกับปญหาทางสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะปริมาณขยะท่ีเพ่ิมมากขึ้น และนักเรียนเปนอีกผูหนึ่งท่ีมีสวนในการเพ่ิมปริมาณขยะ การสอดแทรกสิ่งแวดลอมศึกษาเปนการปลูกฝงใหนักเรียนอนุรักษสิ่งแวดลอมทําใหนักเรียนเกิดความรู เจตคติ ความสํานึก การตอบโต และทักษะทางสิ่งแวดลอมท่ีถูกตอง ซึ่งคาดวาจะสงผลใหนักเรียนมีพฤติกรรมการจัดการขยะท่ีถูกตองเหมาะสมตอไป สมศักดิ์ ชัยยะพิพัฒน และคณะ (2546: บทคัดยอ) ไดศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เรื่อง การสงเสริมสุขภาพชุมชนและสิ่งแวดลอม โดยผานกระบวนการเรียนการสอนในโรงเรียน มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาแนวทางการสรางกระบวนการเรียนรูเร่ืองสุขภาพและสิ่งแวดลอม โดยผานการเรียนการสอนโรงเรียน โดยใชแหลงเรียนรูรวมกันระหวางโรงเรียนและชุมชน โรงเรียนเปาหมาย ท่ีศึกษา คือ ระดับประถมศึกษา 3 โรงเรียน จากพ้ืนท่ี 3 จังหวัด คือ ขอนแกน มหาสารคาม และรอยเอ็ด โดยมีกิจกรรมวิจัยดังนี้ 1) ทบทวนวรรณกรรมการดําเนินงานสุขภาพและสิ่งแวดลอมของโรงเรียนและชุมชนจากตางประเทศ 2) วิเคราะหเนื้อหาเกี่ยวกับสุขภาพและสิ่งแวดลอมในหลักสูตร รวมท้ังอบรมวิชาการแกครูท่ีเขารวมโครงการวิจัย 3) พัฒนาแนวทางการดําเนินงานดานสุขภาพและ

Page 46: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

34

สิ่งแวดลอมในโรงเรียนตนแบบ 4) สรางแผนการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนดานสุขภาพและสิ่งแวดลอมในโรงเรียน 5) ทดลองใชแผนการจัดการเรียนการสอนท่ีสรางขึ้น และ 6) ประเมนิผล การใชแผนการเรียนการสอน ผลการศึกษา พบวา ครูผูสอนสามารถใชแผนการสอนนี้ได แมบางทานจะรูสึกวาเปนหัวขอคอนขางใหมก็ตาม ครูพบวา แผนการจัดการเรียนการสอนนี้ชวยใหจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดงายขึ้น โดยเฉพาะกิจกรรมนอกโรงเรียน สวนการประเมินผลดานนักเรียน พบวา นักเรียนสวนใหญพอใจ เพราะรูสึกวาไดเรียนรูจากของจริง โรงเรียน 3 แหง จาก 6 โรงเรียน มีการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนรวมกับชุมชน เชน ปญหา และการกําจัดขยะ การกําจัดแหลงเพาะพันธุยุง การใชยา และการสํารวจมลพิษทางน้ํา เปนตน ปญหาสวนใหญท่ีพบจากการใชแผนการเรียนการสอนท่ีสรางขึ้น คือ เรื่องการขาดวัสดุอุปกรณและเวลาที่ใชในการเรียนการสอน รวมทั้งในระดับมัธยมปลาย ควรเพ่ิมกิจกรรมใหมากขึ้นในแผนการสอนท่ีสรางขึ้นนี้ ผลการวิจัยโดยสรุปชี้ประเด็นการเรียนรูเร่ืองสุขภาพและสิ่งแวดลอม สามารถพัฒนาจากโรงเรียนได เม่ือมีการสนับสนุนวัสดุอุปกรณและวิชาการแกโรงเรียน แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สรางขึ้น สามารถเกิดประโยชนตอโรงเรียน ในการสรางกิจกรรมการเรียนรูรวมกับสิ่งแวดลอมสําหรับครู การประเมินผลการใชแผนการเรียนนี้ ในระยะยาว การทดลองใชแผนนี้กับโรงเรียนในภูมิภาคอื่น และการพัฒนาเนื้อหาหรือหัวขอจากแผนการเรียนนี้ใหเขากับนโยบายการปฏิรูปการศึกษาแหงชาติ ซึ่งปจจุบันเนนการจัดทําหลักสูตรทองถิ่น

2.8 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ จากการศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล พบวา มีผูทําวิจัยเกี่ยวของ ดังนี ้

สุวรรณี ยุวชาติ (2532: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอม ของนักเรียนอาชีวศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา ในกรุงเทพมหานคร การศึกษาคร้ังนี้ มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอมของนักเรียนอาชีวศึกษา กลุมตัวอยางเปนนักเรียนอาชีวศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 3 จํานวน 505 คน ผลการศึกษา พบวานักเรียนสวนใหญมีพฤติกรรมในการอนุรักษสิ่งแวดลอมในระดับปานกลาง ระดับพฤติกรรมในการอนุรักษสิ่งแวดลอมของนักเรียนขึ้นอยูกับเพศและประเภทวิชา แตไมข้ึนอยูกับอาชีพของบิดา อาชีพของมารดา

Page 47: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

35

ระดับการศึกษาของบิดา ระดับการศึกษาของมารดา ภูมิลําเนา และการอบรมจากสถาบันการศึกษา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ชาติชาย ออนเจริญ (2533: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเร่ือง ความรูและความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในจังหวัดสมุทรปราการ เกี่ยวกับมลพิษทางสิ่งแวดลอม การศกึษาครัง้นี้มีวัตถุประสงคตองการศึกษาความรูและความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 ในจังหวัดสมุทรปราการ เกี่ยวกับมลพิษทางสิ่งแวดลอม กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6ในจังหวัดสมุทรปราการ จํานวน 345 คน ผลการศึกษา พบวา นักเรียนมีความรูเกี่ยวกับมลพิษทางสิ่งแวดลอมในระดับปานกลาง โดยนักเรียนหญิงมีความรูสูงกวานักเรียนชาย เม่ือทดสอบความแตกตาง พบวา ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับมลพิษทางสิ่งแวดลอมท่ีแตกตางกันนั้นขึ้นอยูกับเพศแผนการเรียน และแหลงท่ีตั้งของโรงเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

วรรณา ลิ่มพาณิชย (2538: 18) ไดศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชน ศึกษาเฉพาะกรณีเมืองพัทยา พบวา เพศ อายุ อาชีพ สัญชาติ ระยะเวลาท่ีไดมาต้ังถิ่นฐานอยูในเมืองพัทยา และการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะไมมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะ สวนระดับการศึกษา การไดรับขาวสารเกี่ยวกับการรักษาความสะอาด เจนคติและจิตสํานึก มีความสัมพัธเชิงบวกกับการจัดการขยะของประชาชน

วันชนะ บุญชัง (2542: 82) ไดทําการศึกษาเร่ือง พฤติกรรมการท้ิงขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี พบวา การอบรมเลี้ยงดูแบบตาง ๆ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการท้ิงขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี

สินีนุช มวงกล่ํา (2544: 45) ไดศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนนทบุรี จํานวน 731 คน ผลการศึกษาพบวา พฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน ภาพรวมอยูในระดับสูง มีการปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอ ปฏิบัติทุกคร้ังหรือเกือบทุกครั้งท่ีใชเคร่ืองใชไฟฟา ทัศนะคติตอการประหยัดพลังงานไฟฟา ความเชื่ออํานาจในตน ลักษณะมุงอนาคตและควบคุมตน และการไดรับการสั่งสอนจากโรงเรียน มีความสัมพัธเชิงบวกกับพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟาของนักเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.001

เสาวนิตย มงคลสกุณี (2545: 47) ไดทําการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งในงานการศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียน

Page 48: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

36

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา พบวา นักเรียนท่ีมีเพศ การอบรมดานจัดการขยะจากครอบครัวท่ีตางกัน มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะท่ีแตกตางกันท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนปจจัยท่ีไมมีผลตอพฤติกรรมการคัดแยกขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ไดแก ภูมิลําเนา และสถานะการอยูอาศัย

สมเพียร ต้ังบริบูรณรัตน (2546: 69) ไดทําการศึกษาเรื่อง ความตระหนักเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีสะอาดของนักเ รียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษา พบวา ประเภทของโรงเรียน และระดับชั้นการเรียนท่ีแตกตางกัน มีอิทธิพลตอความตระหนักเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีสะอาดของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายระดับสูง

ฐิตินัน งามสงวน (2548: 25) ไดทําการศึกษาเร่ือง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเจาพระยาสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเจาพระยาสุรศักด์ิ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และเพ่ือเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเจาพระยาสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยศึกษาจากกลุมตัวอยาง จํานวน 398 คน โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน คือ t – test และ One – way ANOVA ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเจาพระยาสุรศักด์ิ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยรวมมีพฤติกรรมการจัดการขยะท่ีดี เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานท่ีมีพฤติกรรมการจัดการขยะดีท่ีสุด คือ ดานการลดการเกิดขยะ ประชาชนเลือกซื้อสิ้นคาท่ีไมกอใหเกิดขยะมากเกินความจําเปน รองลงมา คือ ดานการนํากลับมาใชใหม ประชาชนมักใชวัสดุท่ีสามารถนํากลับมาใชใหมไดอีก และดานการคัดแยกขยะประชาชนท้ิงขยะเปยก จะตองมีภาชนะรองรับเสมอ สวนผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเจาพระยา สุรศักด์ิ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีรายไดแตกตางกัน พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเจาพระยาสุรศักด์ิ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 โดยพบวากลุมท่ีมีรายไดมากจะมีพฤติกรรมการจัดการขยะดีกวากลุมที่มีรายไดนอย

ศุภกร ทิมจรัส (2548: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะในครัวเรือนของประชาชนเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค ดังนี้ 1) เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบปจจัยท่ีมีผล

Page 49: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

37

ตอพฤติกรรมการจัดการขยะในครัวเรือน 2) เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบปจจัยสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะในครัวเรือน และ 3) เพื่อศึกษาระดับความรูเกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการขยะในครัวเรือนของประชาชน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร การดําเนินการเปนการศึกษาเชิงสํารวจประกอบสัมภาษณเชิงลึก กลุมตัวอยาง ไดแก หัวหนาครัวเรือน จํานวน 70 คน จากการสํารวจโดยใชแบบสอบถาม และวิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงพรรณนาประกอบดวย คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดย t – Test, F – test, Scheffe’ Test และ LDS สําหรับวิธีการสัมภาษณเชิงลึกทําการเก็บขอมูลจากผูนําชุมชน 9 ชุมชน และวิเคราะหขอมูลดวยวิธีการเชิงพรรณนา ผลการศึกษา พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง มากกวา เพศชาย อายุระหวาง 25 – 35 ป มีการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัท ระยะเวลาท่ีอยูอาศัยอยูในครัวเรือนมากกวา 5 ป รายไดเฉลี่ยในครัวเรือนตอเดือนต้ังแต 6,665 – 10,000 บาท จํานวนสมาชิกในครัวเรือนต้ังแต 4 – 6 คน ลักษณะที่อยูอาศัยเปนชุมชนบานจัดสรรและชุมชนแออัดจํานวนใกลเคียงกัน การรับรูขาวสารขอมูลโดยทางโทรทัศน และมีความรูเกี่ยวกับกําจัดขยะในครัวเรือนในระดับมาก โดยมีพฤติกรรมในการจัดการขยะระดับปานกลาง จากการทดสอบสมมติฐาน พบวา อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาท่ีอาศัยในครัวเรือน รายไดเฉลี่ยในครัวเรือนตอเดือน การรับรูขาวสาร ลักษณะที่อยูอาศัย และระดับความรูในการจัดการขยะในครัวเรือน มีความสัมพันธกับพฤติกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือน ท้ังนี้ไมพบความสัมพันธระหวาง เพศ อาชีพ และจํานวนสมาชิกในครัวเรือนกับพฤติกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือน จากการสัมภาษณเชิงลึก พบวา มีการคัดแยกขยะและไวนําไปขาย มีการซอมแซมสิ่งของเพ่ือนํากลับมาใชใหม มีขอแสนอแนะใหสงเสริมการใชผลิตภัณฑท่ีสามารถยอยสลายไดเองตามธรรมชาติ และรณรงคประชาสัมพันธใหประชาชนมีจิตสํานึกในการจัดการขยะท่ีถูกตอง

ปาจรีย หละตํา (2550: บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเ ร่ือง พฤติกรรมการจัดการขยะของครอบครัวริมทะเลสาบสงขลา เทศบาลตําบลสิงหนคร จังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงคเพ่ือ 1) ศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของครอบครัวริมทะเลสาบสงขลา เทศบาลตําบลสิงหนคร จังหวัดสงขลา และ 2) ศึกษาความสัมพันธระหวางคุณลักษณะของหัวหนาครอบครัวกับพฤติกรรมการจัดการขยะของครอบครัวริมทะเลสาบสงขลา กลุมตัวอยางเปนหัวหนาครอบครัวท่ีอาศัยอยูในชุมชนริมทะเลสาบสงขลา ในเขตเทศบาลตําบลสิงหนคร จังหวัดสงขลา จํานวน 392 คน ซึ่งไดมาโดยวิธีการสุมแบบหลายขั้นตอน เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบสอบถามท่ีผูวิจัยไดพัฒนาขึ้น จํานวน 1 ฉบับ

Page 50: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

38

และสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉลี่ย คารอยละ คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร และการทดสอบคาที ผลการศึกษา พบวา 1) ครอบครัวในชุมชนริมทะเลสาบสงขลา ในเขตเทศบาลตําบลสิงหนคร จังหวัดสงขลา มีพฤติกรรมการจัดการขยะถูกตองตามหลักสุขลักษณะในระดับสูง และ 2) คุณลักษณะของหัวหนาครอบครัวท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการจัดการขยะของครอบครัว ท่ีระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ประกอบดวย 4 ปจจัย คือ เพศ อายุ อาชีพ และระดบัความรูเกี่ยวกับการจัดการขยะของหัวหนาครอบครัว สวนคุณลักษณะอีก 3 ประการ คือ ระดับการศึกษา ระดับรายได และระดับการรับรูขาวสารในการจัดการขยะไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการจัดการขยะของครอบครัวในชุมชนริมทะเลสาบสงขลา

วลัยพร สกุลทอง (2550: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาระดับพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง และเพ่ือเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง จําแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได และจํานวนสมาชิก โดยศึกษาจากกลุมตัวอยางจํานวน 400 คน โดยใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คาเฉลี่ย คารอยละ คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน คือ t – test, One – way ANOVA และ Scheff’ Test ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง โดยรวม มีพฤติกรรมการจัดการขยะอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานท่ีมีพฤติกรรมการจัดการขยะในระดับมากที่สุด คือ ดานการนํากลับมาใชใหม รองลงมา คือ ดานการลดการเกิดขยะ และดานการจัดการขยะ โดยในดานการนํากลับมาใชใหม ประชาชนมีพฤติกรรมการเลือกขยะประเภทกลองกระดาษ หรือหนังสือพิมพเก็บไวขายหรือนํากลับมาใชไดอีก ในดานการลดการเกิดขยะ ประชาชนมีพฤติกรรมเลือกใชถุงพลาสติกใสสิ่งของใบใหญเพียงใบเดียวมากกวาใบเล็ก หลาย ๆ ใบ และในดานการคัดแยกขยะประชาชนมีพฤติกรรม การท้ิงขยะเปยก โดยจะตองมีถังขยะรองรับเสมอ สวนผลการเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการกําจัดขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง พบวา อายุ และจํานวนสมาชิกในครอบครัว ตางกัน มีพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุดแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 สวน เพศ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได ตางกันมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05

Page 51: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

39

ฐิติรัตน ธิติภมรรัตน (2551: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของ

ประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาระดับพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี และเพือ่เปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จําแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ระยะเวลาที่อาศัยอยูในชุมชน รายไดในครัวเรือน จํานวนสมาชิกในครอบครัว และการไดรับขาวสาร โดยศึกษาจากกลุมตัวอยางจํานวน 400 คน โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คาเฉลี่ย คารอยละ คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน คือ t – test, One – way ANOVA และ Scheff’ Test ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชน ในเขตเทศบาลตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยรวมอยูในเกณฑคอนขางดี และรายดานท้ัง 3 ดาน อยูในเกณฑคอนขางดี ดานท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ดานการลดการเกิดขยะ ผลการเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี พบวา อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ตางกันมีพฤติกรรมการจัดการขยะแตกตางกันท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05 โดยพบวา ผูท่ีมีอายุมากมีพฤติกรรมในการจัดการขยะดีกวาผูที่มีอายุนอย แตเร่ืองการศึกษา พบวา ผูท่ีมีการศึกษานอยมีพฤติกรรมในการจัดการขยะดีกวาผูท่ีมีการศึกษาสูงกวา สวนอาชีพ พบวา พอบาน/แมบาน มีพฤติกรรมการการจัดการขยะดีกวาอาชีพอื่น นอกจากนั้น พบวา เพศ ระยะเวลาท่ีอยูอาศัยในชุมชน รายไดในครัวเรือน จํานวนสมาชิกในครอบครัว และการไดรับขาวสารท่ีแตกตางกันมีพฤติกรรมการจัดการขยะไมแตกตางกัน

มยุรี คงแถลง (2551: 72 – 78) ไดทําการศกึษาเรือ่ง พฤติกรรมการคัดแยกขยะของพนักงานโรงพยาบาลเกษมราษฎรสขุาภิบาล 3 ซึ่งพบวา การรับรูขาวสาร ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ ทศันคติเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ อยูในระดับสูง และมีพฤติกรรมการคัดแยกขยะ อยูในระดับปานกลาง และผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการคัดแยกขยะ ไดแก อายุ รายไดเฉลี่ยตอเดือน การรับรูขาวสารเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ และทัศนคติเกี่ยวกับการคัดแยกขยะสวนปจจัยท่ีไมมีผลตอพฤติกรรมการคดัแยกขยะ ไดแก เพศ ระดับการศกึษา อายุงาน ลกัษณะงานท่ีปฏิบัติ และความรูเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ

Burchett (1972: 4439) ไดทําการศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 4, 5 และ 6 ผลการศึกษา พบวา นักเรียนมีพฤติกรรมตอปญหาการจัดการขยะในทิศ

Page 52: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

40

ทางบวก ปญหาสิ่งแวดลอมในอนาคตจะรุนแรงมากกวาในปจจุบัน สิ่งท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมในดานการจัดการขยะของนักเรียน คือ การอบรมสั่งสอนของอาจารย และสิ่งเราภายนอก เชน สื่อภาพยนตร ซึ่งมีความสําคัญท่ีจะสงผลถึงพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียน

Johnston (1974: 4911 – 4912) ไดศึกษาเรื่อง ความคิดเห็นและเจตคติของอาจารยในโรงเรียนมัธยมศึกษาท่ีสอนวิทยาศาสตร และอาจารยท่ีสอนวิชาอื่นในรัฐมิสซิสชิปป ผลปรากฎวา อาจารยท่ีสอนวิทยาศาสตรและอาจารยท่ีสอนวิชาอื่นมีความเห็นเหมือนกันวา อาจารยควรมีบทบาทในการรักษาสภาพแวดลอมและการจัดการขยะ (Pollution Control and Waste Management) เพราะอาจารยเปนผูใหความรูแกนักเรียนในโรงเรียน

Zacher (1975: 4883) ไดศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอความรูดานสิ่งแวดลอมของนักเรียนชั้นปที่ 11 ในรัฐมอนตานา ผลการศึกษา พบวา เพศ ขนาดครอบครัว การอานหนังสือพิมพ การไดศึกษาความรูทางดานการจัดการขยะในโรงเรียน และภูมิลําเนาของนักเรียน เปนปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะ และจากการเปรียบเทียบปจจัยตาง ๆ ปรากฎผลวา เด็กชายมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาเด็กหญิง เด็กจากครอบครัวเล็กมีคะแนนสูงกวาเด็กจากครอบครัวใหญ เด็กท่ีอานหนังสือพิมพต้ังแต 3 ฉบับขึน้ไปไดคะแนนสูงกวาเด็กที่อานนอยกวานั้น

Dyar (1976: 110 – 111) ไดศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมของนักเรียนเกรด 7 (Assesing the Environmental Attitude and Behavior of a Seventh Gradeschool Population) โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาทัศนคติและพฤติกรรมของเด็กนักเรียน ตามตัวแปรเพศ ภูมิลําเนา ความสามารถในการเรียน และฐานะทางเศรษฐกิจ กลุมตัวอยางเปนนักเรียนเกรด 7 จํานวน 637 คน ซึ่งแตกตางกันในดานภูมิลําเนา (เขตเมือง เขตชานเมือง และเขตชนบท) ผลการศึกษา พบวา เด็กท่ีอยูในเขตชนบทมีความหวงกังวลตอปญหาสิ่งแวดลอมมากท่ีสุด สวนเด็กที่อยูในเขตเมืองมีความหวงกังวลตอปญหาสิ่งแวดลอมนอยท่ีสุด เด็กท่ีมีความสามารถในการเรียนในระดับสูงและกลาง มีความหวงกังวลตอปญหาสิ่งแวดลอมมากกวาเด็กท่ีมีความสามารถในการเรียนในระดับต่ํา ฐานะทางเศรษฐกิจมีผลตอระดับทัศนคติและพฤติกรรมเพียงเล็กนอย สวนเด็กผูหญิงมีระดับทัศนคติและพฤติกรรมทางสิ่งแวดลอมต่ํากวาเด็กชายเล็กนอย

Page 53: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

บทที่ 3

วิธีการศึกษา

การศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) ดําเนินการศึกษาโดยการใชแบบสอบถาม (Questionnaire) เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูล จากนั้นนําขอมูลท่ีไดมาทําการวิเคราะหและแปลผล เพื่อหาขอสรุปใหบรรลุวัตถุประสงคของการศึกษา โดยมีกรอบแนวคิดและวิธีการศึกษาดังนี้ 3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ไดกําหนดกรอบแนวคิดในการศึกษาประกอบดวยตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ดังมีรายละเอียดดังนี้

3.1.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ประกอบดวยตัวแปรจํานวน 10 ตัวแปรหลัก ดังนี้ ปจจัยสวนบุคคล ประกอบดวย เพศ ระดับชั้นเรียน โปรแกรม สัญชาติ ภูมิลําเนา สถานะการอยูอาศัย รายไดครอบครัว และปจจัยอื่น ไดแก การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน และการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ

3.1.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ พฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ดังภาพท่ี 3.1

Page 54: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

42

3.1 ประชากร 3.2 เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.4 การวิเคราะหขอมูล

ภาพท่ี 3.1 กรอบแนวคิดในการศกึษา

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ปจจัยสวนบุคคล 1. เพศ 2. ระดับชั้นเรียน 3. โปรแกรม 4. สัญชาต ิ5. ภูมิลําเนา 6. สถานะการอยูอาศัย 7. รายไดครอบครัว

ปจจัยอ่ืน 8. การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการ

จัดการขยะจากครอบครัว 9. การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการ

จัดการขยะจากโรงเรียน 10. การอํานวยความสะดวกดานการ

จัดการขยะ

พฤตกิรรมดานการจัดการขยะของนกัเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทรล็ล

Page 55: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

43

3.2 สมมติฐานการศึกษา

สมมติฐานท่ี 1 ปจจัยสวนบุคคลดานเพศมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ สมมติฐานท่ี 2 ปจจัยสวนบุคคลดานระดับชั้นเรียนมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการ

ขยะ สมมติฐานท่ี 3 ปจจัยสวนบุคคลดานโปรแกรมมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ สมมติฐานท่ี 4 ปจจัยสวนบุคคลดานสัญชาติมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ สมมติฐานท่ี 5 ปจจัยสวนบุคคลดานภูมิลําเนามีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ สมมติฐานท่ี 6 ปจจัยสวนบุคคลดานสถานะการอยูอาศัยมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการ

จัดการขยะ สมมติฐานท่ี 7 ปจจัยสวนบุคคลดานรายไดครอบครัวมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการ

จัดการขยะ สมมติฐานท่ี 8 การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัวมีผลตอระดบัพฤติกรรม

ดานการจัดการขยะ สมมติฐานท่ี 9 การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียนมีผลตอระดับพฤติกรรม

ดานการจัดการขยะ สมมติฐานท่ี 10 การอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะมีผลตอระดับพฤติกรรมดาน

การจัดการขยะ 3.3 ประชากรที่ใชในการศึกษา

ประชากรท่ีใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ เด็กนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 เพศชาย

และหญิง กําลังศึกษาอยูในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2555 ของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล แขวงหัวหมาก เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร เปนนักเรียนจํานวนท้ังสิ้น 101 คน (ขอมูล ณ วันท่ี 16 กุมภาพันธ พ.ศ. 2555) ดังรายละเอียดในตารางท่ี 3.1

Page 56: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

44

ตารางที่ 3.1 ประชากรเปาหมาย จําแนกตามระดับชั้นเรียน

ระดับชั้นเรียน ชาย หญิง รวม ม. 4 24 18 42 ม. 5 21 19 40 ม. 6 9 10 19

รวมท้ังสิ้น 54 57 101 3.4 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาและวิธีการที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

3.4.1 เครื่องมือท่ีใชในการศึกษา

การศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาไดใชเคร่ืองมือสําหรับการศึกษาคนควาเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคไดแก แบบสอบถาม โดยใหนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายซึ่งเปนกลุมประชากรเปนผูตอบแบบสอบถาม ผูศึกษาไดดําเนินการออกแบบสอบถามซึ่งเปนตัวชี้วัดระดับพฤติกรรมการจัดการขยะ ความรูเกี่ยวกับการจัดการขยะ ความรวมมือการจัดการขยะภายในโรงเรียน ความใสใจในดานการจัดการขยะอยางมีประสิทธิภาพของผูบริหารของโรงเรียน การบังคับใชกฎระเบียบ มาตรการในดานการรักษาความสะอาด และปญหาอุปสรรคในการดําเนินการจัดการขยะภายในโรงเรียน และแนวทางการพัฒนาปรับปรุงการจัดการขยะภายในโรงเรียน เปนตน โดยการสรางเครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือแบบสอบถาม โดยแบงโครงสรางแบบสอบถามออกเปน 4 สวน คือ

สวนท่ี 1 เปนคําถามเกี่ยวกับลักษณะสวนบุคคล ไดแก เพศ ระดับชั้นเรียน โปรแกรม สัญชาติ ภูมิลําเนา สถานะการอยูอาศัย รายไดครอบครัว และปจจัยอื่น ไดแก การไดรบัการอบรมสัง่สอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน และการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ

สวนท่ี 2 เปนคําถามเพื่อวัดระดับพฤติกรรมของนักเรียนในดานการจัดการขยะ เพ่ือตองการทราบพฤติกรรมในการคัดแยกขยะของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

Page 57: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

45

สวนท่ี 3 เปนคําถามเพ่ือวัดระดับแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียน

นานาชาติเทร็ลล เพ่ือตองการทราบแนวทางการปรับปรุงการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

สวนที่ 4 เปนคําถามในเร่ืองความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล เพื่อหาแนวทางการปรับปรุงการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 3.4.2 การเก็บรวบรวมขอมูล

ผูศึกษาไดใชแหลงขอมูลในการศึกษา 2 แหลง (จารุวรรณ ชอบประดิษฐ, 2546: 21) ดังนี้ 3.4.2.1 ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ไดจากการเก็บขอมูลจากการสังเกต และการ

สรางแบบสอบถามรวมกับสมมติฐานที่ตองการทดสอบ 3.4.2.2 ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เปนการเก็บรวบรวมขอมูลจากหนังสือ

วารสาร บทความทางวิชาการ งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ คนควาขอมูลทางอินเตอรเน็ตจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของนํามาประกอบการศึกษาคนควาใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น การเก็บรวบรวมขอมูลคร้ังนี้ผูศึกษาไดสงแบบสอบถามแกนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทลลโดยตรง ดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้คือ นําแบบสอบถามจํานวน 101 ชุด ไปทําการเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุมประชากรศึกษา โดยผูศึกษาดําเนินการนําแบบสอบถามไปใหแกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทลลและเก็บแบบสอบถามคืนดวยตนเองจํานวน 101 ชุด

3.4.3 ผูใหขอมูลสําคัญ ผูใหขอมูลสําคัญ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทรล็ล ซึง่ทําการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการใชแบบสอบถาม เพ่ือใหไดขอมูลเกี่ยวกับปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาตเิทรล็ล รวมถงึแนวทางการปรับปรุงแกไขเพ่ือพัฒนาการจัดการขยะภายในโรงเรียนอยางมีประสิทธิภาพ

Page 58: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

46

3.4.4 การสรางแบบสอบถาม

เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบสอบถามแบบมีโครงสรางท่ีผูศึกษาไดสรางขึ้น โดยสอดคลองกับวัตถุประสงคของการศึกษา

3.4.5 โครงสรางแบบสอบถาม แบบสอบถามประกอบดวยคําถามท่ีเปนแบบคําถามชนิดปลายเปด (Open – ended

Question) ปลายปด (Close – ended Question) และคําถามท่ีแสดงระดับความเห็น (Scale Questions) แบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

3.4.5.1 แบบสอบถามสวนท่ี 1 เปนแบบเลือกตอบ (Checklist) เปนคําถามเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม ประกอบดวย เพศ ระดับชั้นเรียน โปรแกรม สัญชาติ ภูมิลําเนา สถานะการอยูอาศัย รายไดครอบครัว และปจจัยอื่น ไดแก การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน และการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ จํานวนท้ังหมด 10 ขอ

3.4.5.2 แบบสอบถามสวนท่ี 2 คําถามเกี่ยวกับพฤติกรรมของนักเรียนในดานการจัดการขยะในโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล จํานวนท้ังหมด 10 ขอ

โดยใหคะแนนความคิดเห็นได 4 ระดับ คือ 1) ปฏิบัติทุกครั้ง 2) ปฏิบัติบอยครั้ง 3) ปฏิบัติบางครั้ง และ 4) ไมเคยปฏิบัติเลย

3.4.5.3 แบบสอบถามสวนท่ี 3 คําถามเกี่ยวกับแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะขอโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล จํานวนท้ังหมด 9 ขอ

โดยใหคะแนนความคิดเห็นได 4 ระดับ คือ 1) ควรปรับปรุงมากท่ีสุด 2) ควรปรับปรุงมาก 3) ควรปรับปรุงนอย และ 4) ควรปรับปรุงนอยที่สุด 3.4.6 เกณฑการใหคะแนน

3.4.6.1 แบบสอบถามสวนที่ 2 เปนมาตรวัดแบบใหคะแนน (Rating Scale) เกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายนานาชาติเทร็ลล ประกอบดวย ดานการลดการเกิดขยะ ดานการนํากลับมาใชใหม ดานการคัดแยกขยะ เพื่อประเมินพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีตอคําถาม ซึ่งมีเกณฑการใหคะแนนพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามความคิดเห็นดังนี้

Page 59: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

47

1) ปฏิบัติทุกครั้ง ให 4 คะแนน

2) ปฏิบัติบอยคร้ัง ให 3 คะแนน 3) ปฎิบัติบางครั้ง ให 2 คะแนน 4) ไมเคย ให 1 คะแนน 3.4.6.2 แบบสอบถาม ตอนท่ี 3 เปนมาตรวัดแบบใหคะแนน (Rating Scale) เกี่ยวกับแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ประกอบดวยดานการบริหารการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล เพ่ือประเมินในดานการบริหารจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทลล ซึ่งมีเกณฑการใหคะแนนจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเรื่องของแนวทางบริหารการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลตามความคิดเห็นดังนี้

1) ควรปรับปรุงมากท่ีสดุ ให 4 คะแนน 2) ควรปรับปรุงมาก ให 3 คะแนน 3) ควรปรับปรุงนอย ให 2 คะแนน 4) ควรปรับปรุงนอยท่ีสุด ให 1 คะแนน

3.5 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ

3.5.1 ในการสรางแบบสอบถาม ผูวิจัยไดขอคําแนะนําจากอาจารยท่ีปรึกษา เพ่ือตรวจสอบเนื้อหาของแบบสอบถามใหถูกตองตามแนวทางของการศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ท้ังนี้เพ่ือใหเกิดความเที่ยงตรงในเนื้อหาตามวัตถุประสงคของการวิจัย แลวแกไขตามขอเสนอแนะ

3.5.2 นําแบบสอบถามท่ีผานการปรับปรุงแลว เสนออาจารยท่ีปรึกษาเพื่ออนุมัติใหนําแบบสอบถามไปทดลองใชกับท่ีไมใชกลุมตัวอยางในโรงเรียน คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 จํานวน 20 คน แลวนํามาวิเคราะหหาคาความเชื่อม่ันของแบบสอบถาม โดยการวิเคราะหหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (α – Coefficient) ตามวิธีการของครอนบาค (Cronbach) ซึ่งจากการเก็บตัวอยางนักเรียน 20 คน ไดคาสัมประสิทธิ์แอลฟา คือ 0.754

3.5.3 นําแบบสอบถามเสนอเพ่ือขอความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาวิชาคนควาอิสระ

Page 60: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

48

3.5.4 นําแบบสอบถามท่ีผานการทดสอบ มาปรับปรุงเพ่ือความสมบูรณอีกครั้ง กอนการนําไปใชเก็บรวบรวมขอมูลจากนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 3.6 วิธีประมวลผลและวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม เม่ือไดรับแบบสอบถามคืนจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติ เทร็ลลแลว ผูศึกษาไดดําเนินการดังตอไปนี้ คือ นําแบบสอบถามท่ีไดรับคืนจากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล มาตรวจสอบความถูกตองแลวไปวิเคราะห ประกอบดวย

3.6.1 ระดับพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล แลวนําขอมูลมาแปลคาเฉลี่ยพฤติกรรมของตัวแปรตาง ๆ ท่ีมีตอระดับพฤติกรรมออกเปน 4 ระดับโดยการหาความกวางของอันตรภาคชั้น ดังนี้

จํานวนชั้นคะแนนสูงสดุ – คะแนนต่ําสุด ชวงกวางของอนัตรภาคชั้น =

จํานวนชั้น = 0.750

ระดับคะแนนเฉลี่ย ระดับพฤติกรรมการจัดการขยะ 3.26 – 4.00 มีระดับพฤติกรรมการจัดการขยะที่สูงมาก 2.51 – 3.25 มีระดับพฤติกรรมการจัดการขยะที่สูง 1.76 – 2.50 มีระดับพฤติกรรมการจัดการขยะที่ตํ่า 1.00 – 1.75 มีระดับพฤติกรรมการจัดการขยะที่ตํ่ามาก

4 – 1 =

4

Page 61: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

49

3.6.2 การแปลคะแนนดานแนวทางการปรับปรุงการจัดการขยะจะวัดออกเปน 3 ระดับ

โดยพิจารณาจากคาเฉลี่ยของคะแนนที่ไดจากกลุมตัวอยาง โดยใชคาทางสถิติคะแนนเฉลี่ยเลขคณติกําหนดชวงของการวัด

จากเกณฑดังกลาว ผูศึกษาไดแปลความหมายของแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทลลได ดังนี้

ระดับคะแนนเฉลี่ย แนวทางในการปรับปรุง 3.26 – 4.00 ควรปรับปรุงดานการจัดการขยะมากท่ีสุด 2.51 – 3.25 ควรปรับปรุงดานการจัดการขยะมาก 1.76 – 2.50 ควรปรับปรุงดานการจัดการขยะนอย 1.00 – 1.75 ควรปรับปรุงดานการจัดการขยะนอยท่ีสุด

3.7 การวิเคราะหขอมูล เมื่อไดแบบสอบถามจากภาคสนามแลวนํามาตรวจสอบความถูกตองเพ่ือสรางเครื่องมือลงรหัส จากนั้นนําขอมูลท่ีลงรหัสแลวมาทําการประมวลผลดวยเคร่ืองคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมสถิติสําเร็จรูปทางสังคมศาสตร (Statistical Package For the Social Science; SPSS) โดยใชหลักสถิติในการวิเคราะหดังนี้ (ชัชวาล เรืองประพันธ, 2544 อางถึงใน อภิวิชญ จันทวี, 2549: 65)

3.7.1 สถิติพรรณนา ใชคาความถี่ (Frequency) คารอยละ(Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพ่ืออธิบายเชิงพรรณนาขอมูลดานปจจัยสวนบุคคลและพฤติกรรม

3.7.2 สถิติอนุมาน เปนการทดสอบความแตกตางระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม โดยแบงเปน 3 แบบคือ

Page 62: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

50

3.7.1.1 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ย (t – test) เปนการวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางตัวแปรในสวนของปจจัยสวนบุคคล คือ เพศ ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมดานการจัดการขยะ

3.7.1.2 การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (F – test: One – way Analysis of Variance) เปนการวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางตัวแปรในสวนของปจจัยสวนบุคคล ไดแก ระดับชั้นเรียน โปรแกรม สัญชาติ ภูมิลําเนา และสถานะการอยูอาศัย ตัวแปรตาม คือ พฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

3.7.1.3 การวัดขนาดและทิศทางความสัมพันธดวยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson’s Correlation Coefficient; r) เปนการวัดขนาดและทิศทางเพ่ือวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ไดแก รายไดครอบครัว การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน และการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ กับพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล โดยคาสหประสิทธสัมพันธ (r) มีคาต้ังแต -1 ถึง +1 ถาคาของ r เขาใกล 0 แสดงวา มีความสัมพันธในระดับตํ่า คาของ r เทากับ -1 หรือ 1 แสดงวาตัวแปรท้ังสองมีความสัมพันธกันเชิงสมบูรณ ถาคาของ r เทากับ 0 แสดงวาตัวแปรทั้งสองไมมีความสมัพันธเชงิเสนตอกัน (จันทนา อินทปญญา, 2546 อางถึงใน อภิวิชญ จันทวี, 2549: 66)

การวิเคราะหระดับและทิศทางความสัมพันธของตัวแปร ใชเกณฑในการวัดคะแนนระดับความสัมพันธ ดังนี้ (วิทิตา หัตกรรม, 2547 อางถึงใน กชกร บุญสิทธิ์, 2549: 79)

0 หมายถึงไมมีความสัมพันธ 0.0100 – 0.290 หมายถึงมีความสัมพันธอยูในระดับต่ํา และทิศทางเดียวกัน (ทางบวก)

0.300 – 0.690 หมายถึงมีความสัมพันธอยูในระดับปานกลาง และทิศทางเดียวกัน (ทางบวก) 0.700 – 1.00 หมายถึงมีความสัมพันธอยูในระดับสูง และทิศทางเดียวกัน (ทางบวก)

Page 63: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

51

(-0.0100) – (-0.290) หมายถึงมีความสัมพันธอยูในระดับต่ํา และทิศทางตรงกันขาม (ทางลบ) (-0.300) – (-0.690) หมายถึงมีความสัมพันธอยูในระดับปานกลาง และทิศทางตรงกันขาม (ทางลบ) (-0.700) – (-1.00) หมายถึงมีความสัมพันธอยูในระดับสูง และทิศทางตรงกันขาม (ทางลบ)

Page 64: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

บทที่ 4

ผลการศึกษา

การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลนี้ ผูศึกษาไดนําเสนอผลการวิเคราะหซึ่งมีรายละเอียดในการวิเคราะหตามลําดับ คือ

สวนท่ี 1 ขอมูลสวนบุคคล สวนท่ี 2 พฤติกรรมของนักเรียนในดานการจัดการขยะ สวนท่ี 3 แนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล สวนท่ี 4 ผลการทดสอบสมมติฐาน

4.1 ขอมูลสวนบุคคล 4. จากการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล จํานวน 101 คน กลุมประชากรมีขอมูลสวนบุคคล ดังนี้

4.1.1 เพศ พบวา กลุมประชากรสวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 54 คน คิดเปนรอยละ 53.5 และเพศหญิง จํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 46.5 ดังแสดงในตารางท่ี 4.1 ตารางที่ 4.1 จํานวนและรอยละของประชากร เมื่อจําแนกตามเพศ เพศ จํานวน รอยละ

- ชาย - หญิง

54 47

53.5 46.5

รวม 101 100

Page 65: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

53

4.1.2 ระดับชั้นเรียนปจจุบัน พบวา กลุมประชากรสวนใหญเรียนอยูในระดับชั้น

มัธยมศึกษาปท่ี 4 จํานวน 42 คน คิดเปนรอยละ 41.6 รองลงมาเรียนอยูในระดับชัน้มัธยมศกึษาปท่ี 5 จํานวน 40 คน คิดเปนรอยละ 39.6 และเรียนอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 จํานวน 19 คน คดิเปนรอยละ 18.8 ดังแสดงในตารางท่ี 4.2

ตารางที่ 4.2 จํานวนและรอยละของประชากร เมื่อจําแนกตามระดับชั้นเรียนปจจุบัน ระดับช้ันเรียนปจจุบัน จํานวน รอยละ

- มัธยมศึกษาปท่ี 4 - มัธยมศึกษาปท่ี 5 - มัธยมศึกษาปท่ี 6

42 40 19

41.6 39.6 18.8

รวม 101 100

4.1.3 โปรแกรม พบวา กลุมประชากรใหญเรียนแผนวิทย – คณิต จํานวน 49 คน คิดเปนรอยละ 48.5 รองลงมาเรียนแผนศิลป – ภาษา จํานวน 31 คน คิดเปนรอยละ 30.7 และ แผนศิลป – คํานวณ จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 20.8 ดังแสดงในตารางท่ี 4.3 ตารางที่ 4.3 จํานวนและรอยละของประชากร เมื่อจําแนกตามโปรแกรม โปรแกรม จํานวน รอยละ

- แผนวิทย – คณิต - แผนศิลป – ภาษา - แผนศิลป – คํานวณ

49 31 21

48.5 30.7 20.8

รวม 101 100

4.1.4 สัญชาติ พบวา กลุมประชากรสวนใหญสัญชาติไทย จํานวน 69 คน คิดเปนรอยละ 68.3 รองลงมาสัญชาติเกาหลี จํานวน 19 คน คิดเปนรอยละ 18.8 สัญชาติจีน จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 9.90 และสัญชาติอินเดีย จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 3.00 ดังแสดงในตารางท่ี 4.4

Page 66: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

54

ตารางที่ 4.4 จํานวนและรอยละของประชากร เมื่อจําแนกตามสัญชาติ สัญชาติ จํานวน รอยละ

- ไทย - เกาหล ี- อินเดีย - จีน

69 19 3 10

68.3 18.8 3.00 9.90

รวม 101 100

4.1.5 ภูมิลําเนา พบวา กลุมประชากรสวนใหญมีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล จํานวน 87 คน คิดเปนรอยละ 86.1 รองลงมามีภูมิลําเนาอยูภาคเหนือ จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 6.90 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 4.00 และภาคใต จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 3.0 ดังแสดงในตารางท่ี 4.5 ตารางที่ 4.5 จํานวนและรอยละของประชากร เมื่อจําแนกตามภูมิลําเนา ภูมิลําเนา จํานวน รอยละ

- กรุงเทพมหานครและปริมณฑล - ภาคเหนอื - ภาคใต - ภาคตะวันออกเฉยีงเหนือ

87 7 3 4

86.1 6.90 3.00 4.00

รวม 101 100

4.1.6 สถานะการอยูอาศัย พบวา กลุมประชากรสวนใหญอาศัยอยูกับบิดาและมารดา จํานวน 79 คน คิดเปนรอยละ 78.2 รองลงมาอาศัยอยูกับบิดาหรือมารดา จํานวน 20 คน คิดเปนรอยละ 19.8 และอาศัยอยูกับญาติ จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 2.00 ดังแสดงในตารางท่ี 4.6

Page 67: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

55

ตารางที่ 4.6 จํานวนและรอยละของประชากร เมื่อจําแนกตามสถานะการอยูอาศัย สถานะการอยูอาศัย จํานวน รอยละ

- อาศัยกบับิดาและมารดา - อาศัยกบับิดาหรือมารดา - อาศัยกบัญาติ

79 20 2

78.2 19.8 2.00

รวม 101 100

4.1.7 รายไดครอบครัว พบวา กลุมประชากรสวนใหญมีรายไดของครอบครัวตอเดือนมากกวา 225,000 บาท ขึ้นไป จํานวน 29 คน คิดเปนรอยละ 28.7 รองลงมามีรายไดระหวาง 75,001 – 150,000 บาท จํานวน 28 คน คิดเปนรอยละ 27.7 มีรายไดนอยกวา 75,000 บาท จํานวน 24 คน คิดเปนรอยละ 23.8 และมีรายไดระหวาง 150,001 – 225,000 บาท จํานวน 20 คน คิดเปนรอยละ 19.8 ดังแสดงในตารางที่ 4.7 ตารางที่ 4.7 จํานวนและรอยละของประชากร เมื่อจําแนกตามรายไดครอบครัว รายไดครอบครัว / เดือน จํานวน รอยละ

- นอยกวา 75,000 บาท - ระหวาง 75,001 – 150,000 บาท - ระหวาง 150,001 – 225,000 บาท - มากกวา 225,000 บาท ขึ้นไป

24 28 20 29

23.8 27.7 19.8 28.7

รวม 101 100

4.1.8 การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว พบวา กลุมประชากรสวนใหญไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัวนาน ๆ คร้ัง จํานวน 40 คน คิดเปนรอยละ 39.6 รองลงมาบอยครั้ง จํานวน 33 คน คิดเปนรอยละ 32.7 เกือบทุกวัน จํานวน 19 คน

รายไดเฉลี่ย = 169,589 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน = 94,244

Page 68: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

56

คิดเปนรอยละ 18.8 และไมเคยไดรับการอบรม จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 8.90 ดังแสดงในตารางท่ี 4.8 ตารางที่ 4.8 จํานวนและรอยละของประชากร เมื่อจําแนกตามการไดรับการอบรมสั่งสอนดาน

การจัดการขยะจากครอบครัว การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจดัการขยะ จากครอบครัว

จํานวน รอยละ

- นาน ๆ คร้ัง - บอยคร้ัง - เกอืบทกุวัน - ไมเคยไดรับ

40 33 19 9

39.6 32.7 18.8 8.90

รวม 101 100

4.1.9 การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน พบวา กลุมประชากรสวนใหญไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียนบอยครั้ง จํานวน 42 คน คิดเปนรอยละ 41.6 รองลงมานาน ๆ ครั้ง จํานวน 28 คน คิดเปนรอยละ 27.7 เกือบทุกวัน จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 25.7 และไมเคยไดรับการอบรม จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 5.00 ดังแสดงในตารางท่ี 4.9 ตารางที่ 4.9 จํานวนและรอยละของประชากร เมื่อจําแนกตามการไดรับการอบรมสั่งสอนดาน

การจัดการขยะจากโรงเรียน การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจดัการขยะ จากโรงเรียน

จํานวน รอยละ

- นาน ๆ คร้ัง - บอยคร้ัง - เกอืบทกุวัน

28 42 26

27.7 41.6 25.7

Page 69: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

57

ตารางที่ 4.9 (ตอ) การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจดัการขยะ จากโรงเรียน

จํานวน รอยละ

- ไมเคยไดรับ 5 5.0 รวม 101 100

4.1.10 การอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ พบวา กลุมประชากรสวนใหญมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการอํานวยการดานการจัดการขยะของโรงเรียน อยูในระดับปานกลาง จํานวน 28 คิดเปนรอยละ 27.7 รองลงมาอยูในระดับดี จํานวน 24 คน คิดเปนรอยละ 23.8 ระดับพอใช จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 20.8 ควรปรับปรุง จํานวน 18 คน คิดเปนรอยละ 17.8 และระดับดีมาก จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 9.90 ดังแสดงในตารางท่ี 4.10 ตารางที่ 4.10 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตามการอํานวยความสะดวกดานการ

จัดการขยะของโรงเรียน การอํานวยความสะดวกดานการจดัการขยะ จํานวน รอยละ

- ดีมาก - ดี - ปานกลาง - พอใช - ควรปรับปรุง

10 24 28 21 18

9.90 23.8 27.7 20.8 17.8

รวม 101 100

Page 70: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

58

4.2 พฤติกรรมของนักเรียนในดานการจัดการขยะ

จากการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับ พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล จํานวน 101 คน จากคําถามทั้งหมด 10 ขอ เมื่อพิจารณาในภาพรวม พบวา พฤติกรรมในการจัดการขยะของกลุมประชากรอยูในระดับต่าํ โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.30 คิดเปนรอยละ 57.5 เม่ือนํามาพิจารณาเปนรายประเด็นแลว พบวา มีรายละเอยีดดังตอไปนี้

ขอความท่ี 1 กอนท้ิงขยะ ทานจะทําการคัดแยกประเภทขยะ ตามท่ีโรงเรียนมีการจัดประเภทของถังขยะไว พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับต่ํา โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.38 คิดเปนรอยละ 59.5

ขอความท่ี 2 ทานไดนําขวดน้ําพลาสติกท่ีผานการใชแลวนํากลับมาใชประโยชนไดอีก พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.42 คิดเปนรอยละ 60.5

ขอความท่ี 3 ทานเก็บถุงพลาสติกในโรงเรียนท่ียังใชงานไดอยูนํากลับมาใชอีก พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.26 คิดเปนรอยละ 56.5

ขอความท่ี 4 ทานใชกระติกน้ําแทนขวดน้ําพลาสติกทุกครั้งเม่ือไปโรงเรียน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.93 คิดเปนรอยละ 48.3

ขอความท่ี 5 ทานไดนํากระดาษหนังสือพิมพหรือกลองกระดาษท่ีเหลือภายในโรงเรียนนํามาเปนวัสดุตกแตงภายในหองเรียน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.89 คิดเปนรอยละ 47.3

ขอความท่ี 6 ทานไดเก็บถุงขนมขบเคี้ยว เปลือกลูกอม กลองโฟม เพ่ือนํามารีไซเคิลใหม พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.12 คิดเปนรอยละ 53.0

ขอความท่ี 7 ทานมีการท้ิงขยะลงในถังขยะทุกคร้ัง พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับสูงมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 คิดเปนรอยละ 91.5

Page 71: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

59

ขอความท่ี 8 ทานไดใชกลองขาวสําหรับม้ืออาหารท่ีโรงเรียนแทนการใชถวยพลาสติกหรือกลองโฟม พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับต่ํา มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.01 คิดเปนรอยละ 50.3

ขอความท่ี 9 ทานไดรวมมือกับเพ่ือนรวมชั้นเรียนในเรื่องการบําเพ็ญประโยชนโดยการเก็บขยะรอบ ๆ โรงเรียน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดบัตํ่า มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.83 คิดเปนรอยละ 45.8

ขอความท่ี 10 เม่ือทานเห็นเศษขยะประเภทถุงขนมขบเคี้ยว เปลือกลูกอม หรือแกวน้ําอัดลมในโรงเรียน ทานจะเก็บลงถังขยะทุกคร้ัง พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับสูง มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.54 คิดเปนรอยละ 63.5 ดังตารางท่ี 4.11

ตารางที่ 4.11 คาเฉลี่ย และคาเบ่ียงเบนมาตรฐานของประชากร เม่ือจําแนกตามพฤติกรรมการ

จัดการขยะ

พฤติกรรมการจัดการขยะ ขอความ ปฏิบัติ

ทุกครั้ง ปฏิบัติ

บอยคร้ัง ปฏิบัติ

บางครั้ง ไมเคย

ปฎิบัติเลย x S.D. พฤติกรรม

0.904 ระดับต่ํา 1. กอนทิ้งขยะ ทานจะทาํการคัดแยกประเภทขยะ ตามที่โรงเรียนมีการจัดประเภทของถังขยะไว

11 (10.9)

34 (33.7)

38 (37.6)

18 (17.8)

2.38 (59.5)

2. ทานไดนําขวดน้ําพลาสติกที่ผานการใชแลวนํากลับมาใชประโยชนไดอีก

9 (8.90)

39 (38.6)

38 (37.6)

15 (14.9)

2.42 (60.5)

0.852 ระดับต่ํา

3. ทานเก็บถุงพลาสติกในโรงเรียนที่ยังใชงานไดอยูนํากลับมาใชอีก

6 (5.90)

39 (38.6)

31 (30.7)

25 (24.8)

2.26 (56.5)

0.902 ระดับต่ํา

Page 72: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

60

ตารางที่ 4.11 (ตอ)

พฤติกรรมการจัดการขยะ

ขอความ ปฏิบัติ ทุกครั้ง

ปฏิบัติบอยคร้ัง

ปฏิบัติบางครั้ง

ไมเคย ปฎิบัติเลย

x S.D. พฤติกรรม

4. ทานใชกระติกน้ําแทนขวดพลาสติกทุกครั้งเม่ือไปโรงเรียน

5. ทานไดนํากระดาษหนังสือพิมพหรือกลองกระดาษที่เหลือภายในโรงเรียนนํามาเปนวัสดุตกแตงภายในหองเรียน

6. ทานไดเกบ็ถุงขนมขบเคี้ยว เปลือกลูกอมกลองโฟมเพื่อนาํมารีไซเคิลใหม

7. ทานมีการทิ้งขยะลงในถังขยะทุกครั้ง

8. ทานไดใชกลองขาวสําหรับม้ืออาหารที่โรงเรียนแทนการใชถวยพลาสติกหรือกลองโฟม

11 (10.9)

3

(3.00)

6 (5.90)

71 (70.3)

11 (10.9)

13 (10.9)

15

(14.9)

27 (26.7)

26 (25.7)

17 (16.8)

35 (34.7)

51

(50.5)

41 (40.6)

4 (4.00)

35 (34.7)

42 (41.6)

32

(31.7)

27 (26.7)

0 (0) 38

(37.6)

1.93 (48.3)

1.89 (47.3)

2.12

(53.0)

3.66

(91.5) 2.01

(50.3)

0.993

0.760

0.875

0.553

0.995

ระดับต่ํา

ระดับต่ํา

ระดับต่ํา

ระดับสูงมาก

ระดับต่ํา

9. ทานไดรวมมือกับเพื่อนรวมชั้นเรียนในเรื่องการบําเพ็ญประโยชนโดยการเก็บขยะรอบๆ โรงเรียน

3 (3.00)

22 (21.8)

31 (30.7)

45 (44.6)

1.83 (45.8)

0.873 ระดับต่ํา

Page 73: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

61

ตารางที่ 4.11 (ตอ)

พฤติกรรมการจัดการขยะ

ขอความ ปฏิบัติ ทุกครั้ง

ปฏิบัติบอยคร้ัง

ปฏิบัติบางครั้ง

ไมเคย ปฎิบัติเลย

x S.D. พฤติกรรม

10. เม่ือทานเห็นเศษขยะประเภทถุงขนมขบเคี้ยว เปลือกลูกอม หรือแกวน้ําอัดลมในโรงเรียน ทานจะเก็บลงถังขยะทุกคร้ัง

18 (17.8)

32 (31.7)

38 (37.6)

13 (12.9)

2.54 (63.5)

0.933 ระดับสูง

รวม 2.30 (57.5)

0.860

ระดับต่ํา

4.3 แนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

จากการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับแนวทางในการปรับปรุงดานจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทลล จํานวน 101 คน จากคําถามท้ังหมด 9 ขอ เม่ือพิจารณาในภาพรวม พบวา แนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะอยูในเกณฑท่ีควรปรับปรุงนอย โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 1.98 คิดเปนรอยละ 49.5 เมื่อนํามาพิจารณาเปนรายประเด็นแลว พบวา กลุมตัวอยางมีความคิดเห็นตอแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะ ดังนี้

ขอความท่ี 1 การจัดตําแหนงของถังขยะภายในอาคารเรียนและหองเรียน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นควรใหมีการปรับปรุงนอย โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 1.83 คิดเปนรอยละ 45.8

ขอความท่ี 2 จํานวนเจาหนาท่ีที่ดูแลเรื่องความสะอาดภายในโรงเรียน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นควรใหมีการปรับปรุงนอย โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.15 คิดเปนรอยละ 53.8

ขอความท่ี 3 จํานวนถังขยะในโรงเรียน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นควรใหมีการปรับปรุงนอย โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.26 คิดเปนรอยละ 56.5

Page 74: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

62

ขอความท่ี 4 ขนาดของถังขยะ พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นควรใหมีการปรับปรงุนอย

โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.10 คิดเปนรอยละ 52.5 ขอความท่ี 5 การแบงแยกประเภทและการทําสัญลักษณของถังขยะ พบวา กลุมตัวอยาง

สวนใหญเห็นควรใหมีการปรับปรุงมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.81 คิดเปนรอยละ 70.3 ขอความท่ี 6 การติดปายประกาศและคําอธิบายในเร่ืองของขยะรีไซเคิล พบวา กลุม

ตัวอยางสวนใหญเห็นควรใหมีการปรับปรุงมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.61คิดเปนรอยละ 65.3 ขอความท่ี 7 การบังคับใชกฎระเบียบ/ขอบังคับตางๆ ของโรงเรียนในเรื่องการคัดแยกและ

การท้ิงขยะลงถังของนักเรียน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นควรใหมีการปรับปรุงมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.83 คิดเปนรอยละ 70.8

ขอความท่ี 8 ความพรอมของวัสดุอุปกรณดานการจัดการขยะ พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นควรใหมีการปรับปรุงนอย โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.43 คิดเปนรอยละ 60.8

ขอความท่ี 9 การกําหนดนโยบายคณะผูบริหารในดานสงเสริมการจัดการขยะในโรงเรียน พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นควรปรับปรุงมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.93 คิดเปนรอยละ 73.3 ดังตารางท่ี 4.12

ตารางที่ 4.12 จํานวนและรอยละของประชากร เม่ือจําแนกตามแนวทางการปรับปรุงดานการ

จัดการขยะ

ความเห็นเกี่ยวกับแนวทางการ ขอความ

มากที่สุด มาก นอย นอยที่สุด

x S.D. ลําดับ

0.813

ควรปรับปรุงนอย

1. การจัดตําแหนงของถังขยะภายในอาคารเรียนและหองเรียน

4 (4.00)

14 (13.9)

44 (43.6)

39 (38.6)

1.83 (45.8)

2. จํานวนเจาหนาทีท่ี่ดูแลเรื่องความสะอาดภายในโรงเรียน

7 (6.90)

27 (26.7)

41 (40.6)

26 (25.7)

2.15 (53.8)

0.888

ควรปรับปรุงนอย

3. จํานวนถังขยะในโรงเรียน

5 (5.00)

34 (33.7)

44 (43.6)

18 (17.8)

2.26 (56.5)

0.808 ควรปรับปรุงนอย

Page 75: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

63

ตารางที่ 4.12 (ตอ)

ความเห็นเกี่ยวกับแนวทางการ ขอความ

มากที่สุด มาก นอย นอยที่สุด

x S.D. ลําดับ

4. ขนาดของถังขยะ

4 (4.00)

28 (27.7)

43 (42.6)

26 (25.7)

2.10 (52.5)

0.831 ควรปรับปรุงนอย

5. การแบงแยกประเภทและการทาํสัญลักษณของถังขยะ

22 (21.8)

49 (48.5)

19 (18.8)

11 (10.9)

2.81 (70.3)

0.902 ควรปรับปรุงมาก

6. การติดปายประกาศและคําอธิบายในเรื่องของขยะรีไซเคิล

17 (16.8)

35 (34.7)

42 (41.6)

7 (6.90)

2.61 (65.3)

0.848 ควรปรับปรุงมาก

7. การบังคับใชกฎระเบียบ/ขอบังคับตาง ๆ ของโรงเรียนในเรือ่งการคัดแยกและการทิ้งขยะลงถังของนักเรียน

22 (21.8)

50 (49.5)

19 (18.8)

10 (9.90)

2.83 (70.8)

0.884 ควรปรับปรุงมาก

8. ความพรอมของวัสดุอุปกรณดานการจัดการขยะ

14 (13.9)

37 (36.6)

28 (27.7)

22 (21.8)

2.43 (60.8)

0.983 ควรปรับปรุงนอย

9. การกําหนดนโยบายคณะผูบรหิารในดานสงเสริมการจัดการขยะในโรงเรียน

25 (24.8)

47 (46.5)

26 (25.7)

3 (3.00)

2.93 (73.3)

0.791 ควรปรับปรุงมาก

รวม 1.98 (49.5)

0.700 ควรปรับปรุงนอย

Page 76: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

64

4.4 การทดสอบสมมติฐาน

จากการศึกษาวิจัยเร่ือง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล สามารถทดสอบสมมติฐานได ดังนี้

4.4.1 สมมติฐานท่ี 1 ปจจัยสวนบุคคลดานเพศมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ

แตกตางกัน ผลการวิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล โดยใชคาสถิติ t – test เพ่ือทดสอบสมมติฐาน พบวา กลุมตัวอยางที่มีเพศแตกตางกัน มีพฤติกรรมดานการจัดการขยะไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ดังแสดงในตารางท่ี 4.13

ตารางที่ 4.13 คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบตัวแปรเพศกับพฤติกรรมดาน

การจัดการขยะ เพศ N คาเฉลี่ย Sd. t Sig.

(2 – tailed) ชาย 54 2.04 0.643 หญิง 47 1.89 0.598

1.15 0.251

*p ≤ 0.05

Page 77: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

65

4.4.2 สมมติฐานท่ี 2 ปจจัยสวนบุคคลดานระดับชั้นเรียนมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการ

จัดการขยะแตกตางกัน จากการวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ โดยจําแนกตามระดับชั้นเรียน

พบวา กลุมตัวอยางท่ีเรียนอยูชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 1.95) กลุมตัวอยางท่ีเรียนอยูชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยู ในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.00) และกลุมตัวอยางที่เรียนอยูชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 1.95) ดังตารางท่ี 4.14 และเม่ือวิเคราะหผลความแตกตางของคาเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล โดยใชคาสถิติ One – way ANOVA เพ่ือทดสอบสมมติฐาน พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีระดับชั้นเรียนแตกตางกัน มีพฤติกรรมดานการจัดการขยะไมแตกตางกันอยางมีนยัสาํคญัทางสถติิท่ีระดับ 0.05 ดังแสดงในตารางที่ 4.15

ตารางที่ 4.14 คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนก

ตามระดับชั้นเรียนปจจุบัน ระดับช้ันเรียนปจจุบัน N X Sd. ระดับ

มัธยมศึกษาปที่ 4 มัธยมศึกษาปที่ 5 มัธยมศึกษาปที่ 6

42 40 19

1.95 2.00 1.95

0.539 0.679 0.705

ต่ํา ต่ํา ต่ํา

ตารางที่ 4.15 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามระดับชั้นเรียนปจจุบัน แหลงความแปรปรวน df SS MS. F Sig.

(p – value) ระหวางกลุม 2 0.0590 0.0290 ภายในกลุม 98 38.8 0.3960

0.0740 0.929

รวม 100 38.9 *p ≤ 0.05

Page 78: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

66

4.4.3 สมมติฐานที่ 3 ปจจัยสวนบุคคลดานโปรแกรมมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการ

จัดการขยะแตกตางกัน จากการวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ โดยจําแนกตามโปรแกรม

พบวา กลุมตัวอยางท่ีเรียนโปรแกรมวิทย – คณิต มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 1.90) กลุมตัวอยางท่ีเรียนโปรแกรมศิลป – ภาษา มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.00) และกลุมตัวอยางที่เรียนโปรแกรมศิลป – คํานวณ มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.10) ดังตารางท่ี 4.16 และเมื่อวิเคราะหผลความแตกตางของคาเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล โดยใชคาสถิติ One – way ANOVA เพ่ือทดสอบสมมติฐาน พบวา กลุมตัวอยางท่ีเรียนโปรแกรมแตกตางกัน มีพฤติกรรมดานการจัดการขยะไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ดังแสดงในตารางที่ 4.17 ตารางที่ 4.16 คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนก

ตามโปรแกรม ระดับช้ันเรียนปจจุบัน N X Sd. ระดับ แผนวิทย – คณิต 49 1.90 0.653 ต่ํา แผนศลิป – ภาษา 31 2.00 0.683 ต่ํา แผนศลิป – คํานวณ 21 2.10 0.436 ต่ํา ตารางที่ 4.17 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามโปรแกรม แหลงความแปรปรวน df SS MS. F Sig.

(p – value) ระหวางกลุม 2 0.612 0.306 ภายในกลุม 98 38.3 0.391

0.782 0.460

รวม 100 38.9 *p ≤ 0.05

Page 79: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

67

4.4.4 สมมติฐานท่ี 4 ปจจัยสวนบุคคลดานสัญชาติมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการ

ขยะแตกตางกัน จากการวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ โดยจําแนกตามสัญชาติ พบวา

กลุมตัวอยางท่ีมีสัญชาติไทย มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับต่ํา (คาเฉลี่ยเทากับ 1.96) กลุมตัวอยางท่ีมีสัญชาติเกาหลี มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับต่ํา (คาเฉลี่ยเทากับ 1.89) กลุมตัวอยางท่ีมีสัญชาติจีน มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.10) และกลุมตัวอยางท่ีมีสัญชาติอินเดีย มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.33) ดังตารางท่ี 4.18 และเม่ือวิเคราะหผลความแตกตางของคาเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล โดยใชคาสถิติ One – way ANOVA เพ่ือทดสอบสมมติฐาน พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีสัญชาติแตกตางกัน มีพฤติกรรมดานการจัดการขยะไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังแสดงในตารางท่ี 4.19

ตารางที่ 4.18 คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนก

ตามสัญชาต ิ สัญชาติ N X Sd. ระดับ ไทย 69 1.96 0.0730 ต่ํา เกาหล ี 19 1.89 0.130 ต่ํา

จีน อินเดีย

10 3

2.10 2.33

0.233 0.667

ต่ํา ต่ํา

ตารางที่ 4.19 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามสัญชาติ แหลงความแปรปรวน df SS MS. F Sig.

(p – value) ระหวางกลุม 3 0.685 0.228 ภายในกลุม 97 38.2 0.394

0.580 0.630

Page 80: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

68

ตารางที่ 4.19 (ตอ) แหลงความแปรปรวน df SS MS. F Sig.

(p – value) รวม 100 38.9 *p ≤ 0 .05

4.4.5 สมมติฐานท่ี 5 ปจจัยสวนบุคคลดานภูมิลําเนามีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะแตกตางกัน

จากการวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ โดยจําแนกตามภูมิลําเนา พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับต่ํา (คาเฉลี่ยเทากับ 1.99) กลุมตัวอยางท่ีมีภูมิลําเนาอยูในภาคเหนือ มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.00) กลุมตัวอยางท่ีมีภูมิลําเนาอยูในภาคใต มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.00) และกลุมตัวอยางท่ีมีภูมิลําเนาอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 1.50) ดังตารางที่ 4.20 และเมื่อวิเคราะหผลความแตกตางของคาเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล โดยใชคาสถิติ One – way ANOVA เพ่ือทดสอบสมมติฐาน พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีภูมิลําเนาแตกตางกัน มีพฤติกรรมดานการจัดการขยะไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ดังแสดงในตารางท่ี 4.21 ตารางที่ 4.20 คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนก

ตามภูมิลําเนา

ภูมิลําเนา N X Sd. ระดับ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล 87 1.99 0.619 ตํ่า ภาคเหนอื 7 2.00 0.577 ตํ่า

ภาคใต ภาคตะวันออกเฉยีงเหนือ

3 4

2.00 1.50

1.00 0.577

ตํ่า ตํ่า

Page 81: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

69

ตารางที่ 4.21 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามภูมิลําเนา แหลงความแปรปรวน df SS MS. F Sig.

(p – value) ระหวางกลุม 9 0.922 0.307 ภายในกลุม 97 38.0 0.392

0.785 0.505

รวม 100 38.9 *p ≤ 0.05

4.4.6 สมมติฐานท่ี 6 ปจจัยสวนบุคคลดานสถานะการอยูอาศัย มีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะแตกตางกัน

จากการวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ โดยจําแนกตามสถานะการอยูอาศัย พบวา กลุมตัวอยางที่อาศัยอยูกับบิดาและมารดา มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดบัตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 1.94) กลุมตัวอยางท่ีอาศัยอยูกับบิดา หรือมารดา มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.10) และกลุมตัวอยางที่อาศัยอยูกับญาติ มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.00) ดังตารางท่ี 4.22 และเม่ือวิเคราะหผลความแตกตางของคาเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาตเิทรล็ล โดยใชคาสถิติ One – way ANOVA เพื่อทดสอบสมมติฐาน พบวา กลุมตัวอยางที่มีสถานะการอยูอาศัยแตกตางกัน มีพฤติกรรมดานการจัดการขยะไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทีร่ะดับ 0.05 ดังแสดงในตารางท่ี 4.23

ตารางที่ 4.22 คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนก

ตามสถานะการอยูอาศัย

สถานะการอยูอาศัย N X Sd. ระดับ อาศัยอยูกับบิดาและมารดา 79 1.94 0.647 ต่ํา อาศัยอยูกับบิดาหรอืมารดา 20 2.10 0.553 ต่ํา อาศัยอยูกับญาต ิ 2 2.00 0 ต่ํา

Page 82: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

70

ตารางที่ 4.23 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามสถานะการอยูอาศัย แหลงความแปรปรวน df SS MS. F Sig.

(p – value) ระหวางกลุม ภายในกลุม

รวม

2 98 100

0.427 38.5 38.9

0.214 0.393

0544

0.582

*p ≤ 0.05

4.4.7 สมมติฐานท่ี 7 ปจจัยสวนบุคคลดานรายไดครอบครัวมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ

จากการวิเคราะหเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ โดยจําแนกตามรายไดครอบครัวตอเดือน พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีรายไดครอบครัวนอยกวา 75,000 บาท มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับต่ํา (คาเฉลี่ยเทากับ 2.08) กลุมตัวอยางท่ีมีรายไดครอบครัว ระหวาง 75,001 – 150,000 บาท มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.00) กลุมตัวอยางท่ีมีรายไดครอบครัว ระหวาง 150,001 – 225,000 บาท มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 2.00) และกลุมตัวอยางที่มีรายไดครอบครัว มากกวา 225,000 บาท ขึ้นไป มีพฤติกรรมในการจัดการขยะอยูในระดับตํ่า (คาเฉลี่ยเทากับ 1.83) ดังตารางท่ี 4.24 และเม่ือวิเคราะหผลความแตกตางของคาเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล โดยใชคาสถิติ One – way ANOVA เพ่ือทดสอบสมมติฐาน พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีรายไดครอบครัวแตกตางกัน มีพฤติกรรมดานการจัดการขยะไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ดังแสดงในตารางท่ี 4.25

Page 83: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

71

ตารางที่ 4.24 คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนก

ตามรายไดครอบครัว รายไดครอบครัว N X Sd. ระดับ

นอยกวา 75,000 บาท ระหวาง 75,001 – 150,000 บาท ระหวาง 150,001 – 225,000 บาท

24 28 20

2.08 2.00 2.00

0.654 0.720 0.562

ต่ํา ต่ํา ต่ํา

มากกวา 225,000 บาท ขึ้นไป 29 1.83 0.539 ต่ํา ตารางที่ 4.25 การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานการจัดการขยะ จําแนกตามรายไดครอบครัว แหลงความแปรปรวน df SS MS. F Sig.

(p – value) ระหวางกลุม 3 0.940 3.13 ภายในกลุม 97 38.0 0.391

0.800 0.497

รวม 100 38.9 *p ≤ 0.05

4.4.8 สมมติฐานที่ 8 การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัวกับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ

จากการวิเคราะหระดับและทิศทางความสัมพันธระหวางการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัวมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ พบวา คาสัมประสิทธิส์หสมัพนัธ (r) เทากับ 0.118 หมายความวา การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัวไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมดานการจัดการขยะอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ดังแสดงในตารางท่ี 4.26

Page 84: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

72

ตารางที่ 4.26 ความสัมพันธระหวางการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว กับระดับ

พฤติกรรมดานการจัดการขยะ ตัวแปรอิสระ (N = 101) คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) พฤตกิรรมการจัดการขยะ 0.118

4.4.9 สมมติฐานท่ี 9 การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน มีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ

จากการวิเคราะหระดับและทิศทางความสัมพันธระหวางการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียนมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.0950 หมายความวา การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมดานการจัดการขยะอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ดังแสดงในตารางท่ี 4.27

ตารางที่ 4.27 ความสัมพันธระหวางการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน กับระดับ

พฤติกรรมดานการจัดการขยะ ตัวแปรอิสระ (N = 101) คาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ (r) พฤตกิรรมการจัดการขยะ 0.0950

4.4.10 สมมุติฐานท่ี 10 การอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ กับระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ

จากการวิเคราะหระดับและทิศทางความสัมพันธระหวางการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ มีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.0980 หมายความวา การอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมดานการจัดการขยะอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังแสดงในตารางท่ี 4.28

Page 85: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

73

ตารางที่ 4.28 ความสัมพันธระหวางการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ กับพฤติกรรมดาน

การจัดการขยะ ตัวแปรอิสระ (N = 101) คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) พฤตกิรรมการจัดการขยะ 0.0980

Page 86: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

จากการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลนี้ เพราะเปนท่ีทราบกันดีอยูแลววาปญหาสิ่งแวดลอมนับวันยิ่งทวีความรุนแรง สาเหตุสําคัญของปญหามาจากการกระทําของมนุษยท้ังสิ้น จากอดีตจนถึงปจจุบัน ทั้งภาครัฐและเอกชนไดพยายามรณรงคและหาวิธีการตาง ๆ มากมายเพ่ือจะใหประชาชนเกิดจิตสํานึก และรวมกันคัดแยกขยะอยางถูกตอง แตยังไมประสบผลสําเร็จ ดังนั้น การแกไขปญหาขยะจะตองสรางจิตสํานึก เร่ิมปลูกฝงต้ังแตวัยเด็ก ซึ่งในสวนนี้โรงเรียนเปนสถาบันการศึกษาท่ีมบีทบาทสาํคญัในการสรางจิตสํานึกใหเกิดขึ้นในตัวเด็ก โดยเด็กในชวงมัธยมศึกษา จะมีลักษณะพัฒนาการทางสติปญญาที่เพ่ิมขึ้น มีความกาวหนาทางดานความคิด ความเขาใจ และการหาเหตุผล เพื่อมาอธิบายสิ่งตาง ๆ ใหถูกตองมากขึ้น ดังนั้น การแกไขปญหาขยะ จึงควรเกิดจากการจัดกระบวนการเรียนรู ท่ีสามารถสรางใหเด็กมีความเขาใจถึงสภาพปญหาของขยะท่ีเกิดขึ้น และโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ซึ่งเปนโรงเรียนขนาดกลางมีการจัดการศึกษาในระบบโดยใชหลักสูตรตางประเทศ ที่ปรับรายละเอียดเนื้อหาวิชาใหมหรือหลักสูตรท่ีจัดทําขึ้นเอง ที่ไมใชหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ใชภาษาตางประเทศเปนสื่อในการเรียนการสอนใหกับนักเรียน มีการจัดการเรียนการสอนจากระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับมัธยมศึกษา และยังเปนสถานศึกษาที่ใหความสนใจในเร่ืองของปญหาการจัดการขยะในโรงเรียน จึงทําใหผูศึกษาเล็งเห็นความสําคัญของการจัดการขยะภายในโรงเรียน โดยเนนในเรื่องพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เนื่องจากผูศึกษาเห็นวาภายในโรงเรียนมีการจัดการขยะที่ยังขาดระบบการจัดการท่ีเปนรูปธรรมท่ีเหมาะสม ประกอบกับขอจํากัดทางดานตาง ๆ จึงนําไปสูพฤติกรรมการท้ิงขยะของนักเรียนท่ีแตกตางกันออกไป สภาพปญหาดังกลาวขางตนเปนสิ่งท่ียังรอการแกไขปรับปรุง เพ่ือใหเกิดการจัดการขยะท่ีเกิดขึ้นภายในโรงเรียนเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ในสวนของการศึกษานี้ มีวัตถุประสงคของการศึกษา 4 ประการ คือ 1. เพ่ือศึกษาปจจัยสวนบุคคลในดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอน

ปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 2. เพ่ือศึกษาพฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

โรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

Page 87: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

75

3. เพ่ือศึกษาปจจัยสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียน

มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล 4. เพ่ือศึกษาแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติ

เทร็ลล ขอบเขตของตัวแปรในการศึกษาไดมุงเนน พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล เขตรามคําแหง จังหวัดกรุงเทพมหานคร ขอบเขตของประชากรประกอบดวย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 – 6 ท้ังชายและหญิง ซึ่งกําลังศึกษาอยูในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2555 จํานวน 101 คน

การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเชิงปริมาณ เครื่องมือท่ีใชเก็บขอมูลเปนแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยมุงเนนการศึกษา พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล ขอมูลท่ีไดจากแบบสอบถาม ไดนํามาวิเคราะหดวยโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร โดยใชสถิติพรรณนา คือ คารอยละ (Percentage) คาความถี่ (Frequency) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพ่ืออธิบายเชิงพรรณนาขอมูลดานปจจัยสวนบุคคลและพฤติกรรม ในสวนของสถิติอนุมาน ไดแก การวิเคราะหความแตกตางของคาเฉลี่ย (t – test) การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (F – test: One – way Analysis of Variance) และการวัดขนาดและทิศทางความสัมพันธดวยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน (Pearson’s Correlation Coefficient; r) ซึ่งสรุปผลการศึกษาได ดังนี้ 5 5.1 สรุปผลการศึกษา

5.1.1 ปจจัยสวนบุคคลในดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล กลุมประชากร จํานวน 101 คน จากการศึกษา พบวา กลุมประชากรสวนใหญเปนเพศชาย (คิดเปนรอยละ 53.5) อยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 (คิดเปนรอยละ 41.6) แผนวิทย – คณิต (คิดเปนรอยละ 48.5) สัญชาติไทย (คิดเปนรอยละ 68.3) มีภูมิลําเนาอยูในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (คิดเปนรอยละ 86.1) อาศัยอยูกับบิดาและมารดา (คิดเปนรอยละ 78.2) มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนมากกวา 225,000 บาทขึ้นไป (คิดเปนรอยละ 28.7) สวนการไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัวนาน ๆ ครั้ง (คิดเปนรอยละ 39.6) ไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการ

Page 88: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

76

ขยะจากโรงเรียนบอยคร้ัง (คิดเปนรอยละ 41.6) และมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการอํานวยการดานการจัดการขยะของโรงเรียนสวนใหญ อยูในระดับปานกลาง (คิดเปนรอยละ 27.7)

5.1.2 พฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล กลุมประชากร จํานวน 101 คน พบวา พฤติกรรมในการจัดการขยะของกลุมประชากรอยูในระดับตํ่า โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.30 คิดเปนรอยละ 57.5 โดยเม่ือพิจารณาเปนรายขอแลว พบวา กลุมตัวอยางท่ีมีพฤติกรรมในการจัดการขยะต่ํา อยูในขอความท่ี 1 กอนท้ิงขยะ ทานจะทําการคัดแยกประเภทขยะ ตามท่ีโรงเรียนมีการจัดประเภทของถังขยะไว ขอความท่ี 2 ทานไดนําขวดน้ําพลาสตกิท่ีผานการใชแลวนํากลับมาใชประโยชนไดอีก ขอความที่ 3 ทานเก็บถุงพลาสติกในโรงเรียนท่ียังใชงานไดอยูนํากลับมาใชอีก ขอความที่ 4 ทานใชกระติกน้ําแทนขวดน้ําพลาสติกทุกคร้ังเม่ือไปโรงเรียน ขอความท่ี 5 ทานไดนํากระดาษหนังสือพิมพหรือกลองกระดาษที่เหลือภายในโรงเรียนนํามาเปนวัสดุตกแตงภายในหองเรียน ขอความท่ี 6 ทานไดเก็บถุงขนมขบเคี้ยว เปลือกลูกอม กลองโฟมเพื่อนํามารีไซเคิลใหม ขอความท่ี 8 ทานไดใชกลองขาวสําหรับมื้ออาหารท่ีโรงเรียนแทนการใชถวยพลาสติกหรือกลองโฟม ซึ่งเม่ือพิจารณาแลวพบวาขอความเหลานี้ลวนอยูในสวนของการนาํขยะกลับมาใชใหมท้ังสิ้น สวนขอความท่ี 9 ทานไดรวมมือกับเพ่ือนรวมชั้นเรียนในเรื่องการบําเพ็ญประโยชนโดยการเก็บขยะรอบ ๆ โรงเรียน ซึ่งแสดงใหเห็นวานักเรียนยังขาดการมีสวนรวมในการจัดการขยะ สวนกลุมประชากรที่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะสูง อยูในขอความท่ี 7 ทานมีการทิ้งขยะลงในถังขยะทุกครั้ง และขอความที่ 10 เม่ือทานเห็นเศษขยะประเภทถุงขนมขบเคี้ยว เปลือกลูกอม หรือแกวน้ําอัดลมในโรงเรียน ทานจะเก็บลงถังขยะทุกครั้ง แสดงใหเห็นวานักเรียนกลุมประชากรมีจิตสํานึกในการจัดการขยะอยูบาง

5.1.3 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน สมมุติฐานท่ี 1 ปจจัยสวนบุคคลดานเพศมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะท่ีแตกตางกัน

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา เพศท่ีแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะท่ีแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานท่ี 1

สมมุติฐานท่ี 2 ปจจัยสวนบุคคลดานระดับชั้นเรียนมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ

Page 89: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

77

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ระดับชั้นเรียนท่ีแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมดานการ

จัดการขยะที่แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ 2

สมมุติฐานท่ี 3 ปจจัยสวนบุคคลดานโปรแกรมมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา โปรแกรมที่แตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมดานการ

จัดการขยะที่แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ 3 สมมุติฐานท่ี 4 ปจจัยสวนบุคคลดานสัญชาติมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา สัญชาติท่ีแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะท่ีแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานท่ี 4

สมมุติฐานท่ี 5 ปจจัยสวนบุคคลดานภูมิลําเนามีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา ภูมิลําเนาท่ีแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะที่แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ 5 สมมุติฐานท่ี 6 ปจจัยสวนบุคคลดานสถานะการอยูอาศัยมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา สถานะการอยูอาศัยท่ีแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะท่ีแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานท่ี 6 สมมุติฐานท่ี 7 ปจจัยสวนบุคคลดานรายไดครอบครัวตอเดือนมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา รายไดครอบครัวที่แตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะที่แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานท่ี 7

สมมุติฐานท่ี 8 การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัวมีผลตอระดบัพฤติกรรมดานการจัดการขยะ

Page 90: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

78

ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัวท่ีแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะท่ีแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานท่ี 8 สมมุติฐานท่ี 9 การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียนมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียนท่ีแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะท่ีแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานท่ี 9 สมมุติฐานท่ี 10 การอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะมีผลตอระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา การอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะไมมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะท่ีแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมติฐานท่ี 10 จากผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อหาความสัมพันธของตัวแปรอิสระและตัวแปรตามสามารถสรุปไดดังตารางท่ี 5.1 ตารางที่ 5.1 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน

ผลการทดสอบ สมมติฐาน ม ี

ความสัมพันธกัน ไมมี

ความสัมพันธกัน 1. เพศกับระดับพฤตกิรรมดานการจัดการขยะ / 2. ระดับชั้นเรียนกับระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ / 3. โปรแกรมกับระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ / 4. สัญชาติกับระดับพฤตกิรรมดานการจัดการขยะ /

Page 91: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

79

ตารางที่ 5.1 (ตอ)

ผลการทดสอบ สมมติฐาน ม ี

ความสัมพันธกัน ไมมี

ความสัมพันธกัน 5. ภูมิลําเนากับระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ 6. สถานะการอยูอาศัยกับระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ 7. รายไดครอบครัวกับระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ 8. การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัวกับ

ระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ 9. การอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียนกับระดับ

พฤติกรรมดานการจัดการขยะ

/ / / / /

10. การอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะกับระดับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ

/

5.1.4 แนวทางในการปรับปรุงการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล พบวา

แนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะอยูในระดับที่ควรปรับปรุงนอย โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 1.98 คิดเปนรอยละ 49.5 โดยเม่ือพิจารณาเปนรายขอแลวพบวา กลุมตัวอยางท่ีมีความคิดเห็นตอแนวทางการปรับปรุงดานจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลอยูในระดับที่ควรปรับปรุงนอย อยูในขอความท่ี 1 การจัดตําแหนงของถังขยะภายในอาคารเรียนและหองเรียน ขอความท่ี 2 จํานวนเจาหนาท่ีท่ีดูแลเร่ืองความสะอาดภายในโรงเรียน ขอความท่ี 3 จํานวนถังขยะในโรงเรียน ขอความท่ี 4 ขนาดของถังขยะ ขอความท่ี 6 การติดปายประกาศและคําอธิบายในเรื่องของขยะรีไซเคลิ ขอความท่ี 8 ความพรอมของวัสดุอุปกรณดานการจัดการขยะ ซึ่งแสดงใหเห็นวาโรงเรียนมีการเตรียมการรองรับขยะและบุคลากรในการจัดการขยะท่ีเหมาะสม สวนในเรื่องของความคิดเห็นตอแนวทางการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลอยูในระดับท่ีควรปรับปรุงมาก อยูในขอขอความที่ 5 การแบงแยกประเภทและการทําสัญลักษณของถังขยะ ในสวนนี้แสดงใหเห็นวานักเรียนตองการใหมีการทําสัญลักษณของถังขยะเพ่ือกอใหเกิดการคัดแยกขยะใหถูกประเภท และเหมาะสม สวนในขอความท่ี 7 การบังคับใชกฎระเบียบ/ขอบังคับตาง ๆ ของโรงเรยีนในเรือ่งการคดัแยกและการท้ิงขยะลงถังของนักเรียน และขอความท่ี 9 การกําหนดนโยบายของคณะผูบริหารใน

Page 92: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

80

ดานสงเสริมการจัดการขยะในโรงเรียน เปนเร่ืองของผูบริหารท่ีควรจะกําหนดนโยบายและแนวทางในการจัดการขยะของโรงเรียนใหเปนกฎระเบียบหรือขอบังคับขึ้นมา เพ่ือที่จะเปนแนวทางใหผูปฎิบัติสามารถปฏิบัติไดงายและชัดเจน 5.2 อภิปรายผลการศึกษา

จากการศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล มีประเด็นท่ีนํามาอภิปราย ดังนี ้

5.2.1 จากขอคนพบในเรื่องของพฤติกรรมในการจัดการขยะของนักเรียนระดับมธัยมศกึษา

ตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล และแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล มีความสอดคลองกัน เนื่องจากพฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล พบวา พฤติกรรมในการจัดการขยะของกลุมประชากรอยูในระดับต่ํา โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.30 คิดเปนรอยละ 57.5 โดยเมื่อพิจารณาเปนรายขอแลว พบวา พฤติกรรมในการจัดการขยะของนักเรียนท่ีอยูในระดับตํ่าสวนใหญเปนเร่ืองของการนําขยะกลับมาใชใหมท้ังสิ้น สอดคลองกับความคิดเห็นตอแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียน ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นวามีเกณฑท่ีควรปรับปรุงอยูในระดับนอย ในเร่ืองของการติดปายประกาศและคําอธิบายในเร่ืองของขยะรีไซเคิล แสดงใหเห็นวาโรงเรียนใหความสําคัญในเรื่องของการนําขยะนํากลับมาใชใหม แตนักเรียนยังขาดแรงจูงใจในการปฏิบัติ ซึ่งสอดคลองในเรื่องของแนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียน ซึ่งนักเรียนมีความคิดเห็นวาควรมีการปรับปรุงอยูในระดับมาก คือ ในเร่ืองของการบังคับใชกฎระเบียบ/ขอบังคับตาง ๆ ของโรงเรียนในเรื่องการคัดแยกและการท้ิงขยะลงถังของนักเรียน และการกําหนดนโยบายของคณะผูบริหารในดานสงเสริมการจัดการขยะในโรงเรียน ในสวนนี้ผูศึกษาคิดเห็นวาควรกําหนดนโยบายและสรางแรงจูงใจในเร่ืองการของการนําขยะกลับมาใชใหมเพ่ือกอใหเกิดพฤติกรรมในการจัดการขยะของนักเรียนใหอยูในเกณฑท่ีดี

Page 93: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

81

5.2.2 ปจจัยสวนบุคคลท่ีมีผลตอพฤติกรรมดานการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษา

ตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล จากการทดสอบสมมติฐาน พบวา นักเรียนที่มีเพศแตกตางกัน มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะไมแตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 หมายความวา เพศท่ีแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะ ท้ังนี้เนื่องจากกลุมประชากรสวนใหญไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียนบอยคร้ัง (คิดเปนรอยละ 41.6) ซึ่งในการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะ อาจารยผูสอนไมไดมีการแยกเพศ นักเรียนจึงไดมีโอกาสในการรวมคิด รวมตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ อยางเทาเทียมกัน ถึงแมนักเรียนสวนใหญจะเปนเพศชาย (คิดเปนรอยละ 53.5) จึงทําใหเพศท่ีแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ วลัยพร สกุลทอง (2550: บทคัดยอ) ท่ีไดศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง และเพื่อเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง ผลการศึกษา พบวา พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยองโดยรวม มีพฤติกรรมการจัดการขยะอยูในระดับมาก สวนผลการเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการกําจัดขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง พบวา เพศท่ีตางกันมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 เชนเดียวกับการศึกษาของ ฐิติรัตน ธิติภมรรัตน (2551: บทคัดยอ) ที่ไดศึกษาเร่ืองพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยศึกษาจากกลุมตัวอยางจํานวน 400 คน โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ผลการศกึษา พบวา พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยรวมอยูในเกณฑคอนขางดี และรายดานท้ัง 3 ดาน อยูในเกณฑคอนขางดี ดานท่ีมีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ดานการลดการเกิดขยะ ผลการเปรียบเทียบความแตกตางของพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี พบวา เพศ ท่ีแตกตางกันมีพฤติกรรมการจัดการขยะไมแตกตางกันท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05 รวมท้ังของ ศุภกร ทิมจรัส (2548: บทคัดยอ) ที่ไดทําการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะในครัวเรือนของประชาชนเขตจตุจักร กรงุเทพมหานคร จากการทดสอบสมมติฐาน พบวา เพศ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมในการจัดการขยะในครัวเรือน และมยุรี คงแถลง (2551: 77 – 78) ท่ีไดทําการศึกษาพฤติกรรมการคัดแยกขยะของ

Page 94: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

82

พนักงานโรงพยาบาลเกษมราษฎรสุขาภิบาล 3 ซึ่งพบวา การรับรูขาวสาร ความรูความเขาใจเกีย่วกบัการคัดแยกขยะ ทัศนคติเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ อยูในระดับสูง และมีพฤติกรรมการคัดแยกขยะ อยูในระดับปานกลาง และผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา เพศ คือปจจัยท่ีไมมีผลตอพฤติกรรมการคัดแยกขยะ แตไมสอดคลองกับการศึกษาของสุวรรณี ยุวชาติ (2532: บทคัดยอ) ท่ีไดทาํการศกึษาเรื่อง พฤติกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอมของนักเรียนอาชีวศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษา พบวา นักเรียนสวนใหญมีพฤติกรรมในการอนุรักษสิ่งแวดลอมในระดับปานกลาง ระดับพฤติกรรมในการอนุรักษสิ่งแวดลอมของนักเรียนขึ้นอยูกับเพศรวมทั้งไมสอดคลองกับการศึกษาของเสาวนิตย มงคลสกุณี (2545: 47) ท่ีไดทําการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา พบวา นักเรียนท่ีมีเพศท่ีตางกัน มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะท่ีแตกตางกันท่ีระดับนัยสําคัญ 0.05

สวนระดับชั้นเรียนและโปรแกรมวิชาแตกตางกันมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ท้ังนี้เนื่องจากโรงเรียนนานาชาติเทร็ลลเปนสถานศึกษาที่ใหความสนใจในเร่ืองของปญหาการจัดการขยะในโรงเรียน ซึ่งกลุมประชากรไดรับการอบรมและสั่งสอนจากอาจารยในสถานศึกษาซึ่งมีมาตรฐานเดียวกันในการเรียน การสอน และกลุมประชากรอยูในชวงของมัธยมศึกษาตอนปลายท้ังหมด ถึงแมจะอยูกันคนละแผนการเรียนการสอน แตเนื้อหาการเรียนการสอนก็เปนไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น พฤติกรรมการจัดการขยะจึงไมแตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ วลัยพร สกุลทอง (2550: บทคัดยอ) ท่ีไดศึกษาเร่ืองพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง ท่ีพบวา ระดับการศึกษาตางกันมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญท่ีระดับ 0.05 เชนเดียวกับการศึกษาของปาจรีย หละตํา (2550: บทคัดยอ) ท่ีไดทําการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของครอบครัวริมทะเลสาบสงขลา เทศบาล ตําบลสิงหนคร จังหวัดสงขลา ผลการศึกษา พบวา ระดับการศึกษา ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการจัดการขยะของครอบครัวในชุมชนริมทะเลสาบสงขลา รวมท้ังการศึกษาของ มยุรี คงแถลง (2551: 72-78) ท่ีไดทําการศึกษาพฤติกรรมการคัดแยกขยะของพนักงานโรงพยาบาลเกษมราษฎรสุขาภิบาล 3 ซึ่งพบวา ปจจัยท่ีไมมีผลตอพฤติกรรมการคัดแยกขยะ คือ ระดับการศึกษา แตไมสอดคลองกับการศึกษาของ สมเพียร ตั้งบริบูรณรัตน (2546: 69) ที่ศึกษาเร่ือง ความตระหนักเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีสะอาดของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษา พบวา ระดับชั้นการเรียนที่แตกตางกัน มีอิทธิพลตอความตระหนักเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีสะอาดของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายระดับสูง

Page 95: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

83

สัญชาติ ภูมิลําเนา และสถานะการอยูอาศัยแตกตางกัน มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการจัดการ

ขยะไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ทั้งนี้ เนื่องจากนักเรียนมีสัญชาติ และภูมิลําเนาท่ีตางกันนั้น ไดเขามาพักอาศัยอยูในบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเพ่ือมาศึกษาเลาเรียน จึงมีพฤติกรรมท่ีไมแตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับงานของ วรรณา ลิ่มพาณิชย (2538: 18) ซึ่งพบวา สัญชาติไมมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะ ท้ังนี้เนื่องจากการจัดการขยะขึ้นอยูกับจิตสํานึกของแตละบุคคล และสอดคลองกับการศึกษาของ เสาวนิตย มงคลสกุณี (2545: 47) ท่ีไดทําการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งในงานการศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา พบวา นักเรียนท่ีมีภูมิลําเนาแตกตางกัน ไมมีผลตอพฤติกรรมการคัดแยกขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 แตไมสอดคลองกับการศึกษาของ Dyar (1976: 110 – 111) ท่ีไดศกึษาทัศนคติและพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมของนักเรียนเกรด 7 ซึ่งแตกตางกันในดานภูมิลําเนา (เขตเมือง เขตชานเมือง และเขตชนบท) ผลการศึกษาพบวา เด็กท่ีอยูในเขตชนบทมีความหวงกังวลตอปญหาสิ่งแวดลอมมากท่ีสุด สวนเด็กท่ีอยูในเขตเมืองมีความหวงกังวลตอปญหาสิง่แวดลอมนอยท่ีสุด และไมสอดคลองกับการศึกษาของ Zacher (1975: 4883) ท่ีไดศึกษาปจจัยท่ีมผีลตอความรูดานสิ่งแวดลอมของนักเรียนชั้นป ที่ 11 ในรัฐมอนตานา ผลการวิจัย พบวา ภูมิลําเนาของนักเรียน เปนปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะ สวนเรื่องสถานะการอยูอาศัยแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะ ทั้งนี้เนื่องจาก บิดาและมารดาตองออกไปทํางานนอกบาน จึงไมมีเวลาอบรมและสั่งสอนในเร่ืองของการจัดการขยะ ซึ่งดูจากในเรื่องของการไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว พบวา กลุมประชากรสวนใหญไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัวนาน ๆ ครั้ง คิดเปนรอยละ 39.6 และสอดคลองกับงานของ เสาวนิตย มงคลสกุณี (2545: 47) ท่ีไดทําการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศกึษาปท่ี 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งในงานการศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา พบวา สถานะการอยูอาศัยไมมีผลตอพฤติกรรมการคัดแยกขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

Page 96: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

84

รายไดครอบครัวแตกตางกัน มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการจัดการขยะไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หมายความวา การที่แตละบุคคลมีรายไดที่ตางกัน ยอมทําใหความสามารถในการจับจายใชสอยแตกตางกัน รวมท้ังเปนตัวชี้ใหเห็นวาบุคคลที่มีรายไดตางกันจะมีสภาพความเปนอยูท่ีแตกตางกันดวย ซึ่งสงผลตอการดํารงชีวิตท่ีตางกัน แตเนื่องจากรายไดเฉลี่ยตอเดือนของกลุมประชากรอยูท่ีประมาณ 169,589 บาท ซึ่งมีศักยภาพจัดหาอุปกรณในการจัดการขยะไดดี แตอาจจะเนื่องดวยความเคยชิน ความมักงาย ความกระตือรือรน และความเรงรีบในชีวิตประจําวันของแตละคน ดังนั้น จึงทําใหรายไดท่ีแตกตางกันไมมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะ ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ ปาจรีย หละตํา (2550: บทคัดยอ) ท่ีไดทําการศึกษาเร่ือง พฤติกรรมการจัดการขยะของครอบครัวริมทะเลสาบสงขลา เทศบาลตําบลสิงหนคร จังหวัดสงขลา พบวา ระดับรายไดไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการจัดการขยะของครอบครัวในชุมชนริมทะเลสาบสงขลา เชนเดียวกับ วลัยพร สกุลทอง (2550: บทคัดยอ) ท่ีไดศึกษาเรื่องไดศึกษาเร่ืองพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง รวมท้ังของ ฐิติรัตน ธิติภมรรัตน (2551: บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่องพฤติกรรมการจัดการมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ท่ีพบวา รายไดในครัวเรือนท่ีแตกตางกันมีพฤติกรรมการจัดการขยะไมแตกตางกัน แตไมสอดคลองกับการศึกษาของ ฐิตินัน งามสงวน (2548: 25) ท่ีไดทําการศึกษาเร่ืองพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเจาพระยาสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยพบวากลุมตัวอยางท่ีมีรายไดมากจะมีพฤติกรรมการจัดการขยะดีกวากลุมท่ีมีรายไดนอย

จากการวิเคราะหระดับและทิศทางความสัมพันธระหวางการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ( r) เทากับ 0.118 ระดับและทิศทางความสัมพันธระหวางการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.095 และระดับและทิศทางความสัมพันธระหวางการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) เทากับ 0.098 หมายความวาตัวแปรทั้ง 3 ดาน ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมดานการจัดการขยะอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่ีระดับ 0.05 แสดงใหเห็นวา ถึงแมนักเรียนจะไดรับการอบรมสั่งสอนในเรื่องของการจัดการขยะท้ังจากครอบครัวและโรงเรียน หากนักเรียนกลุมตัวอยางไมไดใหความสนใจ หรือใสใจนํามาปฏิบัติใช ก็ทําใหไมกอใหเกิดเปนพฤติกรรมการจัดการขยะได ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ วันชนะ บุญชัง (2542: 82) ท่ีไดทําการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการท้ิงขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี

Page 97: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

85

พบวา การอบรมเลี้ยงดูแบบตาง ๆ ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการท้ิงขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี แตขัดแยงกับงานวิจัยของ เสาวนิตย มงคลสกุณี (2545: 47) ท่ีไดทําการศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งในงานการศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา พบวา นักเรียนท่ีไดการอบรมดานจัดการขยะจากครอบครัวท่ีตางกัน มีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะท่ีแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 สวนการศึกษาของ Johnston (1974: 4911 – 4912) ท่ีไดศึกษาเกี่ยวกับ การใหความรูและการอบรมดานการจัดการขยะจากโรงเรียน พบวา อาจารยควรมีบทบาทในการเปนผูใหความรูแกนักเรียนในโรงเรียนในเรื่องการรักษาสภาพแวดลอมและการจัดการขยะ เพ่ือใหพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนเปนไปอยางถูกตองและเหมาะสม ท้ังนี้ แมนักเรยีนจะไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียนแลวก็ตาม แตถาหากนักเรียนไมนําไปปฏิบัติ ก็จะไมกอใหเกิดพฤติกรรมการจัดการขยะท่ีดีได ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ สุวรรณี ยุวชาติ (2532: บทคัดยอ) ท่ีไดศึกษาทําการศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษสิ่งแวดลอม ของนักเรียนอาชีวศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา ในกรุงเทพมหานคร พบวา นักเรียนสวนใหญมีพฤติกรรมในการอนุรักษสิ่งแวดลอมในระดับปานกลาง ระดับพฤติกรรมในการอนุรักษสิ่งแวดลอมของนักเรียนไมข้ึนอยูกับการอบรมจากสถาบันการศึกษาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 แตไมสอดคลองกบัการศึกษาของ Burchett (1972: 4439) ท่ีพบวา การอบรมสั่งสอนของอาจารยมีอิทธิพลตอพฤติกรรมในดานการจัดการขยะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 4, 5 และ 6 ในทิศทางบวก และรวมท้ังไมสอดคลองกับการศึกษาของ สินีนุช มวงกล่ํา (2544: 45) ท่ีพบวา การไดรับการอบรมสั่งสอนจากโรงเรียน มีความสัมพันธเชิงบวกกับพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟาของนักเรียน สวนในเรื่องการอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมดานการจัดการขยะ สอดคลองกับการศึกษาของ วรรณา ลิ่มพาณิชย (2538: 18) ท่ีศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชน ศึกษาเฉพาะกรณีเมืองพัทยา พบวา การอํานวย ความสะดวกดานการจัดการขยะไมมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนเมืองพัทยา เชนกัน 5.3 ขอเสนอแนะ

5.3.1 ขอเสนอแนะท่ัวไป 5.3.1.1 ผูบริหารและผู ท่ีเกี่ยวของควรมีแผนการจัดทํานโยบาย และปรับปรุง

หลกัสูตรเกี่ยวกับการจัดการขยะ เพ่ือสรางเจตคติ ท่ีดีตอพฤติกรรมการจัดการขยะ

Page 98: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

86

5.3.1.2 ผูบริหารและผูท่ีเกี่ยวของควรใหความสําคัญเกี่ยวกับการจัดการกิจกรรมใน

ชั้นเรียนในเรื่องของการจัดการขยะ เพ่ือใหนักเรียนไดมีสวนรวมคิด รวมลงมือปฏิบัติ เนื่องจากผลการศึกษา ในสวนของความรวมมือกับเพ่ือนรวมชั้นเรียนในเรื่องการบําเพ็ญประโยชนโดยการเก็บขยะรอบ ๆ โรงเรียน อยูในระดับต่ํา ควรมีกิจกรรมโครงการสิ่งแวดลอมในโรงเรียน เพ่ือสรางแรงจูงใจใหกับนักเรียนในเรื่องของการจัดการขยะ เชน ใบประกาศ เนื่องจากนักเรียนยังขาดแรงจูงใจการการทํากิจกรรม

5.3.2 ขอเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไป 5.3.2.1 ควรมีการศึกษาวิจัยพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนโดยใชวิธีการอื่น

เชน การวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลพฤติกรรมของนักเรียนโดยวิธีสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ซึ่งอาจใหผลการศึกษาท่ีแสดงถึงพฤติกรรมท่ีเปนปญหายิ่งขึ้น

5.3.2.2 ควรศึกษาวิจัยพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนเปรียบเทียบระหวางโรงเรียนเอกชน และโรงเรียนรัฐบาลดวย เนื่องจากมีปจจัยท่ีแตกตางกันมาก

5.3.2.3 ควรศึกษาพฤติกรรมการคัดแยกขยะ โดยมีการศึกษาเปรียบเทียบ หรือใชกลุมประชากรท่ีมีความหลากหลาย เพ่ือทราบถึงพฤติกรรมการคัดแยกขยะในรูปแบบตาง ๆ

Page 99: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

บรรณานุกรม กชกร บุญสิทธิ์. 2549. ปจจัยท่ีมีผลตอความรูความเขาใจในคูมือแนวทางการประเมินผลกระทบ

ตอสุขภาพอนามัยของนิติบุคคลผูมีสิทธ์ิทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบส่ิงแวดลอมเพื่อนําไปสูแนวทางปฏิบัติ. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑติ สถาบันพัฒนบริหารศาสตร.

กรมควบคุมมลพิษ. 2542. มลพิษอื่นและของเสียอันตราย คูมือกฎหมายส่ิงแวดลอมสําหรับประชาชน. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม.

กรมควบคุมมลพิษ. 2553. ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดข้ึนในป พ.ศ. 2551 – 2552. คนวันที ่ 2 ตุลาคม 2553 จาก http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_municipal.html

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. 2553. การจัดการขยะของประเทศไทย.กรุงเทพมหานคร: สํานกังานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

เกษม จันทรแกว. 2536. ส่ิงแวดลอมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: อักษรสยามการพิมพ. เกษม จันทรแกว, สารัฐ รัตนะ, พุทธพร สองศรี, ธีรภาพ เจริญวิริยะภาพ, สามัคคี บุณยะวัฒน,

สมพร อศิวิลานนท และสนิท อกัษรแกว. 2542. ส่ิงแวดลอม เทคโนโลยีและชีวิต. กรุงเทพมหานคร: สํานกัพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

จารุวรรณ ชอบประดษิฐ. 2546. พฤติกรรมผูบริโภคในเขตกรุงเทพมหานครท่ีมีตอแชมพูสระผม. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

Page 100: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

88

ชาตชิาย ออนเจริญ. 2533. ความรูและความคิดเห็นของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ในจังหวัด

สมุทรปราการ เก่ียวกบัมลพษิในส่ิงแวดลอม. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

ชุดา จิตพิทักษ. 2525. พฤติกรรมศาสตรเบื้องตน. พิมพครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสารมวลสาร.

ฐิตินนัท งามสงวน. 2548. พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาล เจาพระยาสุรศักดิ์ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. ภาคนิพนธปริญญามหาบณัฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย.

ฐิติรัตน ธิติภมรรัตน. 2551. พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาล ตําบลเสม็ด อําเภอเมือง จังหวัดชลบุร.ี ปญหาพิเศษ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ทรงพล กลับศรอีอน. 2547. ปจจัยท่ีมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการคัดแยกขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธปรญิญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ทิศนา แขมมณี. 2545. ศาสตรการสอน: องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีมี ประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั.

ธวัชชัย ศภุดิษฐ. 2552. สิ่งแวดลอม นิเวศวิทยา และการจัดการ. พิมพคร้ังท่ี 3. กรุงเทพมหานคร: ทิพเนตรการพิมพ.

ปรีดา แยมเจริญวงศ. 2531. การจัดการขยะมูลฝอย. ขอนแกน: ภาควิชาวิทยาศาสตร สุขาภิบาล คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ปาจรีย หละตํา. 2550. พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของครอบครัวริมทะเลสาบ สงขลา เทศบาล ตําบลสิงหนคร จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พัชรี สิโรรส, สมชาย ภคภาสนวิวัฒน, วิบูลพงศ พูนประสิทธิ ์และชศูรี มณีพฤกษ. 2546. การมีสวนรวมของประชาชนตอการดําเนินงานพัฒนาทองถิ่นของสภาตําบล: ศึกษาเปรียบเทียบระหวางจังหวัดหนองบัวลําภ ูและจังหวัดปทุมธาน.ี ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหัวเฉยีวเฉลิมพระเกียรติ.

Page 101: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

89

มยุรี คงแถลง. 2551. การศึกษาพฤติกรรมการคดัแยกขยะของพนักงานโรงพยาบาลเกษมราษฎร

สุขาภิบาล 3. สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. วรรณา ลิ่มพาณิชย. 2538. ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการกําจดัขยะมูลฝอย ศึกษา

เฉพาะกรณีเมืองพัทยา. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

วลัยพร สกุลทอง. 2550. พฤติกรรมการจดัการมูลฝอยขอประชาชนในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพดุ จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยบูรพา.

วันชนะ บุญชัง. 2542. ความสัมพันธของการขัดเกลาทางสังคมกับพฤติกรรมการท้ิงขยะของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุร.ี วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

วิธวัฒน สวาศรี, สมหวัง พิธิยานวัุฒน, ชศูร ีวงศรัตนะ และบุญเรือง ยางเครือ. 2548. โครงการวิจัยการมีสวนรวมในการจัดการขยะอยางย่ังยืนของผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นท่ีตําบลหนองแสง อําเภอวาปปทุม จังหวัดมหาสารคาม. กรุงเทพมหานคร: สํานกังานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

วินัย วีระวัฒนานนท และบานชืน่ สีพันผอง. 2539. สิ่งแวดลอมศึกษา (ฉบบัตนแบบ) การศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน. กรุงเทพมหานคร: บริษัทสองสยาม จํากัด.

วิมลสิทธิ์ หรยางกลู. 2526. พฤติกรรมมนุษยกบัสภาพแวดลอม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.

วิยะดา ลักษมเีศรษฐ. 2543. พฤติกรรมการท้ิงขยะของประชาชนในเขตเมืองพัทยา. สารนิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลยัมหิดล.

ศลัยา พรรณศิร.ิ ม.ป.ป. สถาบันพัฒนาชางโยธามหาดไทย กรมโยธาธิการ. เอกสารประกอบการบรรยาย หลกัสูตรงานสุขาภิบาลและสิ่งแวดลอม สําหรับวิศวกรรุนท่ี 2.

ศุภกร ทิมจรัส. 2548. พฤติกรรมการจัดการมูลฝอยในครวัเรือนของประชาชนเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม.

สมจิตต สุพรรณทัสว. 2526. ความหมายของพฤติกรรม. เอกสารการสอนชุดวิชาสขุศึกษา หนวยท่ี 1 – 7. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Page 102: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

90

สมเพียร ต้ังบริบูรณรัตน. 2546. ความตระหนักเก่ียวกบัการใชเทคโนโลยีสะอาดของนกัเรียน

มัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.

สมศักดิ ์ชัยยะพิพัฒน, ประพันธ แสนยะบุตร, บุญชัย โสวรรณวณิชกุล และสมศักด์ิ ทับทิมทอง. 2546. โครงการสงเสริมสุขภาพชุมชนและอนามัยสิ่งแวดลอม โดยผานกระบวนการเรียนการสอนในโรงเรียน. วารสารการสงเสริมสุขภาพและอนามัยส่ิงแวดลอม. 26(1): 1 – 12.

สวัสด์ิ โนนสูง. 2543. ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร. สิทธโิชค วรานุสันกูล. 2548. จิตวิทยาสังคม: ทฤษฎีและการประยุกต. กรุงเทพมหานคร:

ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน). สินีนชุ มวงกล่ํา. 2544. พฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน

สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนนทบุร.ี วิทยานิพนธปริญญาหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สุธ ีศรสวรรค. 2538. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนของมุสลิม: ศึกษาเฉพาะกรณีตําบลคลองตะเคียน อําเภอพระนครศรีอยุธยา. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สุนีย ภูพันธ. 2546. แนวคิดพื้นฐานการสรางและการพัฒนาหลักสูตร ยุคปฏิรูปการ ศึกษาไทย. เชียงใหม: หางหุนสวนจํากัด เชียงใหมโรงพิมพแสงศิลป.

สุรเมศวร พิริยะวัฒน, สมพร จันทรแกว, โกวิท โพธิวรรณา และสมศักดิ์ แสงเพรช. ม.ป.ป. ทฤษฎทัีศนคติและพฤติกรรม ทางเลือกสําหรับการวิเคราะหพฤติกรรมการเดินทาง. คนวันที ่20 กรกฎาคม 2554 http://www.surames.com/images/column_1227454930/TRP 001_surames%20piriyawat.pdf

สุวรรณ ียุวชาติ. 2532. การศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษสิง่แวดลอมของนักเรียนอาชีวศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

Page 103: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

91

เสาวนติย มงคลสกุณ.ี 2545. การศึกษาพฤติกรรมการอนรัุกษส่ิงแวดลอมของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 ในจังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.

แสงเทียน อัจจิมางกูร. 2537. การมีสวนรวมในโครงการประมงโรงเรียนของคณะกรรมการประมงโรงเรียนและชุมชน. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

อคนิ รพีพัฒน. 2548. เอกสารประกอบการสัมมนาเร่ือง สังคมไทยกับการจัดการขยะ.กรุงเทพมหานคร: อษุาการพิมพ.

อดศิกัด์ิ ทองไขมุกต, สุณีย ปยะพันธพงษ, นภวัส บัวสรวง และอิมราน หะยีบากา. 2546. การจดัการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล. พิมพครั้งท่ี 4. นนทบุรี: กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.

อภิวิชญ จันทวี. 2549. พฤติกรรมดานการคัดแยกขยะมูลฝอย ของพนักงานกองคลังสินคา บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน). สารนิพนธปริญญามหาบัญฑิต สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร.

อราม ศิริพันธ. ม.ป.ป.. ทฤษฎีองคการ เอกสารประกอบการสอน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

อาณัติ ตะปนตา. 2553. ความรูเบือ้งตนเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

อุไรวรรณ เกิดผล. 2539. ปจจัยท่ีมีผลตอความคาดหวังของหัวหนาสถานีอนามัยตอระบบการนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสานในจังหวัดลพบุรี. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

Albert, B. 1977. Social Learning Theory. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice Hall. Burchett, B. M. 1972. A Discriptive Study of Fourth, Fifth and Sixth Grade Students Attitude

Relate to Environmental Problem. Dissertation Abstracts International. 32 (February): 4439.

Cronbach, L. J. 1972. The Dependability of Behavioral Measurement: Theory of Generalizability for Scores and Profile. New York: Willey.

Page 104: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

92

Dyar, N. A. 1976. Assesing the environmental attitudes and Lehavior of a seventh grade

school population. Dissertation Abstracts International. New York: Harperand Brothers

Johnston, J. B. 1974. A Taxonomy and Statistical Analysis of Opinion Attitudes, Scope and Selected Content Area of Education in Mississippi. Dissertation Abstracts International. 34 (February): 4911 – 4912.

Martin, G. and Pear, J. 1992. Behavior Modification: What It Is and How to It. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice Hall.

Zacher, L. J. 1975. A Study of Factors Affecting of Environmental of Eleventh Grade Students in Montana. Dissertation Abstracts International. 35 (February): 4883.

Zimbardo, P. G. and Gerrig, R. J. 1996. Psychology and Life. New York: Harper Collins College.

Page 105: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

ภาคผนวก

Page 106: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

94

ภาคผนวก ก

แบบสอบถามแบบมีโครงสราง

Page 107: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

95

แบบสอบถาม พฤติกรรมการจดัการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทรล็ล

แบบสอบถามชุดนี้ทําขึ้นสําหรับการศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดลอม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร (นิดา) เพื่อใชประกอบการทําคนควาอิสระ ในการศึกษาพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล จึงใครขอความรวมมือจากทาน ในการตอบแบบสอบถามตามความเปนจริง เพ่ือนําขอมูลเหลานี้ไปวิเคราะห อันจะเปนประโยชนตอสถานศึกษา และผูสนใจศึกษาในดานนี้ตอไป โดยแบบสอบถามมีท้ังหมด 6 หนา เปนคําถามปลายปดและคําถามปลายเปด แบงออกเปน 4 สวน ดังนี้

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม สวนท่ี 2 พฤติกรรมของนักเรียนในดานการจัดการขยะ สวนท่ี 3 แนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล สวนท่ี 4 ความคิดเห็นและขอเสนอแนะ โดยขอความกรุณาทานกรอกขอมูลท่ีตรงกับความจริงและความคิดเห็นของทานมากท่ีสุด ผูศึกษาขอรับรองวา ขอมูลท่ีเปนคําตอบของทานจะเปนความลับและจะนําไปใชเฉพาะใน

การศึกษาครั้งนี้เทานั้น โดยไมมีการเปดเผยขอมูลเฉพาะรายไมวากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น

ขอขอบพระคุณในการตอบแบบสอบถาม ปนัดดา รุจะศิริ ผูศึกษา

Page 108: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

96

แบบสัมภาษณเลขที.่...................

แบบสอบถาม เร่ือง

พฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม คําชี้แจง โปรดทําเคร่ืองหมาย √ ในชอง ตามขอมูลจริง

1. เพศ 1. ชาย 2. หญิง

2. ระดับชั้นเรียนปจจุบัน 1. มัธยมศึกษาปที่ 4 2. มัธยมศึกษาปท่ี 5 3. มัธยมศึกษาปที่ 6

3. โปรแกรม 1. แผนวิทย – คณิต 2. แผนศลิป – ภาษา 3. แผนศลิป – คํานวณ

4. สัญชาติ

1. ไทย 2. เกาหล ี 3. อินเดีย 4. จีน 5. อื่น ๆ (ระบุ) ...........................

Page 109: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

97

5. ภูมิลําเนา 1. กรุงเทพและปริมณฑล 2. ภาคเหนอื

3. ภาคใต 4. ภาคตะวันออกเฉยีงเหนือ 5. ภาคตะวันออก 6. สถานะการอยูอาศัย

1. อาศัยกับบิดาและมารดา 2. อาศัยกับบิดาหรอืมารดา 3. อาศัยกับญาต ิ 4. อยูคนเดียว 5. อื่น ๆ (ระบุ) ........................... 7. รายไดครอบครัว ....................................... (บาท/เดือน) 8. การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากครอบครัว

1. เกอืบทุกวัน 2. บอยครั้ง 3. นาน ๆ ครั้ง 4. ไมเคยไดรับ 9. การไดรับการอบรมสั่งสอนดานการจัดการขยะจากโรงเรียน

1. เกอืบทุกวัน 2. บอยครั้ง 3. นาน ๆ ครั้ง 4. ไมเคยไดรับ 10. การอํานวยความสะดวกดานการจัดการขยะ

1. อาศัยกับบิดาและมารดา 2. อาศัยกับบิดาหรอืมารดา 3. อาศัยกับญาต ิ 4. อยูคนเดียว 5. อื่น ๆ (ระบุ) ...........................

Page 110: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

98

สวนที่ 2 พฤติกรรมของนักเรียนในดานการจัดการขยะ คําชี้แจง : โปรดทําเครื่องหมาย √ ลงในชองท่ีกําหนดใหท่ีตรงกับความคิดเห็นของทาน

ระดับความเหมาะสม 1 = ปฏิบัตินอยท่ีสุด 2 = ปฏิบัตินอย 3 = ปฏิบัติมาก 4 = ปฏิบัติมากท่ีสุด

การปฏิบัติ พฤติกรรม 4 3 2 1

1. กอนทิ้งขยะ ทานจะทําการคัดแยกประเภทขยะตามที่ทางโรงเรียนมีการจัดประเภทของถังขยะไว

2. ทานไดนําขวดน้ําพลาสติกที่ผานการใชแลวนํากลับมาใชประโยชนไดอีก

3. ทานเก็บถุงพลาสติกในโรงเรียนท่ียังใชงานไดอยูนํากลับมาใชอีก

4. ทานใชกระติกน้ําแทนขวดน้ําพลาสติกทุกครั้งเม่ือมาโรงเรียน

5. ทานไดนํากระดาษหนังสือพิมพหรือกลองกระดาษท่ีเหลือภายในโรงเ รียนนํามาเปนวัสดุตกแ ตงภายในหองเรียน

6. ทานไดเก็บถุงขนมขบเคี้ยว เปลือกลูกอม กลองโฟมเพ่ือนํามารีไซเคิลใหม

7. ทานมีการท้ิงขยะลงในถังขยะทุกครั้ง 8. ทานไดใชกลองขาวสําหรับม้ืออาหารท่ีโรงเรียนแทนการ

ใชถวยพลาสติกหรือกลองโฟม

9. ทานไดรวมมือกับเพ่ือนรวมชั้นเรียนในเร่ืองการบําเพ็ญประโยชนโดยการเก็บขยะรอบ ๆโรงเรียน

10. เม่ือทานเห็นเศษขยะประเภทถุงขนมขบเคี้ยว เปลือกลูกอม หรือแกวน้ําอัดลมในโรงเรียน ทานจะเก็บลงถังขยะทุกครั้ง

Page 111: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

99

สวนที่ 3 แนวทางในการปรับปรุงดานการจัดการขยะของโรงเรียนนานาชาติเทร็ลล คําชี้แจง : โปรดทําเครื่องหมาย √ ลงในชองท่ีกําหนดใหท่ีตรงกับความคิดเห็นของทาน

ระดับความเหมาะสม 1 = ปรับปรุงนอยท่ีสุด 2 = ปรับปรุงนอย 3 = ปรับปรุงมาก 4 = ปรับปรุงมากท่ีสุด

การปฏิบัติ พฤติกรรม 4 3 2 1

1. การจัดตําแหนงของถังขยะภายในอ าคารเรียนแล ะหองเรียน

2. จํานวนเจาหนาท่ีท่ีดูแลเร่ืองความสะอาดภายในโรงเรียน 3. จํานวนถังขยะในโรงเรียน 4. ขนาดของถังขยะ 5. การแบงแยกประเภทและการทําสัญลักษณของถังขยะ

คําถาม

6. การติดปายประกาศและคําอธิบายในเรื่องของขยะรไีซเคลิ 7. การบังคับใชกฎระเบียบ/ขอบังคับตาง ๆ ของโรงเรียนใน

เร่ืองการคัดแยกขยะและการทิ้งขยะลงถังของนักเรียน

8. ความพรอมของวัสดุอุปกรณดานการจัดการขยะ 9. การกําหนดนโยบายคณะผูบริหารในดานสงเสริมการ

จัดการขยะในโรงเรียน

Page 112: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

100

สวนที่4 ความคิดเห็นขอเสนอแนะ

1) ทานคิดวาโรงเรียนควรมีการสงเสริม/สนับสนุนดานการจัดการขยะในโรงเรียนอยางไร

2) ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม

Page 113: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

ภาคผนวก ข

ผลการทดสอบความเชื่อมั่นแบบสอบถาม

Page 114: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

102

ผลการทดสอบความเชื่อมัน่แบบสัมภาษณดวยวิธสีมัประสทิธิ์แอลฟา (Coefficient – α)

Page 115: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

103

ผลการทดสอบความเชื่อมัน่แบบสัมภาษณดวยวิธสีมัประสทิธิ์แอลฟา (Coefficient – α) (ตอ)

Page 116: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

104

ผลการทดสอบความเชื่อมัน่แบบสัมภาษณดวยวิธสีมัประสทิธิ์แอลฟา (Coefficient – α) (ตอ)

Page 117: พฤติกรรมการจัดการขยะของ ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf · 2012-12-04 · (6) management of the school. The population

ประวัติผูเขียน ช่ือ ชื่อสกุล นางสาวปนัดดา รุจะศิริ

ประวัติการศึกษา วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาการเคมี

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ปท่ีสําเร็จการศึกษา พ.ศ. 2547

ตําแหนงและสถานท่ีทํางาน พ.ศ. 2548 – 2549 พนักงานเคมีแผนกวิจัยและพัฒนาผลติภัณฑ บริษัท จินซาน อิเล็กทรอนิกส ประเทศไทย พ.ศ. 2550 – 2555 ครแูผนกวิทยาศาสตร โรงเรียนนานาชาติเทรล็ล