สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - nssc...ของเหลว...

28
สมบัติเชิงกายภาพของสสาร

Upload: others

Post on 10-Jan-2020

17 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

สมบตัเิชงิกายภาพของสสาร

Page 2: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

สมบตัิเชงิกลของของแขง็

สะพานพระรามแปด ขา้มแม่นํา้เจา้พระยา

วิศวกรใชค้วามรูเ้กีย่วกบัสมบตัิเชงิกลของวสัดุ

เลอืกวตัถุที่มีสมบตัิสภาพยดืหยุ่นเหมาะสมกบังาน

ทนต่อแรงภายนอกไดม้าก (ทาํใหร้ปูร่างเปลีย่นไดย้าก)

Page 3: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

สมบตัิเชงิกลของของแขง็

สถานะของสสาร มี 3 สถานะคอื ของแขง็ เป็นสถานะที่มีรปูร่างและปรมิาตรคงที่ในอณุหภมูิปกติ

กอ้นหิน, ไม,้ ยาง , ดนิสอ, เทียนไข และเหลก็เป็นตน้

ของเหลว เป็นสถานะที่มีรปูร่างไม่คงที่แน่นอนในอณุหภมูิปกติ จะเปลีย่นตามภาชนะที่บรรจุอยู่ แต่มีปรมิาตรคงที่

นํา้, นํา้มนั, ปรอท และ แอลกอฮอล ์เป็นตน้

แกส๊ เป็นสถานะที่มีรปูร่างและปรมิาตรไม่คงที่แน่นอนในอณุหภมูิปกติ มีการเปลีย่นแปลงอยู่เสมอ รปูร่างและปรมิาตรจะเหมือนกบัรปูร่างที่บรรจุ

ของเหลวและแกส๊ เรยีกรวมกนัว่าของไหล

Page 4: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

สมบตัิเชงิกลของของแขง็

สภาพยดืหยุ่นของของแขง็

วสัดทุี่มีการเปลีย่นรปูร่างเมื่อมีแรงกระทาํสามารถคนืกลบัตวัสู่รปูร่างเดมิ

เมื่อหยุดออกแรงกระทาํ เรยีกว่า สภาพยดืหยุ่น (elasticity)วสัดเุปลีย่นรปูร่างไปอย่างถาวร โดยผวิวสัดไุม่มีการฉกีขาดหรอืแตกหกั

เรยีกสมบตัินี้ ว่า สภาพพลาสติก ( plasticity )

Page 5: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

สมบตัิเชงิกลของของแขง็

สภาพยดืหยุ่นของของแขง็

เมื่อ ดงึวสัดชุนดิต่าง เช่น สปรงิ

ก่อนสปรงิถูกดงึ

สปรงิถูกยดืจนใกลข้ดีจาํกดัสภาพยดืหยุ่น

สปรงิถูกยดืจนเกนิขดีจาํกดัสภาพยดืหยุ่น

Page 6: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

สมบตัิเชงิกลของของแขง็สภาพยดืหยุ่นของของแขง็ เมื่อ ดงึวสัดชุนดิต่าง เช่น สปรงิ

* จุด a คือ ขดีจาํกดัการแปรผนัตรง

(Proportional limit) ซึ่งเป็นตาํแหน่งสุดทา้ยที่

ความยาวสปริงยดืออก แปรผนัตรงกบัขนาด

ของแรงดึง

*จุด b คือขดีจาํกดัสภาพยดืหยุ่น (Elastic

limit) ซึ่งเป็นตาํแหน่งสุดทา้ยที่สปริงยดืออกแลว้

กลบัสู่สภาพเดิม แต่แรงดึงไม่แปรผนัตรงกบั

ระยะยดื

*จุด C คือ จุดแตกหัก (Breaking point)

หมายถึงตั้งแต่จุด b เป็นตน้ไป ถา้ดึงต่อไปกถ็ึง

จุด c ซึ่งเป็นจุดที่เสน้วสัดุขาด

Page 7: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

สมบตัิเชงิกลของของแขง็

กฎของฮุก ( Hooke’ s law)เมือ่ออกแรงดงึหรอืกดสปรงิ พบวา่แรงทีก่ระทาํตอ่สปรงิ F มคีวามสมัพนัธก์บัความ

ยาวทีเ่ปลี่ยน

กราฟช่วง oa เป็นไปตามกฎของฮุก

Page 8: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

สมบตัิเชงิกลของของแขง็

ช่วง ob เรยีกว่า การผดิรปูแบบยดืหยุ่น (elastic deformation)

ช่วง bc เรยีกว่า การผดิรปูแบบพลาสติก (plastic deformation)

Page 9: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

สมบตัิเชงิกลของของแขง็

แรงที่ทาํใหว้ตัถุผดิรปู

แรงดึง (tensile force)

แรงอดั (forces of compression)

แรงเฉือน (shear force)

Page 10: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเคน้และความเครยีด

ความเคน้ ( Stress )แรงตา้นภายในเนื้อวสัดทุี่มีต่อแรงภายนอกที่มากระทาํต่อหน่วยพื้นที่ (ผลหารของแรงภายในต่อพื้นที่)

เพือ่ความงา่ย พดูถงึความเคน้ในรปูของแรงภายนอกที่มากระทาํต่อหนึง่หน่วยพื้นที่

พจิารณาพื้นที่หนา้ตดัดงัรปู

แรงเค้นปกติและแรงเค้นเฉือน

Page 11: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเคน้

ความเคน้ปกติ (Normal Stress)เป็นความเขม้ของแรง หรอืแรงภายในต่อพื้นที่

แรงภายใน (แรงเคน้ คอื แรงยดึระหว่างโมเลกุลที่เพิม่ขึ้น)

ความเคน้เป็น ปรมิาณ สเกลาร ์ มีหน่วยในระบบเอสไอเป็นนวิตนัต่อตารางเมตร

( N/m2) หรอื พาสคลั ( Pa )

Page 12: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเคน้

ความเคน้ปกติ (Normal Stress), ความเคน้ตามยาววตัถุที่มีรปูร่างสมํา่เสมอ คงที่ตลอด

เกดิความเคน้ปกติ คงที่กระจายอย่างสมํา่เสมอตลอดพื้นที่หนา้ตดั

Page 13: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเคน้

ความเคน้ตามยาว (longitudinal stress ) ความเคน้แบบดงึ (tensile stress )ความเคน้แบบอดั ( compressive stress )

Page 14: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเคน้ความเคน้เฉอืน (Shear Stress)

ถา้วตัถุมีรปูร่างสมํา่เสมอจะไดว้่า

Page 15: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเคน้

ความเคน้เฉอืน (Shear Stress)การเคลือ่นที่ผ่านกนัของวตัถุเมื่อไดร้บัความเคน้เฉอืน

Page 16: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเครยีด (STRAIN)ความเครยีดมี 2 ลกัษณะคอื

ความเครยีดตามยาว หรอื ความเครยีดเชงิเสน้ (linear Strain)

ความเครยีดเฉอืน (Shear Strain)

Page 17: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเครยีด (STRAIN)

คอื การเปลีย่นแปลงรปูร่างของวสัด(ุDeformation) เมื่อมีแรงภายนอกมากระทาํ (เกดิความเคน้)

การเปลีย่นรปูแบบอลิาสติกหรอืความเครยีดแบบคืนรปู

ยางยดื, สปรงิ

การเปลีย่นรปูแบบพลาสติกหรอืความเครยีดแบบคงรปู

Page 18: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเครยีด (STRAIN)

ความเครียดตามยาว หรอื ความเครียดเชิงเส้น (linear Strain)

ความเครยีด ณ ตาํแหน่ง ใด ๆ

Page 19: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเครยีด (STRAIN)

วสัดมุีพื้นที่หนา้ตดัคงที่ตลอดความยาว

ความเครยีดตามยาวที่เกดิขึ้นจะมีค่าคงที่

Page 20: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความเครยีด (STRAIN)

ความเครยีดเฉอืน (Shear Strain)ใชก้บักรณทีี่แรงกระทาํมีลกัษณะเป็นแรงเฉอืน

Page 21: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความสมัพนัธ์ระหว่างความเคน้และความเครยีด

เส้นโค้งความเค้น-ความเครียด (Stress-Strain Curve) ซึ่งได้จากการทดสอบแรงดึง

(Tensile Test)

Page 22: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความสมัพนัธ์ระหว่างความเคน้และความเครยีด

มอดลูสัของยงั (Young’s modulus) หรือ มอดลูสัสภาพยืดหยุ่น (modulus of elasticity)

ainTensileStressTensileStrEsModulusYoung =)('

Unit : N/m2

Page 23: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความสมัพนัธ์ระหว่างความเคน้และความเครยีด

Thomas Young ( ค.ศ. 1773 – 1829)

นกัฟิสกิสช์าวองักฤษ สาํเรจ็การศกึษา

ทางแพทย ์ แต่สนใจในวชิาฟิสกิส์

โดยเฉพาะเรือ่งแสง ไดด้าํรงตาํแหน่ง

ศาสตราจารยท์างฟิสกิส ์ของ The Royal

Institution และมผีลงานในวชิาฟิสกิส์

มากมาย เชน่การคน้พบการแทรกสอด

ของแสง เป็นคนแรกทีท่ดลองวดัความ

ยาวคลืน่ของแสงสตี่าง ๆ และ เป็นผู้

พบว่า ภายในขีดจาํกดัสภาพยืดหยุ่น

อตัราส่วนระหว่างความเค้นและ

ความเครียดของวสัดหุนึง่ ๆ จะมีค่า

คงตวัเสมอ

Page 24: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความสมัพนัธ์ระหว่างความเคน้และความเครยีด

มอดลูสัของยงัของวสัดบุางชนดิ

บ่งบอกถงึความแขง็แรง

ทนต่อแรงภายนอกไดม้าก

วสัดุ มอดุลสัของยงั , E ( x 1011

N/m2 )

ตะกัว่ 0.16

แกว้ 0.55

อลูมิเนียม 0.70

ทองเหลือง 0.91

ทองแดง 1.1

เหลก็ 1.9

เหลก็กลา้ 2.0

ทงัสเตน 3.6

Page 25: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความสมัพนัธ์ระหว่างความเคน้และความเครยีด

มอดลูสัเฉอืน (shear modulus)อตัราสว่นระหวา่งความเคน้เฉอืนกบัความเครยีดเฉอืน

ปรมิาณทีแ่สดงถึง สภาพยดืหยุ่นของรปูร่าง (elasticity of shape)

มีหน่วยเป็น N / m2shear stressshear strain

FAS xh

= =Δ

Source : Serway

Page 26: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ความสมัพนัธ์ระหว่างความเคน้และความเครยีด

มอดลูสัเชิงปริมาตร (Bulk Modulus)

อตัราส่วนระหว่าง ความเค้นปริมาตร กบั

ความเครียดปริมาตร

ปริมาณที่แสดงถึง สภาพยืดหยุ่นปริมาตร

เครือ่งหมายลบ แสดงถึง ความดนัเพิ่มขึน้เป็น

บวก ปริมาตรกจ็ะลดลง

มีหน่วยเป็น N / m2

volume stressvolume strain

i i

F PAB V VV V

Δ Δ= = − = −

Δ Δ

Source : Serway

Page 27: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

การคาํนวณระยะยดืกรณทีี่วตัถุมีพื้นที่หนา้ตดัไม่สมํา่เสมอ

วตัถุมสีภาพยดืหยุน่เป็นไปตามกฎของฮกุ

จากนิยาม

ความยาวที่ยดืออกทัง้หมด

กรณทีี่ F และ A คงที่ จะไดว้่า

dL

d dL δ+

AEFL

∫∫ ==LL

dLAEFdL

Eσδ

Page 28: สมบตัิเชิงกายภาพของสสาร - NSSC...ของเหลว เป นสถานะท ม ร ปร างไม คงท แน นอนในอ

ตวัอย่าง

ลวดทองแดงเส้นหนึ่งยาว 4 เมตร มีพืน้ที่ภาคตดัขวาง 1 x 10-8ตารางเมตร มี

ค่ายงัมอดลูสัเป็น 1.1 x 1011 นิวตนัต่อตารางเมตร จะต้องออกแรงดึงเท่าใดจึง

จะทาํให้ลวดเส้นนี้ยืดออกอีก 1 มิลลิเมตร

สายเคเบิลเหลก็มีพืน้ที่ภาคตดัขวาง 3.0 x 10-4 ตารางเมตร ผกูติดกบัลิฟตซ์ึ่งมี

มวล 800 กิโลกรมั ถ้าในการใช้ลิฟตก์าํหนดให้ความเค้นที่กระทาํกบัสาย

เคเบิลมีค่าไม่เกิน 0.25 ของขอบเขตความยืดหยุ่น จงหาค่าความเรง่สงูสดุใน

การเคลื่อนที่ขึน้ของลิฟต ์ถ้าสายเคเบิลเหลก็มีค่าขอบเขตความยืดหยุ่น 2.8 x

108 นิวตนัต่อตารางเมตร