กระบวนการเจรจาและไกล่เกลี่ยข้อพิพาทrecc.erc.or.th/documents/recc2train1slide1.pdf ·...

31
กระบวนการเจรจาและไกล่เกลี่ยข้อพิพาท มนตรี ศิลป์มหาบัณฑิต เลขานุการศาลอุทธรณ์ภาค 1 1

Upload: others

Post on 13-Sep-2019

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

กระบวนการเจรจาและไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

มนตรี ศิลป์มหาบัณฑิต

เลขานุการศาลอุทธรณ์ภาค 1

1

แนวคิดของความขัดแย้ง

ทัศนคติที่มีต่อความขัดแย้ง

การจัดการกับความขัดแย้ง

2

3

4

ที่มาของความขัดแย้ง • อารมณ์ ทิฐิ ทัศนคติ มุมมอง • ความรู้ ความเห็น ค่านิยม • ผลประโยชน์ • ความคาดหวัง • ได้รับข้อมูลไม่ตรงกัน • ไม่เชื่อถือไว้วางใจ • ไม่เข้าใจปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา

ความขัดแย้ง

ผลกระทบของความขัดแย้ง

ผลกระทบในเชิงลบ

ผลกระทบในเชิงบวก

5

ผลกระทบของความขัดแย้ง

ผลกระทบในเชิงลบ

เสียเวลา

ความแตกแยก

เพิ่มช่องว่างของความแตกต่าง

ความรุนแรง

6

ผลกระทบของความขัดแย้ง

ผลกระทบในเชิงบวก

สร้างความชัดเจนในประเด็นปัญหา

น าพาบุคคลเข้ามาสู่การแก้ปัญหาที่ส าคัญ

เกิดการสื่อสารอย่างแท้จริง

ลดความกดดันในประเด็นปัญหา

7

ผลกระทบของความขัดแย้ง

ผลกระทบในเชิงบวก (ต่อ)

สร้างการเรียนรู้ระหว่างบุคคล

สร้างความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา

การหาทางออกในปัญหา

สร้างความเข้าใจและเกิดทักษะในการแก้ไขปัญหา

8

การป้องกันความขัดแย้ง

เน้นหลักการการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

การให้ข้อมูลข่าวสาร (Inform)

การปรึกษาหารือ (Consult)

การมีบทบาทเกี่ยวข้อง (Involve)

การให้ความร่วมมือ (Collaborate)

การให้การตัดสินใจ (Empower)

9

การแก้ไขความขัดแย้ง

แบบร่วมมือ (cooperation)

แบบปฏิปกัษ์ (adversary)

10

การแก้ไขความขัดแย้งแบบปฏิปักษ์

ฝ่ายหนึ่งแพ้ ฝ่ายหนึ่งชนะ

รูปแบบ การด าเนินคดีในศาล อนุญาโตตุลาการ

11

การจัดการความขัดแย้งแบบร่วมมือ

หลักการ

การมีส่วนร่วมกับทุกฝ่าย

การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

การยอมรับสถานะของผู้เข้าร่วม

การอ านวยความสะดวก

12

การจัดการความขัดแย้งแบบร่วมมือ

ความยืดหยุ่น

การควบคุมกระบวนการร่วมกัน

การยอมรับปฏิบัติตามผล

13

การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (MEDIATION) คืออะไร ?

การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยมีบุคคลที่สามซึ่งเป็นคนกลางท าหน้าที่ช่วยเหลือคู่พิพาทในการพยายามเจรจาต่อรองเพื่อให้บรรลุข้อตกลงร่วมกัน

14

บทบาทส าคัญของผู้ไกล่เกลี่ย

มีความเป็นกลาง

ไม่เป็นผู้ตัดสิน

เชื่อมต่อการเจรจาของทั้งสองฝ่าย

สร้างทางเลือกต่าง ๆ ในการยุติข้อพิพาท

รับผิดชอบต่อกระบวนการ

ที่มาของอ านาจในการไกล่เกลี่ย

People Process Problem-solving

15

ข้อคิดการไกล่เกลี่ยแบบ HARVARD

แยกคนออกจากปัญหา

เน้นความต้องการ ไม่ใช่จุดยืน

สร้างทางเลือกท่ีเป็นประโยชน์กับทุกฝ่าย

ใช้หลักเกณฑ์ที่อ้างอิงได้

16

ขั้นตอนการไกล่เกล่ียข้อพิพาท

17

18 18

HAWAII MODEL

การเจรจา • การประชุมฝ่ายเดียวรอบ

ที่สอง • การประชุมร่วม • การร่างข้อตกลง

การประชุม • การกล่าวเปิดของผู้ไกล่

เกลี่ยข้อพิพาท • การกล่าวของคู่พิพาท • การประชุมฝ่ายเดียว

ครั้งแรก

การเปิดการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

เป้าหมาย

การสร้างบรรยากาศความเป็นกันเอง

การสร้างความร่วมมือในการไกล่เกลี่ย

การสร้างความเชื่อถือ

สร้างความเข้าใจในกระบวนการ

สร้างความราบรื่นในการไกล่เกลี่ย

19

องค์ประกอบของความขัดแย้ง

เนื้อหาสาระ

ความสัมพันธ์หรือสถานะของคู่กรณี

20

พฤติกรรมของคู่ความในการเจรจา รูปแบบ พฤติกรรมท่ีโดดเดน่ ความเป็นไปได้กบัสิง่ท่ีจะเกิดขึน้

1.หลีกเลี่ยง ไมย่อมเผชิญหน้า ไมส่นใจกบัประเด็นตา่ง ๆ

ของปัญหา ปัญหานัน้อาจมากหรือน้อยเกินไป มกัท าให้ปัญหายิ่งแยล่ง

2.ปรองดอง เห็นด้วยกบัข้อเสนอ แม้วา่จะเสียเปรียบ รักษาความสมัพนัธ์ด้วยการเห็นด้วยกบัทกุอยา่ง

3.เอาชนะ เสนอทางออกอยา่งก้าวร้าว เผชิญหน้า และพยายามเอาชนะ

เช่ือวา่ผู้ ท่ีแข็งแรงท่ีสดุท่ีจะเอาชนะได้ จงึพยายามแสดงอ านาจเหนืออีกฝ่าย

4. ประนีประนอม

ต้องการให้ทกุฝ่ายบรรลเุป้าหมาย และคงความสมัพนัธ์ท่ีดีด้วย จงึเสนอทางออกจ านวนมาก และให้ความร่วมมืออย่างดี

ไมม่ีใครหรือความคิดใครสมบรูณ์ท่ีสดุ

ทางออกจึงมีมากกวา่หนึ่งเดียว และต้องเสียบางอย่างเพ่ือให้ได้บางอย่าง

5. การแก้ปัญหา ทัง้สองฝ่ายต้องตดัสนิใจร่วมกนั จงึให้ความร่วมมือในการเสนอความเห็น

ทกุฝ่ายเสนอทางออกมากมายเพ่ือหาทางออกร่วมกนัส าหรับปัญหา ปัญหาเป็นส่ิงท่ีตอ้งแกไ้ข

21

การค้นหาความต้องการ

การฟัง การตั้งค าถาม Rephrasing การสังเกตอากัปกริยา (non-verbal communication) การแยกการเจรจา (Caucus Meeting)

22

การค้นหาความต้องการ (ต่อ)

จุดยืนกับความต้องการหรือผลประโยชน์ (position : interest)

การรับรู้ความรู้สึกและอารมณ์

การแยกคนออกจากปัญหา

23

การค้นหาทางออก

ความคิดสร้างสรรค์และการระดมความคิดเห็น

การรวบรวมทางออกทุกอย่างท่ีมีความเป็นไปได้

การแยกกระบวนการคิดออกจากการตัดสินใจ

การหาทางออกโดยใช้มาตรฐานอ้างอิง

24

การท าข้อตกลง (COMMITTMENT)

ข้อตกลงต้องเกิดจากความสมัครใจของคู่พิพาท

คาดหมายความเป็นไปได้ของข้อตกลง

มีความครบถ้วนตามที่ตกลงกัน

การยืนยันให้คู่ความรับทราบ

การจัดท าข้อตกลงและลงนาม

กรณีตกลงกันไม่ได้

25

ข้อคิดเกี่ยวกับสาระการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

ปัญหาความสัมพันธ์

จุดยืนและความต้องการ

BATNA

คุณค่าของการแลกเปลี่ยน

26

ความสัมพันธ์

การจัดการความสัมพันธ์

แยกคนออกจากปัญหา

จัดการเรื่องคนตั้งแต่เริ่มต้น

ฟื้นฟูความสัมพันธ์ผ่านกระบวนการไกล่เกลี่ย

27

จุดยืนกับความต้องการ

คู่พิพาทมักจะถกเถียงกันที่จุดยืนและปกป้องจุดยืนของตนเอง

ความจริงคือ จุดยืนกับความต้องการเป็นคนละส่วนกัน

ผู้ไกล่เกล่ียมีหน้าที่ท าความเข้าใจจุดยืนและความต้องการของคู่พิพาท

28

BATNA

ทางเลือกที่ดีที่สุดหากไม่มีการตกลงกัน

Best Alternative to a Negotiated Agreement

ทางเลือกที่แย่ที่สุดหากไม่มีการตกลงกัน

Worst Alternative to a Negotiated Agreement

ทางเลือกที่เป็นไปได้ที่สุด

Most Likely to a Negotiated Agreement

When ???

29

คุณค่าแห่งการแลกเปลี่ยน

สิ่งที่มีค่าส าหรับคนหนึ่งอาจไม่มีความหมายอะไรเลยส าหรับอีกคนหนึ่ง

คนบางคนจึงยอมแลกเปลี่ยนประโยชน์เพื่อแลกกับสิ่งที่ตนเองต้องการ

30

31

วงจรของความขัดแย้ง