การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย...

15
C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc 1 การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor การผลิตบทเรียนตามมาตรฐานสกอร์ม การผลิตบทเรียนเพื่อทางานร่วมกับมาตรฐานสกอร์ม เป็นการนาบทเรียนที่ผลิตตามมาตรฐานของ ศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มาแก้ไขเพิ่มเติม เพื่อให้บทเรียนดังกล่าวทางานได้ตามมาตรฐานสก อร์ม มีวิธีผลิต 2 วิธี คือ 1. การผลิตบทเรียนในรูปแบบวัตถุการเรียนรู้แล้วเพิ่มข้อมูลเพื่อให้เข้ากับมาตรฐานด้วยโปรแกรม Reusable eLearning Object Authoring & Delivery (RELOAD) วิธีนี้จะใช้โปรแกรม RELOAD Editor สาหรับสร้างโครงสร้างเนื้อหา โดยจะมีการเพิ่มไฟล์สาหรับการติดต่อระหว่างเนื้อหากับระบบจัดการการเรียนรูโดยโปรแกรม RELOAD จะทาการบีบอัดไฟล์ให้โดยอัตโนมัติ 2. การผลิตบทเรียนในรูปแบบวัตถุการเรียนรู้แล้วเพิ่มข้อมูลให้เข้ากับมาตรฐาน โดยการดึง scorm.api จากนอกไฟล์ด้วย actionscript หรือ Javascript วิธีนี้เป็นการเขียนโปรแกรมด้วย Javascript เพิ่มลงไปในไฟล์ .html หรือการเขียน actionscript ในซีนของเนื้อหาเพื่อเรียกใช้ฟังก์ช่นจากไฟล์ scorm.api การใช้โปรแกรม RELOAD Reusable eLearning Object Authoring & Delivery หรือ RELOAD Editor เป็นโปรแกรม รวบรวมเนื้อหา (Content Package) และ สร้าง Meta Data ที่พัฒนาโดย JORUM Project ที่ผู้ใช้สามารถนาเนื้อหาของตนเองหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น เว็บ เพจ รูปภาพ แฟลชแอนิเมชั่น จาวาแอปเพล็ต มาทาการรวบรวมบรรจุ และอธิบายรายละเอียดของเนื้อหาตาม มาตรฐานสกอร์ม เพื่อให้สื่อสารกับระบบจัดการการเรียนรู้ได้ โดยมีฟังก์ช่นหลัก ๆ ดังนี- รวบรวมเนื้อหาที่สร้างมาจากโปรแกรมอื่น - จัดการการเชื่อมโยงเนื้อหาใหม่ - เตรียมเนื้อหาเพื่อใช้กับระบบจัดการการเรียนรู- ส่งเนื้อหาไปยังผู้ใช้โดยใช้ฟังก์ช่น “Save Content Package PreviewRELOAD Editor นาข้อกาหนดด้าน Content Packaging และ Metadata ของ IMS มาใช้ จึง สามารถ Publish SCORM Package ได้ ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดโปรแกรม ได้จากเว็บ http://www.reload.ac.uk จากนั้นไปที่เมนู Tools & Downloads เลือก The Classic RELOAD Editor

Upload: others

Post on 03-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

1

การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor การผลิตบทเรียนตามมาตรฐานสกอร์ม การผลิตบทเรียนเพ่ือท างานร่วมกับมาตรฐานสกอร์ม เป็นการน าบทเรียนที่ผลิตตามมาตรฐานของศูนย์นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มาแก้ไขเพ่ิมเติม เพ่ือให้บทเรียนดังกล่าวท างานได้ตามมาตรฐานสกอร์ม มีวิธีผลิต 2 วิธี คือ 1. การผลิตบทเรียนในรูปแบบวัตถุการเรียนรู้แล้วเพ่ิมข้อมูลเพ่ือให้เข้ากับมาตรฐานด้วยโปรแกรม Reusable eLearning Object Authoring & Delivery (RELOAD) วิธีนี้จะใช้โปรแกรม RELOAD Editor ส าหรับสร้างโครงสร้างเนื้อหา โดยจะมีการเพิ่มไฟล์ส าหรับการติดต่อระหว่างเนื้อหากับระบบจัดการการเรียนรู้ โดยโปรแกรม RELOAD จะท าการบีบอัดไฟล์ให้โดยอัตโนมัติ 2. การผลิตบทเรียนในรูปแบบวัตถุการเรียนรู้แล้วเพ่ิมข้อมูลให้เข้ากับมาตรฐาน โดยการดึง scorm.api จากนอกไฟล์ด้วย actionscript หรือ Javascript วิธีนี้เป็นการเขียนโปรแกรมด้วย Javascript เพ่ิมลงไปในไฟล์ .html หรือการเขียน actionscript ในซีนของเนื้อหาเพื่อเรียกใช้ฟังก์ชั่นจากไฟล์ scorm.api การใช้โปรแกรม RELOAD

Reusable eLearning Object Authoring & Delivery หรือ RELOAD Editor เป็นโปรแกรมรวบรวมเนื้อหา (Content Package) และ สร้าง

Meta Data ที่พัฒนาโดย JORUM Project ที่ผู้ใช้สามารถน าเนื้อหาของตนเองหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น เว็บเพจ รูปภาพ แฟลชแอนิเมชั่น จาวาแอปเพล็ต มาท าการรวบรวมบรรจุ และอธิบายรายละเอียดของเนื้อหาตามมาตรฐานสกอร์ม เพ่ือให้สื่อสารกับระบบจัดการการเรียนรู้ได ้โดยมีฟังก์ชั่นหลัก ๆ ดังนี้

- รวบรวมเนื้อหาที่สร้างมาจากโปรแกรมอ่ืน

- จัดการการเชื่อมโยงเนื้อหาใหม ่

- เตรียมเนื้อหาเพ่ือใช้กับระบบจัดการการเรียนรู้

- ส่งเนื้อหาไปยังผู้ใช้โดยใช้ฟังก์ชั่น “Save Content Package Preview” RELOAD Editor น าข้อก าหนดด้าน Content Packaging และ Metadata ของ IMS มาใช้ จึง

สามารถ Publish SCORM Package ได้ ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดโปรแกรม ได้จากเว็บ http://www.reload.ac.uk จากนั้นไปที่เมนู Tools & Downloads เลือก The Classic RELOAD Editor

Page 2: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

2

เลือกดาวน์โหลดโปรแกรมแบบ cross-platform ซ่ึงเป็นโปรแกรมแบบจาวา (ต้องการจาวา 1.5 ขึ้นไปในการท างาน)

หลังจากได้ไฟล์เรียบร้อยแล้วให้ unzip ไฟล์ ที่เครื่องแล้วเปิดไฟล์ชื่อ reload-editor.jar เพ่ือเริ่มการท างาน

การสร้างไฟล์ประเภทสกอร์มใหม่ให้ไปที่เมนู File>New>แล้วเลือก SCORM แบบที่ต้องการ สกอร์มแต่ละเวอร์ชั่นจะมีรายละเอียดของไฟล์ที่เพ่ิมเข้าไปในแพ็คเกจต่างกัน

Page 3: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

3

เมื่อเลือกประเภทของสกอร์มเรียบร้อยแล้ว โปรแกรมจะให้เลือกโฟลเดอร์เป้าหมายในการท างาน ซื่งโปรแกรมจะน าไฟล์ที่จ าเป็นส าหรับการท างานไปใส่ไว้ในโฟลเดอร์นี้ รวมถึงเนื้อหาบทเรียนที่ผู้ผลิตเลือกจะถูกส าเนามาไว้ยังโฟลเดอร์นี้เช่นเดียวกัน (RELOAD จะใช้วิธีส าเนาไฟล์จากท่ีอยู่เดิมในฮาร์ดดิสก์มาไว้ยังโฟลเดอร์นี้ก่อนจะท าการบีบอัด)

หลังจากนั้นโปรแกรมจะแสดงหน้าต่างการท างานหลายส่วน ประกอบด้วย 1. ไฟล์ที่โปรแกรมจะเพ่ิมเข้าไปในแพ็คเกจ ไฟล์เหล่านี้จะมีรูปแบบการสื่อสารระหว่างแพ็คเกจกับระบบจัดการการเรียนรู้ ที่บอกให้

Page 4: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

4

ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ การส่งข้อมูลการเรียนระหว่างกัน รวมถึงโครงสร้างของบทเรียนที่ผู้ผลิตได้สร้างข้ึน 2. โครงสร้างของบทเรียนที่เกิดจากผู้ผลิตจัดเรียงไฟล์ต่าง ๆ ตามรูปแบบการเรียนรู้ที่ต้องการ 3. ส่วนของการอธิบายไฟล์ ส่วนเหล่านี้จะปรากฏอยู่ในหน้าสารบัญของบทเรียน เมื่อบทเรียนขึ้นไปอยู่บนระบบจัดการการเรียนรู้

ขั้นตอนถัดมาเป็นการน าทรัพยากรการเรียนเข้ามาในโปรแกรม เพ่ือจัดโครงสร้างของบทเรียน โดยใช้เมนู File> Import Resources

Page 5: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

5

เลือกไฟล์ทรัพยากรที่ต้องการจากฮาร์ดดิสก์

หลังการ Import โปรแกรมจะท าการส าเนาไฟล์ทุกไฟล์ที่เลือก จากที่อยู่เดิม มาใส่ไว้ในโฟลเดอร์ที่เลือกไว้ และจะพบไฟล์เนื้อหาบทเรียนรวมอยู่ในช่องทรัพยากรด้านซ้าย โดยไฟล์เหล่านี้ยังไม่ได้เรียงตามโครงสร้าง เมื่อต้องการจัดโครงสร้างของบทเรียน จะต้องลากไฟล์ที่ต้องการไปทับหัวข้อที่ชื่อ Organizations จากนั้นชื่อของไฟล์จะปรากฏอยู่ในหมวด Resources เรียงตามล าดับการลากวาง ซึ่งผู้ผลิตสามารถจะสลับการเรียงไฟล์ทีหลังได้

Page 6: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

6

เมื่อท าการสร้างโครงสร้างใหม่ โปรแกรมจะก าหนดชื่อ Identifier ในแต่ละชั้นของโครงสร้างให้โดยอัตโนมัติ โดยขึ้นต้นด้วยค าว่า MANIFEST ยกตัวอย่าง หัวเรื่องของบทเรียน ซึ่งเป็นชั้นบนสุดจะพบชื่อ MANIFEST ทีโ่ปรแกรมก าหนดให้ หากผู้ใช้ต้องการเปลี่ยนชื่อหัวเรื่องให้เป็นภาษาไทย สามารถท าได้โดยไปเปลี่ยนในช่อง Value ของ Identifier ข้อมูลเหล่านี้เรียกว่า Metadata ของไฟล์

Page 7: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

7

Identifier ของเนื้อหาแต่ละชิ้นก็เล่นเดียวกัน จะต้องเปลี่ยนให้ครบตามสารบัญที่ออกแบบไว้

Page 8: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

8

หลังจากการเปลี่ยนเรียบร้อยแล้ว จะได้โครงสร้างบทเรียนดังภาพ

Page 9: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

9

ขั้นตอนต่อไปเป็นการ Package เนื้อหาให้รวมอยู่ในไฟล์ .zip ไฟล์เดียว โดยกดปุ่ม Zip Content Package.. เพ่ือท าการบีบอัด แล้วตั้งชื่อไฟล์

Page 10: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

10

การทดสอบบทเรียนร่วมกับ LMS

ระบบจัดการเรียนการสอน

ผู้ผลิตสามารถน าเนื้อหาไปทดสอบบนระบบจัดการการเรียนรู้ โดยการเพ่ิมกิจกรรมประเภท SCORM เข้าไปในหน้าการจัดการสอน แล้ว Upload ไฟล์สกอร์มแบบ .zip ขึ้นไปยังระบบฯ ระบบจัดการการเรียนรู้ที่สนับสนุนสกอร์มจะสามารถอ่านไฟล์ต่าง ๆ ที่อยู่ใน Package ได้โดยไม่ฟ้องข้อผิดพลาด หากขาดไฟล์ที่จ าเป็นส าหรับการติดต่อประเภท .xsd, .xml โปรแกรมจะฟ้องข้อผิดพลาด ไม่สามารถอ่านไฟล์ได้ในขึ้นตอนนี้

Page 11: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

11

Page 12: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

12

Page 13: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

13

หากข้ึนตอนการน าเข้า Package ถูกต้อง จะสามารถเปิดเล่นบทเรียนได้ โดยมีโครงสร้างที่จัดไว้ตรง

กับในโปรแกรม RELOAD Editor

Page 14: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

14

หลังจากผู้เรียนเรียนจบบทเรียน หรือต้องการออกจากบทเรียนกลางคัน จะต้องกดปุ่ม Exit activity

เพ่ือให้บทเรียนส่งข้อมูลไปให้ระบบจัดการการเรียนรู้ทราบว่าผู้เรียนได้เลิกเรียนบทเรียนนี้โดยตั้งใจ แต่ในกรณีที่ไม่มีการกดปุ่มนี้ ระบบจัดการการเรียนรู้จะเข้าใจว่าผู้เรียนเลิกเรียนกลางคันด้วยเหตุสุดวิสัย เช่น ปิดหน้า Browser ทันที ไฟฟ้าดับ เป็นต้น ซึ่งจะถือว่าการเรียนครั้งนี้ไม่สมบูรณ์

Page 15: การสร้างบทเรียนมาตรฐานสกอร์มด้วย RELOAD Editor · C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc ทราบถึงการใช้งานแพ็คเกจ

C:\Users\DELL\Desktop\file\KM scorm[1].doc

15