คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 ·...

22
คณะวิชาช่างยนต์ เสนอโดย อาจารย์ จักรพงษ์ แจ้งเมือง

Upload: others

Post on 10-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

คณะวิชาช่างยนต์

เสนอโดยอาจารย์ จักรพงษ์ แจ้งเมือง

Page 2: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท
Page 3: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

1. กระบวนการเชื่อมโลหะด้วยแก๊ส(Oxy-Acctylene Welding; OAN)

เป็นกระบวนการเชื่อมโลหะด้วยความร้อนจากแก๊สเชื้อเพลิง จนเกิดเป็นบ่อหลอมละลายจากนั้นเติมลวดเชื่อมเปลือย ลงในบ่อหลอมละลายให้เต็มต่อกันจนเป็นแนวเชื่อม โดยก๊าซที่น ามาใช้คือก๊าซอะเซทิลีน และก๊าซออกซิเจน

ภาพที่ 4.1 อุปกรณ์เชื่อมแก๊ส

Page 4: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

2. โครงสร้างและชื่อของชิ้นส่วนอุปกรณ์เชื่อมแก๊ส(Canstruction and Parts Names)

ภาพที่ 4.2 แสดงลักษณะของวาล์วปรับแรงดันก๊าซ

2.1 การปรับแรงดันของเรคกูเรเตอร์ท าอย่างไร?

2.2 กระบอกเชื่อมแก๊สใช้อย่างไร

Page 5: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

ภาพที่ 4.3 ลักษณะของกระบอกเชื่อมแก๊ส

Steel sheet thickness(mm)

Nozzle capacity(No.)

1 to 1.5 1

1 to 2.0 2

2 to 3 3

3 to 5 5

5 to 7 7

ตารางที่ 4.1 แสดงการเลือกใช้ขนาดของหัวทิพ(Nozzle)ที่เหมาะสม

Page 6: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

2.3 แว่นตาเชื่อมแก๊ส(Goggle)

เป็นแว่นตาช่วยกันแสงสว่างจากงานเชื่อม ช่วยให้มองบ่อหลอมละลายได้ชัดเจน และป้องกันสะเก็ดไฟเลนส์ป้องกันแสงของงานเชื่อมแก๊สใช้เบอร์ 5 หรือตามความสว่างของแสงและวัสดุที่ใช้เชื่อม

ภาพที่ 4.4 แสดงแว่นตาเชื่อมแก๊ส

2.4 ที่จุดเปลวไฟ(Spark Lighter)

Page 7: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

ในการจุดเปลวไฟในการเชื่อมห้ามใช้ไฟแช็คจุดไฟ เนื่องจากอาจเกิดการระเบิดหรือโดนลวก เนื่องจากแรงดันของแก๊สออกมามาก จึงต้องใช้ที่จุดเปลวไฟเพื่อป้องกันอันตราย

ภาพที่ 4.5 แสดงที่จุดเปลวไฟ

2.5 เข็มแยงหัวทิพ(Tip Cleaner)

ในการเชื่อมแก๊สจะมีสะเก็ดไฟกระเด็น มาอุดรูหัวทิพจึงท าให้แก๊สหรือเปลวไฟออกไม่สมบูรณ์ เข็มแยงหัวทิพช่วยท าความสะอาดรูของหัวทิพให้มีขนาดความโตเท่าเดิม

Page 8: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

ภาพที่ 4.6 แสดงเข็มแยงหัวทิพ

2.6 ถุงมือเชื่อม(Welding Glove)

การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท าจากหนัง ภายในบุด้วยฉนวนกันความร้อน

ภาพที่ 4.7 ถุงมือเชื่อมแก๊ส

Page 9: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

2.7 ประแจขันอุปกรณ์เชื่อมแก๊ส

ในการขันประกอบชิ้นส่วนเครื่องมือเชื่อมแก๊สจ าเป็นต้องใช้ประแจขันข้อต่อโดยเฉพาะ ไม่ควรใช้ประแจเลื่อนเพราะจะท าให้หัวน๊อตข้อต่อเสียรูปทรง

ภาพที่ 4.8 ประแจขันอุปกรณ์เชื่อมแก๊ส

Page 10: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

3. หลักการพื้นฐาน(Basic Principle)

การเชื่อม Oxy-Acetylene เกิดจากการรวมตัวของแก๊ส Oxygen และ Acetylene โดยให้การเผาไหม้และระเบิดที่รุนแรง

3.1 แก๊สออกซิเจน

3.1.1 การจับถือท่อออกซินเจน

3.1.2 การขนส่งเคลื่อนย้ายท่าแก๊สออกซิเจน

3.1.3 อันตรายจากแก๊สออกซิเจน

3.2 อะเซทิลีน

3.2.1 การใช้แก๊สอะเซทิลีน

3.2.2 การเคลื่อนย้ายท่อแก๊สอะเซทิลีน

Page 11: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

4. การปฏิบัติงาน(Operation)

จะท าการติดตั้งอุปกรณ์ปรับแรงดันของท่อแก๊สอย่างไร?

1. ยึดท่อแก๊สออกซิเจนและอะเซทิลีนเข้าด้วยกัน ป้องกันการล้ม

ภาพที่ 4.9 การยึดท่อก๊าซ

2. เปิดฝาครอบท่อแก๊สทั้ง 2 ออก

ภาพที่ 4.10 การเปิดฝาครอบถังแก๊ส

Page 12: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

3. ปล่อยแก๊สออกมาเล็กน้อย เพื่อไล่ฝุ่นบริเวณปากท่อ

ภาพที่ 4.11 การไล่ฝุ่นปากท่อ

4. ประกอบอุปกรณ์ปรับแรงดันเข้ากับท่อแก๊สทั้ง 2 ท่อ

ภาพที่ 4.12 การติดตั้งวาล์วปรับแรงดันก๊าซ

5. ปล่อยแก๊สออกมาอีกครั้ง เพื่อไล่ฝุ่นละอองที่ติดอยู่ในเรคกูเรเตอร์

6. ประกอบสายยางส่งแก๊สเข้ากับข้อต่อที่เรคกูเรเตอร์

Page 13: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

7. ปล่อยแก๊สออกมาอีกครั้ง เพื่อไล่ฝุ่นละอองในสายยางส่งแก๊ส

ภาพที่ 4.14 การติดตั้งสายยางส่งแก๊ส

5. การปรับเปลวไฟ(ADJUST OF FRAME)

5.1 การปรับเปลวไฟ

5.2 ความส าคัญของเปลวไฟ

5.3 บทเรียนส าหรับการใช้เปลวกลาง

ภาพที่ 4.16 ลักษณะของเปลวไฟเชื่อม

Page 14: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

ภาพที่ 4.17 การปรับเปลวไฟ

6. ลักษณะของแนวเชื่อม

ภาพที่ 4.18 ลักษณะแนวเชื่อม ภาพที่ 4.19 ลักษณะหน้าตัดของแนวเชื่อม

Page 15: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

ภาพที่ 4.20 การเคลื่อนไหวของกระบอกเชื่อมและลวดเชื่อม

ภาพที่ 4.21 การสร้างแนวเชื่อม

Page 16: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

ภาพที่ 4.22 ผลของความเร็วในการเชื่อมที่มีต่อรูปร่างแนวเชื่อม

ภาพที่ 4.23 ลักษณะของการยุบตัวที่ปลายชิ้นงาน

Page 17: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

7. ต าแหน่งท่าเชื่อม แบ่งออกได้ 4 ท่า

ภาพที่ 4.24 ต าแหน่งท่าเชื่อมกับแนวเช่ือมแบบต่าง ๆ

8. ชนิดของรอยต่อและรอยเชื่อม

8.1 ชนิดของรอยต่อ รอยต่องานเชื่อมมีทั้งหมด 5 ชนิด

Page 18: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

ภาพที่ 4.25 ชนิดของรอยต่อ

8.2 รอยเชื่อมบากร่อง แสดงรอยต่อชิ้นงานเหล็กหนา

ภาพที่ 4.26 รอยต่อเชื่อมบากร่องตามท่าเชื่อม

Page 19: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

8.3 ชิ้นงานท่อหนา(ท่ออยู่กับที่)

ภาพที่ 4.27 รอยต่อเชื่อมงานท่อตามท่าเชื่อม

8.4 สัญลักษณ์แนวเชื่อม(Weld Symbols)

1. สัญลักษณ์เบื้องต้น(Element Symbols)

Page 20: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

ตารางที่ 4.2 สัญลักษณ์เบื้องต้นตามแบบมาตรฐานISO

Page 21: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท
Page 22: คณะวิชาช่างยนต์ · 2019-07-16 · การป้องกันความร้อนจากงานเชื่อม จึงต้องสวมถุงมือท

2. การรวมตัวอย่างสัญลักษณ์เบื้องต้น(Combinations of Elementary)

ตารางที่ 4.3 การรวมสัญลักษณ์เบื้องต้นตามมาตรฐาน ISO