โครงการจัดทําแผนแม บท gis แห...

78
รายงานแผนการศึกษา (Inception Report) โครงการจัดทําแผนแมบท GIS แหงชาติ จัดทําโดย คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เสนอตอ สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) สิงหาคม 2545

Upload: others

Post on 08-Aug-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

รายงานแผนการศึกษา (Inception Report) โครงการจดัทําแผนแมบท GIS แหงชาต ิ

จัดทําโดย คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เสนอตอ สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน)

สิงหาคม 2545

Page 2: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

สารบัญ

หนา บทที ่1 บทนาํ

1.1 ความสําคัญของภูมิสารสนเทศ 1-1 1.2 ปญหา GIS ของประเทศ 1-3 1.3 NSDI – แนวทางแกไขปญหา GIS ของประเทศ 1-6 1.4 ผลลัพธจากโครงการ 1-8

บทที ่2 แนวทางการดําเนนิงาน

2.1 แนวคิดหลักในการจัดทาํแผนแมบท GIS แหงชาต ิ 2-1 2.2 แนวทางการจัดทาํแผนแมบท GIS แหงชาต ิ 2-4 2.3 แผนดําเนินการ 2-9

บทที ่3 NSDI และสถานภาพ NSDI ประเทศไทย 3.1 ชุดขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐาน 3-1 3.2 มาตรฐานขอมูล 3-8 3.3 ระบบคนหาและใหบริการขอมูล 3-11 3.4 นโยบายระดับชาตเิกี่ยวกับ NSDI 3-17 บทที ่4 การพัฒนาบคุลากร 4.1 การพัฒนาดานกําลังคน 4-2 4.2 งานวจิัย 4-6 4.3 การบริการวิชาการแกสังคม 4-10 บทที ่5 องคประกอบอืน่ที่จําเปนตอการพัฒนา GIS 5.1 การพัฒนาดานซอฟทแวร 5-1 5.2 โครงสรางพ้ืนฐานการใหบริการเชิงตําแหนง 5-6 5.3 การเชื่อมโยงขอมูล / ใชขอมูล Remote Sensing รวมกับ GIS 5-11 บทที ่6 บทสรุป 6.1 ความจาํเปนของ NSDI 6-1 6.2 องคประกอบของการพัฒนาทางดานภูมิสารสนเทศ 6-3 6.3 การดาํเนินงานขั้นตอไป 6-4

Page 3: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

1 - 1

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

1. บทนํา

1.1 ความสาํคัญของภมูสิารสนเทศ

งานพฒันาประเทศดานตางๆ จํานวนมากจําเปนตองอาศัยภูมิสารสนเทศ (Geoinformatics) ซ่ึงปรากฏอยูในหลายรูปแบบ เชน แผนท่ี ภาพถายทางอากาศ หรือภาพดาวเทียม เปนองคประกอบสําคัญในงานน้ัน ไมวาจะเปน

∏ การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคของประเทศ เชน โครงขายถนน คลองชลประทาน ระบบสงและระบบจําหนายไฟฟา ซ่ึงตองอาศัยแผนท่ีต้ังแตข้ันตอนการวางแผน ออกแบบ กอสราง และการบํารุงรักษา

∏ การวางแผนเพื่อปองกันและแกไขปญหาภัยพิบัต ิ เชน การวิเคราะหเพ่ือหาพื้นที่ที่เสี่ยงตออุทกภัย การวางแผนเพ่ือปองกันและแกไขปญหานํ้าทวมในพ้ืนท่ีตาง ๆ ของประเทศ การวางแผนเพ่ือปองกันและแกไขปญหาดาน

แผนดินถลม

∏ การวิเคราะหเพื่อหาพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการเพาะปลูก พืชแตละชนิดมีความเหมาะสมกับสภาพดิน สภาพภูมิประเทศ และสภาพภูมิอากาศที่แตกตางกันไป เน่ืองจากท่ีดินมีจํากัด การใชประโยชนสูงสุดจากท่ีดินจึงจําเปนตองมีการวิเคราะหเพื่อหาศักยภาพวาในแตละพื้นที่มีความเหมาะสม

สําหรับพืชเศรษฐกิจชนิดใดบาง

∏ การเฝาระวังและติดตามการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรของประเทศ เชน การติดตามการบุกรุกพ้ืนท่ีปา หรือการตรวจสอบการถูกกัดเซาะของชายฝง ซ่ีงใชภาพดาวเทียมท่ีใหมกวามาซอนทับขอมูลแผนท่ีเกาซึง่ถือไดวาเปนวิธีการท่ี Cost-effective ท่ีสุดสําหรับกิจกรรมทางดานน้ี ดังแสดงตัวอยางในรูปท่ี 1 .1 โดยเฉพาะอยางย่ิงในกรณีท่ีเปนการตรวจสอบพ้ืนท่ีเปนบริเวณกวางหรือพ้ืนท่ีท่ีเขาถึงไดยาก เชน ปาบนภูเขา ปาชายเลน เปนตน

Page 4: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

1 - 2

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

∏ การปองกันประเทศ โดยหนวยงานความม่ันคง เชน ทหาร ตํารวจตระเวนชายแดน

รูปที่ 1.1 ภาพดาวเทียมป 2542 แสดงใหเห็นแนวชายฝงปจจุบนั (ชี้ดวยลูกศรเสนประ) ของพื้นที่บริเวณ

ตําบลแหลมฟาผา จ.สมุทรปราการ ซึ่งถูกกัดเซาะเปนอยางมากเมื่อเทียบกับแนวชายฝงเดิม (ลูกศรเสนทบึ) เม่ือป 2525 จากแผนที่ภูมิประเทศ (ท่ีมา: โครงการจัดทําบญัชีทรัพยากรชายฝงทะเลป 2 5 4 3 กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม)

ไมเพียงแตงานของภาครัฐเทานั้นที่จําเปนตองใชภูมิสารสนเทศ ภาคธุรกิจจํานวนมากก็อาศัยประโยชนท่ีจะไดจากสารสนเทศภูมิศาสตรดวย เชน การนําพิกัดตําแหนงของยานพาหนะท่ีรังวัดดวยดาวเทียม GPS (Global Positioning System) ท่ีถูกบันทึกไว แลวนํามาคํานวณหาความเร็วและอัตราเรงในแตละชวงเวลาเพื่อตรวจสอบพฤติกรรมของผูขับข่ียานพาหนะวาเปนไปในลักษณะท่ีกอใหเกิดอันตราย สิ้นเปลืองเชื้อเพลิง หรือกอใหเกิดความสึกหรอหรือไม หรือการวิเคราะหโครงขายถนนเพื่อหาเสนทางที่เหมาะสมที่สุดในแตละขณะเวลาเพื่อทําใหการลําเลียงสินคาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและลดตนทุนทางดานขนสง หรืองานดานอ่ืน ๆ อีก

จํานวนมากท่ีภูมิสารสนเทศจะอํานวยประโยชนใหในทางใดทางหนึ่ง ความสําคัญของภูมิสารสนเทศจะเห็นไดชัดเจนเปนรูปธรรมมากขึ้นจากการศึกษาของ Ordnance Survey ซึ่งเปนหนวยงานแผนที่แหงชาติของสหราช

Page 5: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

1 - 3

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

อาณาจักรซึ่งชี้ใหเห็นวา กิจกรรมทางเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักรท่ีจําเปนตองใชหรือไดประโยชนจากภูมิสารสนเทศมีมูลคารวมกันถึงรอยละ 6 0 ของผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ ( G D P )

จากความสําคัญของภูมิสารสนเทศ ผนวกกับสภาพสังคมสมัยใหมที่เนนเรื่องประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานไดเปนแรงผลักดันที่ทําใหหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนนําเอาเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอรผนวกเขากับภูมิสารสนเทศเพ่ือพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติงานใหรวดเร็วเปนอัตโนมัติมากข้ึน ระบบสารสนเทศท่ีอาศัยภูมิสารสนเทศเปนตัวขับเคล่ือนสาํคัญน้ีมีช่ือเรียกรวม

โดยท่ัวไปวาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System, GIS)

1.2 ปญหา GIS ของประเทศ

ในขณะที่องคประกอบอ่ืน ๆ ของระบบ เชน คอมพิวเตอร อุปกรณตอพวง ระบบเครือขาย ซอฟทแวร สามารถจัดซื้อจัดหามาไดโดยไมยาก องคประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรท่ีถือไดวามีความยากลําบากในการพัฒนาคือโปรแกรมประยุกต (Application Programs) และฐานขอมูลปริภูม ิ (Spatial Database) ท่ีบรรจุภูมิสารสนเทศ ในสวนของโปรแกรมประยุกตเม่ือพิจารณาจะเห็นวาโปรแกรมประยุกตจะตองถูกออกแบบใหชวยการปฏิบัติงานของแตละองคกรซ่ึงมีความ

แตกตางกันไป เชน การสรางถนน การสรางระบบจําหนายไฟฟา การขนสง การวางแผนปองกันประเทศ ฯลฯ จึงเปนหนาท่ีของแตละหนวยงานซ่ึงมีความรูความเขาใจในภารกิจของตนเองท่ีดําเนินการอยูดีกวาผูอ่ืนท่ีจะตองเปนผูรับผิดชอบในการ

พัฒนาโปรแกรมประยุกตที่เหมาะสมขึ้นมาใชงานเอง

ในสวนของภูมิสารสนเทศที่บรรจุอยูในฐานขอมูลปริภูมิของระบบตาง ๆ โดยท่ัวไปจะมีโครงสรางการจัดเก็บเปนกลุม ๆ ซ่ึงมีศัพทท่ีเรียกกันวาช้ันขอมูล (Layer) เชน ชั้นขอมูลถนนซึ่งจะจัดเก็บแนวถนนพรอมขอมูลประกอบ เชน ชื่อถนน จํานวนชองทางจราจร ชั้นขอมูลเขตการปกครองภายในประเทศ ซึ่งจัดเก็บขอบเขตของจังหวัด อําเภอ ตําบล พรอมขอมูลประกอบ เชน ชื่อเขตการปกครอง เน้ือท่ี จํานวนประชากร หรือช้ันขอมูลโรงเรียนซ่ึงจัดเก็บตําแหนงโรงเรียนพรอมขอมูลประกอบเชน ชื่อโรงเรียน จํานวนนักเรียน ประเภทของโรงเรียน

Page 6: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

1 - 4

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

เปนตน หากวิเคราะหช้ันขอมูลท่ีจําเปนสําหรับระบบสารสนเทศภูมิศาสตรแตละระบบจะพบวาสามารถจําแนกออกเปนสามกลุมใหญไดแก

1. ชั้นขอมูลรวม (Common Layer) เปนชั้นขอมูลที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรไมวาของหนวยงานใดจําเปนตองใช เชน ชั้นขอมูลถนน ช้ันขอมูลเขตการปกครอง ชั้นขอมูลแมน้ําลําธาร เปนตน

2. ชั้นขอมูลเฉพาะสําหรับแตละธุรกิจ (Sector-specific Layers) เปนช้ันขอมูลท่ีหนวยงานในธุรกิจหรือการดําเนินงานดานเดียวกันมีความจําเปนตองใช แตหนวยงานในธุรกิจหรือการดําเนินงานดานอื่นไมมีความจําเปน เชน หนวยงานในกลุมธุรกิจการทองเที่ยวมีความตองการชั้นขอมูลโรงแรมแตหนวยงานในธุรกิจคาปลีกและขนสงนํ้ามันไมมีความจําเปนตองใชช้ันขอมูลน้ี

3. ชั้นขอมูลเฉพาะของหนวยงาน (Organization-specific Layers) เปนชั้นขอมูลที่เฉพาะเจาะจงของแตละหนวยงานอ่ืนเอง เชน ตําแหนงมิเตอรไฟฟาของการไฟฟานครหลวง ตําแหนงฝาทอระบายนํ้าของสํานักการ

ระบายนํ้า

รูปท่ี 1.2 แสดงใหเห็นถึง FGDS เปนชั้นขอมูลรวมที่ปรากฏในทุกระบบ GIS

จากขางตน จะเห็นไดชัดเจนถึงความสําคัญของชั้นขอมูลรวมในฐานะที่เปนชั้นขอมูลที่เกี่ยวของกับผูใช GIS ทุกกลุม ดังแสดงในรูปที ่1.2 ชั้นขอมูลรวมเปนกลุมขอมูลภูมิสารสนเทศที่มีความถี่การใชงานสูง นอกจากนี้ยังมีลักษณะเปนพื้นฐาน

Page 7: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

1 - 5

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

การอางอิงตําแหนงของขอมูลกลุมอ่ืน เชน ขอมูลเศรษฐกิจสังคมเกือบท้ังหมดจะอางอิงอยูกับเขตการปกครองและสามารถเช่ือมโยงเขาหาเขตการปกครองเพ่ือผลิตเปนแผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic Maps) แบบตาง ๆ ดังแสดงในรูปที ่ 1.3 หรือตําแหนงของสถานท่ีตาง ๆ เชน สถานท่ีราชการ โรงเรียน สถานีบริการนํ้ามัน ฯลฯ ก็จะอางอิงอยูกับถนน ชั้นขอมูลรวมจึงมีชื่อเรียกที่สะทอนใหเห็นถึงความสําคัญนี้วาชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน (Fundatmental Geographic Data S e t , F G D S )

รูปท่ี 1.3 แผนที่แสดงปริมาณและชนดิของผลผลิตพืชตามอําเภอตาง ๆ (ท่ีมา: โครงการพัฒนาฐานขอมูลปริภูมิ

เพื่อการคาการขนสงระยะที ่ 2 , 2 5 4 4 , สถาบันพาณิชยนาว ี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)

เมื่อพิจารณาภาพรวมในระดับประเทศ พบวาปญหาใหญในการพัฒนาพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร คือ ขาดชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานที่มีความทันสมัย ทําใหหนวยงานตองลงทุนพัฒนาขึ้นเอง และเมื่อแตละหนวยงานพยายามที่จะแกไขปญหาดานขอมูลท่ีเกิดข้ึนดวยตนเอง จึงเกิดสภาพการลงทุนจัดทําขอมูลที่ซ้ําซอนขึ้น กอใหเกิดความสูญเสียทั้งในเชิงงบประมาณและกําลังคนจํานวนมาก

ประเด็นเรื่องความทันสมัยมิไดเปนสาเหตุเพียงประการเดียวของความสูญเสียจากการจัดทําขอมูลซํ้าซอนกันเทาน้ัน แตยังมีสาเหตุอ่ืนหลายประการ เชน

Page 8: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

1 - 6

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

∏ การท่ีประเทศไทยยังขาดมาตรฐานท่ีเก่ียวของกับภูมิสารสนเทศท่ียึดถือรวมกันในวงกวาง ทําใหชั้นขอมูลที่พัฒนาโดยหนวยงานหนึ่งเมื่อนําไปใชรวมกับชั้นขอมูลที่พัฒนาโดยอีกหนวยงานหนึ่งอาจไมสามารถทํางานรวมกันได สงผลใหหนวยงานที่ตองการหลีกเลี่ยงปญหานี้เลือกที่จะพัฒนาทุกชั้น

ขอมูลเอง

∏ ประเทศไทยขาดนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับเงื่อนไข ขอจํากัด สิทธิ์ในการใชภูมิสารสนเทศ ซึ่งทําใหเปนอุปสรรคในการเผยแพรขอมูลและการใชขอมูล

รวมกัน

∏ ประเทศไทยขาดกลไกสําหรับการคนหาภูมิสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นแลวจํานวนมากท่ีกระจัดกระจายอยูตามหนวยงานตาง ๆ รวมทั้งกลไกที่ใหบริการดานตาง ๆ เชนดานเรียกดู หรือ การแลกเปล่ียนขอมูล กลไกหรือระบบการคนหาและใหบริการขอมูลน้ีเรียกวา S p a t i a l D a t a C l e a r i n g h o u s e

ปญหาตาง ๆ ท่ีกลาวมาขางตนมิไดเกิดข้ึนเฉพาะกับประเทศไทยเทาน้ัน หากเปนปญหารวมท่ีประสบในทุกประเทศจนอาจกลาวไดวาสภาพปญหาท่ีเกิดข้ึนเปนข้ันตอนหน่ึงของกระบวนการวิวัฒนาการของการพัฒนา GIS โดยเม่ือนําประสบการณของประเทศที่ไดพัฒนา G I S มากอนและมีความกาวหนามากกวาประเทศไทยประกอบกับประเด็นปญหาท่ีไดกลาวไวขางตน อาจสรุปไดวา สาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดปญหาในการพัฒนา GIS คือ ประเทศไทยยังขาดโครงสรางพื้นฐานทางดานขอมูลปริภูม ิ ( S p a t i a l D a t a I n f r a s t r u c t u r e ) ซึ่งประกอบดวย

∏ ชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน

∏ ระบบคนหาและบริการขอมูล

∏ มาตรฐานขอมูล

∏ นโยบายระดับชาติเก่ียวกับองคประกอบท้ังสามสวนขางตน

Page 9: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

1 - 7

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

1.3 NSDI - แนวทางแกไขปญหา GIS ของประเทศ

แนวทางท่ีกลาวไดวาเปนหัวใจของการแกไขปญหาทางดาน G I S ของประเทศไทยคือการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางดานขอมูลปริภูมิของประเทศ ( N a t i o n a l Spatial Data Infrastructure, NSDI) ขึ้น เพื่อเปนรากฐานที่จะทําใหการพัฒนาภูมิสารสนเทศสวนอ่ืน ๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ อํานวยความสะดวกใหกับหนวยงานตาง ๆ ที่จะสามารถพัฒนา GIS สําหรับสนับสนุนภารกิจของตนเองโดยไมตองลงทุนซํ้าซอนอยางเชนท่ีเปนมาในอดีต ตลอดจนทําใหสังคมโดยท่ัวไปสามารถเขาถึงและใชงานจากภูมิสารสนเทศที่ลงทุนพัฒนาไวแลวเปนจํานวนมากไดดีกวาที่ผานมา เพื่อประโยชนโดยรวมของประเทศ

การแกไขปญหาทางดาน GIS และการพัฒนา GIS ตอไปของประเทศไทยจึงอยูท่ีการพัฒนา NSDI ที่เหมาะสมของประเทศขึ้น ซ่ึงงานสวนน้ีมิอาจดําเนินการไดโดยหนวยงานใดหนวยงานเพียงลําพัง เน่ืองจากโดยขอเท็จจริง ช้ันขอมูลท่ีถือเปน F G D S ของประเทศอยูในความดูแลรับผิดชอบของหลายหนวยงาน ตลอดจนองคประกอบอ่ืนของ NSDI เชน มาตรฐาน ก็จําเปนตองอาศัยความยอมรับในวงกวางของหนวยงานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ นอกจากน้ี ประเด็นในเร่ืองนโยบายซ่ึงเปนเร่ืองจําเปนแตจะกําหนดข้ึนมาไดจําเปนตองไดรับการศึกษาวิเคราะหอยางดีกอน เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพการณและเปนไปไดในทางปฏิบัติ การพัฒนา NSDI จึงจําเปนตองมีแผนระดับชาติรองรับเพ่ือใหหนวยงานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของยึดถือปฏิบัติไป

ในแนวทางเดียวกันและสอดคลองกัน

แผนแมบท G I S แหงชาติที่จะจัดทําขึ้นนี้จึงมีความจําเปนอยางยิ่งตอประเทศ ทั้งนี้การจัดทําแผนแมบท G I S แหงชาติมีวัตถุประสงคดังตอไปน้ี

1. เพ่ือใหไดขอเสนอเชิงนโยบาย และกลยุทธที่จะนําไปสูการแกไขปญหาการจัดทําขอมูลซํ้าซอนและอุปสรรคในการใชขอมูลรวมกัน โดยแผนกลยุทธจะครอบคลุมเน้ือหาในหัวขอหลกั ไดแก ชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน มาตรฐานขอมูล G IS กลไกการคนหาและบริการขอมูล การประยุกตใชขอมูล G I S รวมถึงมาตรการแผนงานโครงการและแผนการ

ลงทุน

Page 10: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

1 - 8

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

2. เพ่ือใหไดขอเสนอเชิงนโยบายเก่ียวกับบทบาทของหนวยงานหลักทางดานสารสนเทศภูมิศาสตรที่สอดคลองกับแผนกลยุทธตามวัตถุประสงคขอที่ 1 ขางตน ในการสงเสริมสนับสนุนใหกลุมผูใชตาง ๆ ในสังคมใหสามารถใช

ประโยชนจากสารสนเทศภูมิศาสตรอยางเต็มท่ี

3. จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายและกลยุทธ รวมถึงแนวทางและมาตรการดําเนินการ ใหอยูในรูปแผนแมบทสําหรับเปนกรอบแนวทางของประเทศไทยในชวงแผนพัฒนาฉบับที่ 9 รวมถึงขอเสนอแนวทางในการนําเอาแผนแมบทดังกลาวไปสูการปฏิบัติ โดยใหมีรายละเอียดแยกเปนรายประเด็นตามวัตถุประสงคขอท่ี 1 และ 2 ตามลาํดับ

1.4 ผลลัพธจากโครงการ

ผลลัพธจากโครงการจัดทําแผนแมบท G I S แหงชาติประกอบดวย

∏ รายงานผลการศึกษา วิเคราะห และการออกแบบพัฒนา NSDI พรอมแผนงาน โครงการ และแผนการลงทุน ของหนวยงานหลัก และหนวยงานท่ี

เก่ียวของ

∏ แผนแมบท G I S แหงชาติ ซึ่งประกอบดวย

1. ขอเสนอเชิงนโยบายใหกับรัฐบาลในประเด็นตาง ๆ ท่ีจําเปนตอความสําเร็จของการพัฒนา N S D I ของประเทศ

2. บทสรุปสําหรับผูบริหาร

3. แผนพัฒนาชุดขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานของประเทศท่ีมาตราสวนตาง ๆ

4. แผนการดําเนินการดานมาตรฐานตาง ๆ ทางดานภูมิสารสนเทศ เชน มาตรฐาน Metadata มาตรฐานความถูกตองเชิงตําแหนง มาตรฐานดานรูปแบบการแลกเปล่ียนขอมูล เปนตน

5. แผนพัฒนากลไกการคนหาและบริการขอมูล

Page 11: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

1 - 9

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

6. แผนการพัฒนากําลังคนดานภูมิสารสนเทศ ทั้งระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว ตลอดแผนการพัฒนาในระดับการศึกษารากหญา ระดับปริญญาตรี โท เอก

7. แผนพัฒนางานวิจัยทางดานภูมิสารสนเทศ ทั้งวิจัยพื้นฐาน วิจัยประยุกต

8. แผนพัฒนาซอฟทแวร GIS ซอฟทแวรทางดาน Remote Sensing และซอฟทแวรอื่น ๆ ทางดานภูมิสารสนเทศ

9. แผนการบริการวิชาการดาน G I S แกสังคมและหนวยงานที่เกี่ยวของ

10. แผนพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสําหรับการใหบริการเชิงตําแหนง (Location-based Service) เชน การใหบริการ DGPS การใชประโยชนรวมกันของสถานีฐาน GPS/ การต้ังสถานีฐานครอบคลุมทั่ว

ประเทศ

11. แผนสงเสริมใหเกิดการเชื่อมโยงขอมูล/ใชขอมูล Rem o te Sens ing รวมกับ G I S เพ่ือใหเกิดการประยุกตใชในงานดานตาง ๆ

Page 12: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 1

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

2. แนวทางการดําเนินงาน

2.1 แนวคดิหลกัในการจดัทําแผนแมบท GIS แหงชาต ิ

แนวคิดหลักท่ีคณะท่ีปรึกษาจะยึดถือเปนพ้ืนฐานในการดําเนินการศึกษาเพ่ือจัดทําแผนแมบท G I S แหงชาติ มีดังตอไปนี้

1. ยึดถือความหมายของคําวาภมิูสารสนเทศในเชิงกวาง

2. เนนการมีสวนรวมของประชาคมหรือผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders) เก่ียวกับงานทางดานภูมิสารสนเทศ

3. ยึดถือแนวคิดโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศปริภูมิ เปนแนวคิดหลักในการวิเคราะหปญหา

4. ยึดถือตามภาระหนาที่ของหนวยงานที่มีอยูในปจจุบัน คณะท่ีปรึกษาจะหลีกเล่ียงการเสนอใหต้ังหนวยงานใหมหรือคณะกรรมการชุดใหม ยกเวนในกรณีท่ีวิเคราะห

แลวเห็นวามีความจําเปน

รายละเอียดของแนวคิดแตละดานอยูในหัวขอ 2 . 1 . 1 – 2 . 1 . 4

2.1.1 ความหมายของภูมิสารสนเทศ

ภูมิสารสนเทศปรากฏอยูไดในหลายรูปแบบ กอปรกับการผลิตภูมิสารสนเทศเพื่อใชงานมักจะตองเก่ียวของกับเทคโนโลยี รูปแบบขอมูล และแหลงขอมูลหลายแหลง การวิเคราะหปญหาเก่ียวกับ G I S ในระดับชาติจึงจําเปนตองพิจารณาความหมายของคําวาภูมิสารสนเทศในเชิงกวาง โดยในโครงการน้ี คณะท่ีปรึกษาจะถือวา ภูมิสารสนเทศ หมายถึงขอมูลเชิงตําแหนงทุกชนิด ไมวาจะอยูในลักษณะท่ีเปนเอกสารหรือเชิงเลข (Digital) หรือจะไดมาจากกระบวนการหรือกรรมวิธีใด โดยนัยนี้ภูมิสารสนเทศจึงหมายถึง แผนที่ ภาพถายทางอากาศ ภาพดาวเทียม ขอมูลเวคเตอร แบบจําลองภูมิประเทศเชิงเลข ตลอดจนขอมูลจากการสํารวจรังวัดทุกชนิดไมวาจะเปนการรังวัดแบบด้ังเดิม (Conventional Survey) หรือจากการรังวัดสมัยใหมดวยสัญญาณดาวเทียม GPS ฯลฯ

Page 13: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 2

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

2.1.2 การมสีวนรวมของ Stakeholders

ภูมิสารสนเทศมีความเกี่ยวของกับทุกฝายในสังคมไมวาจะเปนหนวยงานผูผลิตขอมูล หนวยงานผูใชขอมูล กลุมผูใชหลัก (Heavy Users) และกลุมผูใชทั่วไป (Marginal Users) ซ่ึงเปนกลุมท่ีใชประโยชนจากภูมิสารสนเทศเปนคร้ังคราวแตเปนกลุมท่ีใหญท่ีสุดในสังคม ทุกกลุมที่กลาวมาลวนแตไดรับผลกระทบจากภูมิสารสนเทศ ไมวาจะเปนในเชิงบวกจากการท่ีมีขอมูลท่ีถูกตอง ทันสมัย ใชงานงาย มีราคาท่ีเหมาะสม หรือในเชิงลบ

ในสถานการณท่ีตรงขามกัน

จากขอเท็จจริงดังกลาว แนวคิดสําคัญอีกประการหน่ึงของคณะท่ีปรึกษาในระหวางการดําเนินการจัดทําแผนแมบท GIS แหงชาติ คือจะเนนการมีสวนรวมในวงกวางของทุกฝายท่ีเก่ียวของ โดยจะแบงออกเปน S e c t o r ตาง ๆ ดังน้ี

√ ภาครัฐที่เปนผูผลิตขอมูล

√ ภาครัฐที่เปนผูใชขอมูล

√ หนวยงานทองถ่ิน

√ ภาคการศึกษา

√ ภาคธุรกิจ

การเปดโอกาสให Sector ตาง ๆ ในสังคมเขามามีสวนรวมในทางใดทางหนึ่งในการจัดทําแผนแมบท G I S แหงชาติจะประกอบดวยสองแนวทาง คือ

1. ผานทางคณะกรรมการจํานวนสองชุด ท่ีคณะท่ีปรึกษาจะเสนอต้ังข้ึนในระหวางการจัดทําแผนแมบทน้ี โดยความเห็นชอบของ สทอภ คือ

Λ Working Committee ประกอบดวยตัวแทนหนวยงานของภาครัฐท่ีมีการผลิตขอมูล หนวยงานภาครัฐท่ีเปนผูใชขอมูลรายใหญ ตัวแทนภาคเอกชนท่ีทําธุรกิจเกี่ยวกับพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศหรือรับจางจัดทําภูมิสารสนเทศ หรือบริษัทวิศวกรท่ีปรึกษาท่ีมกีารใชงานภูมิสารสนเทศ ตัวแทนหนวยงานทองถ่ิน เชน กรุงเทพมหานคร เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล และตัวแทนสถาบันการศึกษาท่ีมีการเรียนการสอนการวิจัยเก่ียวภูมิสารสนเทศ เปนตน ทั้งนี้ อาจมีการแตงตั้งคณะทํางานวิชาการ

Page 14: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 3

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

เฉพาะเร่ืองในแตละองคประกอบของ N S D I ตามความจําเปน โดยความเห็นชอบของ สทอภ. โดยจะมีการประชุมระหวางคณะที่ปรึกษาและ Working C o m m i t t e e อยางนอย 8 ครั้งตลอดชวงการทําแผน

Λ Advisory Committee ประกอบดวยผูบริหารระดับสูงของหนวยงานภาครัฐท่ีเปนผูผลิตขอมูลหรือเปนผูใชขอมูลรายใหญ และบุคลากรท่ีมีบทบาทสําคัญในแวดวงภูมิสารสนเทศจาก Sector อ่ืน ๆ อีกจํานวนหน่ึง โดย Advisory C o m m i t t e e จะทําหนาท่ีใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะใหกับคณะท่ีปรึกษาโดยเฉพาะอยางย่ิงในประเด็นท่ีเก่ียวกับการจัดทํากลยุทธและแนวนโยบาย

2. การจัดประชุมใหญซึ่งคณะที่ปรึกษาจะจัดขึ้นจํานวนสองครั้ง ในข้ันตอนท่ีสําคัญสองข้ันตอนของการจัดทําแผนแมบทน้ีคือ

Λ ข้ันตอนการตรวจสอบสภาพการณและขอเท็จจริง และ

Λ ข้ันตอนการนําเสนอรางแผนแมบทเพ่ือรับฟงขอคิดเห็นขอวิจารณ

2.1.3 แนวคิด NSDI

ดังไดสรุปไวแลวในบทนําเก่ียวกับความจําเปนของ NSDI หรือโครงสรางพื้นฐานขอมูลปริภูมิแหงชาติในฐานะที่เปนรากฐานการพัฒนา G I S ของประเทศ โดย N S D I

ประกอบดวย

√ ชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน

√ ระบบคนหาและบริการขอมูล

√ มาตรฐานขอมูล

√ นโยบายและกรอบการบริหารจัดการ

คณะท่ีปรึกษาจะทําการสรุป วิเคราะห และกําหนดรายละเอียดที่เหมาะสมสําหรับของแตละองคประกอบใน N S D I สําหรับประเทศไทยตอไป

Page 15: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 4

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

2.1.4 หนวยงานรับผดิชอบ

เพ่ือใหมีผลในทางปฏิบัติ แตละองคประกอบของ NSDI จําเปนตองมีการกําหนดหนวยงานดูแลรับผิดชอบอยางชัดเจน เพื่อใหการแกไขปญหาและการพัฒนาเปนไปอยาง

มีประสิทธิภาพ

ในเบ้ืองตน คณะท่ีปรึกษาไดกําหนดหนวยงานหลักท่ีถือไดวาเปนหัวใจของการพัฒนาภูมิสารสนเทศของประเทศเนื่องจากมีภารกิจที่เกี่ยวของกับ NSDI ไวดังน้ีไดแก กรมแผนท่ีทหาร กรมการผังเมือง กรมการปกครอง สํานักงานสถิติแหงชาติ กรมพัฒนาที่ดิน กรมปาไม กรมชลประทาน และกรมทางหลวง โดยหนวยงานเหลาน้ีมีความเก่ียวของกับการพัฒนาชุดขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานท่ีมาตราสวนตาง ๆ นอกจากน้ียังมีสํานักงานพฒันาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศที่เกี่ยวของในเชิงมาตรฐานและนโยบายและเปน

หนวยงานประสานในการพัฒนา N S D I

คณะท่ีปรึกษาจะทําการวิเคราะหภารกิจของหนวยงานเพ่ือสรุปความเหมาะสมวาในแตละองคประกอบของ NSDI ควรจะอยูในความดูแลของหนวยงานใด โดยขอเสนอใด ๆ เกี่ยวกับการดําเนินงานทางดานภูมิสารสนเทศจะยึดถือตามภาระหนาที่ของหนวยงานน้ันเปนหลัก และอาจเสนอเพิม่เติมหรือปรับเปล่ียนใหเหมาะสมตามผลการศึกษา คณะท่ีปรึกษาจะไมเนนการเสนอตั้งหนวยงานใหม หรือการต้ังคณะกรรมการท่ีมีบทบาทภาระหนาที่ซ้ําซอนกับหนวยงานของรัฐที่มีอยูแลว ในกรณีที่มีความซ้ําซอนที่เกิดขึ้นแลวหรือกําลังจะเกิด คณะท่ีปรึกษาจะนําเสนอใหกําหนดวาหนวยงานใดควรเปนหนวยงานหลักหรือหนวยงานรอง และจะมีกลไกหรือมาตรการใดในการเช่ือมโยงใหเกิดการแลกเปล่ียน และประสานงานรวมกัน

2.2 แนวทางการจดัทําแผนแมบท GIS แหงชาต ิ

จากแนวคิดดานตาง ๆ ท้ัง 4 ดาน ไดแก 1) การกําหนดความหมายของภูมิสารสนเทศในวงกวาง 2) การเนนการมีสวนรวมของประชาคมและผูมีสวนไดสวนเสียโดยการตั้งคณะกรรมการชั่วคราวเขามามีสวนรวมในการจัดทําแผนแมบท ไดแก W o r k i n g Committee และ Advisory Committee 3) การถือแนวคิด NSDI ในการวิเคราะหปญหา และ 4) การยึดถือภาระหนาท่ีในปจจุบันของหนวยงานเปนหลัก และพิจารณามติที่สําคัญที่เก่ียวของของคณะกรรมการแหงชาติชุดตาง ๆ ซ่ึงท้ังหมดคณะท่ีปรึกษาไดนํามากําหนด

เปนแนวทางการจัดทําแผนแมบทดังน้ี

Page 16: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 5

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

1. การตรวจสอบสภาพการณและขอเท็จจริง

2. การวิเคราะหเพ่ือกําหนดแนวทางการแกปญหาและการพฒันา G I S

3. การกําหนดกลยุทธและแผนการพัฒนา

4. การสรุปผลการศึกษาเปนแผนแมบท G I S แหงชาติ

2.2.1 การตรวจสอบสภาพการณและขอเท็จจริง

การตรวจสอบสภาพการณและขอเท็จจริงเปนการสรุปขอเท็จจริงและประเด็นปญหาทางดานภูมิสารสนเทศกอนท่ีจะนําเอาขอมูลที่ไดไปวิเคราะหเพื่อกําหนดแนวทางการแกไขปญหาในข้ันตอนตอไป ขั้นตอนนี้จึงมีความสําคัญ เน่ืองจากหากขอมูลท่ีไดไมสมบูรณหรือผิดเพ้ียนไปยอมสงผลตอผลการศึกษาสวนอ่ืน ๆ ที่ตามมา การดําเนินงานสวนน้ี

ประกอบดวย

√ การรวบรวมขอมูลท้ังจากประสบการณของท่ีปรึกษาเอง จากการศึกษาตาง ๆ ในอดีตทั้งภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนจากการสํารวจสอบถามเพ่ิมเติม แลวประมวลนําเสนอตอ Working Committee เพื่อพิจารณาใหขอคิดเห็นและให

ขอมูลเพิ่มเติม

√ การสรุปผลการศึกษาท่ีเก่ียวของกับภูมิสารสนเทศท่ีเคยดําเนินการมาแลวในอดีต เชน การศึกษาเก่ียวกับมาตรฐานขอมูลหรือมาตรฐาน Metadata การรวบรวมและจัดทําฐานขอมูลดานภูมิสารสนเทศของ สทอภ. หนวยงานหลักและหนวยงานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ แผนกลยุทธของหนวยงานตาง ๆ เพ่ือสรุปปญหาและแนวทางแกปญหาดานตาง ๆ ท่ีไดเคยมีการเสนอไวในอดีต รวมทั้งสรุปเปรียบเทียบรายงานหรือผลการศึกษาของหนวยงานระดับชาติทางดานสารสนเทศภูมิศาสตรในตางประเทศ เชน Ordnance Suvey, USGS (United States Geological Survey), GeoAustralia (ช่ือเดิมของ GeoAustralia คือ Australian Surveying a n d L a n d I n f o r m a t i o n G r o u p , A U S L I G ) เปนตน

√ รวมกับ สทอภ. ในการกําหนด Advisory Committee และ Working Committee

√ การจัดประชุมใหญเพ่ือเสนอผลการศึกษาในสวนน้ีใหท่ีประชุมซ่ึงประกอบดวยตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ ทองถ่ิน และภาคการศึกษาท่ัวประเทศ

Page 17: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 6

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ประมาณ 150 คน โดยความเห็นชอบของ สทอภ. เพ่ือเปนการตรวจสอบและรับฟงความคิดเห็นเพ่ิมเติม

2.2.2 การวเิคราะหเพ่ือกําหนดแนวทางการแกปญหาและการพัฒนา GIS

คณะท่ีปรึกษาจะทําการวิเคราะหเพ่ือกําหนดแนวทางการแกปญหาและการพัฒนา G I S ของประเทศไทย โ ดยใชหลักการวิเคราะหตามมาตรฐานสากล อาทิเชน S W O T Analysis หรือวิธีการอ่ืนซ่ึงจะไดนําเสนอให สทอภ. ในชวงของการจัดทํารายงานแผนการศึกษา การดําเนินงานเพ่ือกําหนดแนวทางการแกปญหาและการพัฒนา GIS ของประเทศไทยประกอบดวยข้ันตอนตาง ๆ ดังน้ี

√ การพัฒนา NSDI Concept ของประเทศไทย แนวคิดท่ีวาการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตรจําเปนตองมีโครงสรางพื้นฐานหรือ NSDI (หรืออาจปรากฏในช่ืออ่ืน ๆ ) ในประเทศอาจกลาวไดวาเปนหลักการสากล ซึ่งอาจมีความแตกตางในรายละเอียดไปในแตละประเทศตามสภาพสังคมและความกาวหนาของการพัฒนาซึ่งไมเทากัน ในข้ันตอนน้ี คณะท่ีปรึกษาจะทําการศึกษาและสรุปหลักการและเปรียบเทียบ N S D I ของตางประเทศที่มีประสบการณสูงดานนี ้ อาทิเชน สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา และอังกฤษ เปนตน และจะทําการวิเคราะหเพื่อปรับปรุงใหเหมาะสมสําหรับประเทศไทยเพื่อใชเปนพื้นฐานในการดําเนินงาน

ตอไป

√ การกําหนดรายละเอียดอยางเปนรูปธรรมในแตละองคประกอบของ NSDI ประเทศไทย ไดแก ชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน ระบบใหบริการและแลกเปล่ียนขอมูล มาตรฐานตางๆ ดานขอมูล รวมถึงกรอบนโยบายและการบริหารจัดการ

√ การกําหนดรายละเอียดท้ังดานกลยุทธ แนวทางและมาตรการดําเนินการตลอดจนแผนปฏิบัติการ ทั้งในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว และหนวยงานที่รับผิดชอบ ในแตละองคประกอบของ NSDI ตามท่ีไดกําหนดไวขางตน ไดแก ชั้นขอมูลในชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานของประเทศไทย ในระดับมาตราสวนตางๆ ไดแก 1:4,000 1:50,000 และ 1:250,000 เปนอยางนอย รูปแบบของมาตรฐานขอมูลดานตางๆ และลําดับความสําคัญ ท่ีสอดคลองกับมาตรฐานสากล เชน I S O 1 9 0 0 0 s e r i e s , F G D C

√ รูปแบบของระบบคนหาและบริการขอมูล และรูปแบบการบริหารจัดการ เปนตน

Page 18: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 7

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

√ การกําหนดบทบาทของหนวยงานหลักในการพัฒนา NSDI การพัฒนา NSDI ประกอบดวยงานหลายสวนซึ่งทั้งปริมาณงานและความซับซอนของงาน

ตลอดจนบางองคประกอบท่ีตองอาศัยการยอมรับจากวงกวาง ทําใหไมมีหนวยงานใดเพียงหนวยงานเดียวท่ีจะสามารถรับดําเนินการไดท้ังหมด จึงหลีกเลี่ยงไมพนท่ีจะตองมีการกําหนดบทบาทของหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของใหเหมาะสม โดยไมซํ้าซอนกัน คณะท่ีปรึกษาจะทําการวิเคราะห พรอมท้ังจําแนกกลุมหนวยงานตามพันธกิจและลักษณะงานที่เกี่ยวของ เชน หนวยงานผลิตขอมูลปฐมภูม ิหนวยงานผลิตขอมูลทุติยภูม ิ หนวยงานผูใชขอมูล และหนวยงานผูใหบริการ เปนตน และนําเสนอบทบาทท่ีเหมาะสมของหนวยงานหลักและหนวยงานที่เกี่ยวของในการพัฒนา NSDI แตละดาน และกําหนดกลไกหรือวิธีการดําเนินการอยางเปนรูปธรรม เพื่อใหเกิดขอตกลงทั้งในเชิงปฏิบัติและเชิงนโยบาย ระหวางหนวยงานที่เก่ียวของ ตลอดจน สงเสริม สนับสนุน และพัฒนาหนวยงานใหมีทักษะ ความสามารถเทาเทียม หรือใกลเคียงกัน

2.2.3 การกําหนดกลยุทธ และแผนของการพัฒนา

การกําหนดกลยุทธการพัฒนา N S D I ประกอบดวยข้ันตอนตาง ๆ ดังตอไปน้ี

√ การแบงชวงของการพัฒนา (Phasing) โดยจัดแบงงานดานตาง ๆ ออกเปนชวงระยะสั้นสําหรับปงบประมาณ 2546, ระยะกลางสําหรับปงบประมาณ 2547 – 2549 ซึ่งเปนชวงเวลาที่เหลือของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 9 , และระยะยาวสําหรับชวงเวลาในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 1 0 สําหรับหนวยงานหลักและหนวยงานที่เกี่ยวของ ที่ไดมีการศึกษาจําแนกกลุมแลว โดยแผนการดําเนินงานดังกลาวจะตองนําไปสูการปฏิบัติท่ีมีตัวช้ีวัดอยางชัดเจน

√ การกําหนดเปาหมายและจุดวัดผลในแตละชวงการพัฒนา เปาหมายของการพัฒนาที่ชัดเจนเปนรูปธรรมเปนสิ่งจําเปนที่นอกจากจะแสดงใหเห็นถึงผลลัพธจากการดําเนินงานซึ่งงายตอการตรวจสอบและประเมินแลว ยังจะทําใหหนวยงานหลักและหนวยงานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของสามารถนําแผนไปปฏบัิติไดอยางเปนรูปธรรม และสามารถวางแผนตอเนื่องที่จะนําผลลัพธจากการพัฒนาไปใชประโยชนตอได ในขณะเดียวกันก็จําเปนตองมีจุดวัดผลท่ีแสดงใหเห็นความกาวหนาของการ

Page 19: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 8

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ดําเนินงานแตละระยะเพื่อใหมั่นใจวาการดําเนินงานโดยเฉพาะอยางยิ่งสวนที่เปนงานระยะยาวกําลังเปนไปอยางถูกทิศทาง

√ การจัดทําแผนดําเนินงานแตละดานสําหรับแตละชวงเวลา ประกอบดวยแผนดําเนินงานตอไปน้ี

1. แผนการพัฒนากําลังคนดานภูมิสารสนเทศ ทั้งระยะสั้น ระยะยาว ตลอดแผนการพัฒนาในระดับการศึกษารากหญา ระดับปริญญาตรี โท เอก

2. แผนการดําเนินการดานมาตรฐานตาง ๆ ทางดานภูมิสารสนเทศ เชน มาตรฐาน Metadata มาตรฐานความถูกตองเชิงตําแหนง มาตรฐานดานรูปแบบการแลกเปล่ียนขอมูล เปนตน

3. แผนพัฒนางานวิจัยทางดานภูมิสารสนเทศ ทั้งวิจัยพื้นฐาน วิจัยประยุกต

4. แผนพัฒนาซอฟทแวร GIS ซอฟทแวรทางดาน Remote Sensing และซอฟทแวรอ่ืน ๆ ทางดานภูมิสารสนเทศ

5. แผนการบริการวิชาการดาน G I S แกสังคมและหนวยงานท่ีเก่ียวของ

6. แผนพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสําหรับการใหบริการเชิงตําแหนง (L o c a t i o n -based Service) เชน การใหบริการ DGPS การใชประโยชนรวมกันของสถานีฐาน G P S / การต้ังสถานีฐานครอบคลุมท่ัวประเทศ

7. แผนพัฒนาชุดขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานของประเทศท่ีมาตราสวนตาง ๆ

8. แผนสงเสริมใหเกิดการเชื่อมโยงขอมูล/ใชขอมูล Remote Sensing รวมกับ G I S เพ่ือใหเกิดการประยุกตใชในงานดานตาง ๆ

โดย ในทุกแผน คณะท่ีปรึกษาจะเสนอรายละเอียดในรูปแบบ ดังน้ี

1. สถานะภาพปจจุบันในแตละเรื่องในประเทศไทย

2. แนวทางการดําเนินงาน, หนวยงานรับผิดชอบ

3. งบประมาณดําเนินการในแตละชวง

√ การจัดทําขอเสนอเชิงนโยบายใหกับรัฐบาล นอกจากกลยุทธเพ่ือใหบรรลุเปาหมายของการพัฒนาแลว นโยบายของรัฐบาลท่ีมีตอการพัฒนาภูมิ

Page 20: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 9

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

สารสนเทศถือเปนเร่ืองสําคัญท่ีจะมีอิทธิพลตอความสําเร็จของแผนแมบท เน่ืองจากนโยบายของรัฐบาลโดยเฉพาะดานงบประมาณอาจแปรเปล่ียนไปไดตามเงื่อนไขและสภาพการณ จึงจําเปนที่จะตองมีขอเสนอเชิงนโยบายที่ชัดเจนที่แสดงเหตุผลและความสําคัญของการดําเนินการตามกลยุทธท่ีกําหนดไว

เพื่อใหการพัฒนาภูมิสารสนเทศมีความตอเนื่อง ขอเสนอเชิงนโยบายอาจมีท้ังสวนท่ีเปนขอเสนอแนะ เชน การจัดทํา National Mapping Program ของประเทศ และสวนท่ีเปนกลไกปองกัน เชน ขอเสนอใหรัฐบาลหลีกเล่ียงการตัดทอนงบประมาณที่ใชในการปรับปรุงแผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 ใหมีความทันสมัยอยางตอเน่ืองจากเปนขอมูลพ้ืนฐานสําคัญของประเทศ หรือการจัดทําชุดขอมูลพื้นฐานท่ีเปนมาตรฐานกลางเพื่อการใชงานรวมกัน ที่อยูในรูปแบบขอมูลเชิงเลข (D i g i t a l d a t a) เปนตน

√ การนําผลลัพธจากการดําเนินงานขั้นตอนขางตนทั้งหมด จัดทําเปนรางแผนแมบท G I S แหงชาติ ซ่ึงประกอบดวยกลยุทธ แนวทางและมาตรการดําเนินการ กรอบเวลา และแผนการลงทุนอยางเปนรูปธรรม และสอดคลองตอเนื่องกัน แลวนําเสนอท่ีประชุมใหญประกอบดวยตัวแทนจากหนวยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ ทองถ่ิน และภาคการศึกษาทั่วประเทศประมาณ 150 คน โดยความเห็นชอบของ สทอภ. เพ่ือรับฟงขอคิดเห็นเพ่ิมเติม

2.2.4 การสรุปผลการศึกษาเปนแผนแมบท

การดําเนินงานในชวงสรุปผลการศึกษาเปนแผนแมบท จะประกอบดวยขั้นตอนตอไปน้ี

√ การจัดทําแผนแมบท GIS แหงชาติ ซึ่งเปนการปรับปรุงรางแผนแมบทใหสมบูรณ โดยอาศัยขอมูลขอคิดเห็นจากหนวยงานหลักและหนวยงานท่ีเก่ียวของ ตลอดจน

จากการประชุมใหญ

√ การจัดทําบทสรุปสําหรับผูบริหาร ( E x e c u t i v e S u m m a r y )

2.3 แผนดําเนินการ

จากข้ันตอนดําเนินการจัดทําแผนแมบท G I S แหงชาติตามท่ีไดเสนอไวในหัวขอ 3 คณะท่ีปรึกษาไดทําการกําหนดกิจกรรม (A c t i v i t i e s) ของแตละข้ันตอนดังน้ี

Page 21: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 10

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

1. การตรวจสอบสภาพการณและขอเท็จจริง ประกอบดวยกิจกรรม

Λ สรุปผลการศึกษา, รายงานที่ผานมา

Λ กําหนดหนวยงานหลัก, ตัวแทน S e c t o r ตาง ๆ ท่ีจะอยูใน W o r k i n g C o m m i t t e e และ A d v i s o r y C o m m i t t e e

Λ การประชุมรวมกับตัวแทน Sector ตาง ๆ ท่ีอยูใน Working Committee และ A d v i s o r y C o m m i t t e e

Λ การจัดประชุมวงกวางเพื่อรับฟงความคิดเห็นเพิ่มเติมและเพื่อตรวจสอบขอเท็จจริง

Λ การสํารวจขอเท็จจริงและขอคิดเห็นหนวยงานดวยแบบสอบถาม

Λ การจัดทํารายงานแผนการศึกษา (I n c e p t i o n R e p o r t)

2. การวิเคราะหเพ่ือกําหนดแนวทางการแกปญหาและการพฒันา GIS ประกอบดวยกิจกรรม

Λ การพัฒนา N S D I C o n c e p t ของประเทศไทย

Λ การกําหนดองคประกอบใน N S D I

Λ การกําหนดช้ันขอมูลใน ชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน

Λ การกําหนดแนวทางการพัฒนา G I S

Λ การประชุมรวมกับตัวแทน Sector ใน Working Committee และ Advisory C o m m i t t e e

Λ การจัดทํารายงานระยะกลาง (I n t e r i m R e p o r t)

3. การกําหนดกลยุทธและแผนการพัฒนา

Λ การจัดทํากลยุทธการแกไขปญหาและการพัฒนา

Λ การกําหนดบทบาทหนวยงานหลัก รวมทั้งกลไกการประสานงาน

Λ การกําหนดเปาหมายและจุดชี้วัดในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมฉบับท่ี 9

Λ การประชุมรวมกับตัวแทน Sector ใน Working Committee และ Advisory C o m m i t t e e

Page 22: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 11

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

Λ การจัดประชุมวงกวางเพื่อนําเสนอผลการศึกษาและเพื่อรับฟงขอคิดเห็นขอวิจารณและแนะนํา

Λ การจัดทํารางรายงานฉบับสมบูรณ (D r a f t F i n a l R e p o r t)

4. การสรุปผลการศึกษาเปนแผนแมบท

Λ การปรับปรุงรางรายงานฉบับสมบูรณตามผลการประชุม

Λ การจัดทําบทสรุปสําหรับผูบริหาร

Λ การเผยแพรแผนแมบท G I S แหงชาติ โดยนําเสนอในท่ีประชุมวิชาการทางดานภูมิสารสนเทศแหงชาติ รวมท้ังจัดทําเปน CD-ROM จํานวน 150 ชุดเผยแพรตามหนวยงานตาง ๆ

จากกิจกรรมท้ังหมดท่ีกําหนดขางตน คณะท่ีปรึกษาไดจัดทําเปนแผนบริหารโครงการที่แสดงระยะเวลา กําหนดเร่ิมตน และกําหนดส้ินสุดของแตละข้ันตอนและกิจกรรม ตามตารางท่ี 2 . 1 แผนการดําเนินงานในหนาถัดไป

Page 23: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 12

รายงานแผนการศึกษา โครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

เดือน 1 เดือน 2 เดือน 3 เดือน 4 เดือน 5 เดือน 6 เดือน 7 เดือน 8 การดําเนินงาน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4

สรุปผลการศึกษา, รายงาน กําหนดหนวยงานหลัก, ตัวแทน Sector ประชุมรวมกับตัวแทนหนวยงานหลัก, Sector จัดประชุมวงกวางเพื่อรับฟงเพิ่มเติมและตรวจสอบ สํารวจขอเท็จจริงและขอคิดเห็นดวยแบบสอบถาม Inception Report พัฒนา NSDI Concept ของประเทศไทย กําหนด Components ของ NSDI กําหนดชั้นขอมูลในชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน กําหนดแนวทางการพัฒนา GIS ประชุมรวมกับตัวแทนหนวยงานหลัก, Sector Interim Report จัดทํากลยุทธการแกไขปญหาและการพัฒนา กําหนดบทบาทหนวยงานหลัก เปาหมายและจุดวัดผลในชวงแผน 9 ประชุมรวมกับตัวแทนหนวยงานหลัก, Sector จัดประชุมวงกวางเพื่อรับฟงเพิ่มเติม Draft Master Plan ปรับปรุง Draft Master Plan จัดทาํ Executive Summary เผยแพรแผนแมบท

ตารางที่ 2.1 แผนการดําเนินงาน

Page 24: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

2 - 13

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

Page 25: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 1

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

3. NSDI และสถานภาพของ NSDI ประเทศไทย

จากแนวความคิดของ NSDI หรือโครงสรางพื้นฐานทางดานขอมูลปริภูมิแหงชาติซ่ึงไดช้ีใหเห็นในบทท่ีผานมาแลววาเปนรากฐานสําคัญของการแกไขปญหาทางดาน

GIS ของประเทศตลอดจนจะเปนพ้ืนฐานสําคัญของหนวยงานท้ังภาครัฐ ภาคธุรกิจ และประชาชนทั่วไปในการพัฒนาหรือใชประโยชนจาก G I S ตอไป

NSDI เปนหลักการสากลท่ีประเทศตาง ๆ สวนใหญถือเปนแนวทางหลักในการแกไขและพัฒนา GIS จึงมีองคประกอบใหญที่คลายคลึงกันโดยเฉพาะอยางยิ่งชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน และมาตรฐานขอมูล สวนองคประกอบอ่ืนอาจมนิียามหรือรายละเอียดท่ีแตกตางกันไปบางเล็กนอย ผลจากการศึกษาวิเคราะหในเบ้ืองตนสรุปไดวา N S D I ของประเทศไทยประกอบดวย

√ ชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน

√ กลไกการคนหาและบริการขอมูล

√ มาตรฐานขอมูล

√ นโยบายระดับชาติเก่ียวกับองคประกอบท้ังสาม ตลอดจนกรอบการบริหารจัดการ

รายละเอียดและสถานภาพของแตละองคประกอบใน NSDI จะไดกลาวตอไปในหัวขอ 3 . 1 – 3 . 4

3.1 ชดุขอมลูภูมิศาสตรพื้นฐาน

ชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานซึ่งถือเปนองคประกอบหลักของ NSDI หมายถึงชั้นขอมูลหรือกลุมขอมูลที่มีความสําคัญเนื่องจากเปนขอมูลท่ีมีการใชงานอยาง

กวางขวาง ขอมูลกลุมน้ีจึงจําเปนตองไดรับการดูแลเปนพิเศษเน่ืองจากหากเกิดปญหาขึ้นกับชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานยอมสงผลตอผูใชทุกกลุม

Page 26: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 2

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

3.1.1 ความหมายของชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน

เพ่ือเปนกรอบแนวทางในการกําหนดวาช้ันขอมูลหรือกลุมขอมูลใดบางท่ีควรถือวาเปนชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน คณะท่ีปรึกษาจึงไดกําหนดเกณฑตอไปน้ีวาชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานหมายถึงภูมิสารสนเทศ ทั้งในรูปแบบที่เปนดิจิตอลและเชิง

เอกสารท่ี

√ มีความถี่การใชงานสูงหรือมีการใชงานอยางแพรหลายในผูใชกลุมตาง ๆ

√ เปนพื้นฐานการอางอิงเชิงตําแหนงใหกับกลุมขอมูลอ่ืน เชน ถนน เปนพ้ืนฐานการอางอิงตําแหนงใหกับกลุมขอมูลจํานวนมาก เชน สถานีบริการน้ํามัน ธนาคาร โรงเรียน สถานท่ีราชการ ฯลฯ

3.1.2 ช้ันขอมลูในชุดขอมูลภมิูศาสตรพ้ืนฐาน

จากความหมายของชุดขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานท่ีไดกําหนดไวขางตน ประกอบกับการศึกษารายงานการศึกษาในอดีตของประเทศไทย ไดแก แผนกลยุทธการนํา GIS มาใชในกรุงเทพมหานคร และรายงานฉบับสมบูรณของโครงการโครงสรางพื้นฐานขอมูลภาครัฐ สามารถกําหนดในช้ันตนเพ่ือเปนแนวในการศึกษาตอไปไดวาชุดขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานของประเทศไทยควรประกอบดวยช้ันขอมูลตอไปน้ี

√ เขตการปกครอง

√ ถนน

√ แมน้ํา ลําธาร แหลงนํ้าตาง ๆ

√ อาคารบานเรือน

√ แปลงท่ีดิน

นอกจากน้ี ยังมีภูมิสารสนเทศกลุมอื่น ๆ ที่แมจะมีประโยชนการใชงานในเชงิเทคนิคกับหนวยงานสวนใหญอาจนอยกวากลุมท่ีไดกลาวไวแลวขางตน แตก็มีที่ใชงานในดานอ่ืน เชน ใชการผลิตแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ผังเมือง หรือใชสําหรับการตรวจสอบสภาพพื้นที่ตาง ๆ อยางรวดเร็ว เปนตน ภูมิสารสนเทศเหลานี้ไดแก

√ ขอมูลตนนํ้า (Upstream Data) ไดแก ภาพถายทางอากาศ และภาพดาวเทียม ปจจุบันกลาวไดวาการผลิตแผนท่ีเกือบท้ังหมด (ยกเวนใน

Page 27: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 3

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

บริเวณเล็ก ๆ เพียงไมกี่ตารางกิโลเมตร) ใชภาพถายทางอากาศเปนผลิตภัณฑขอมูลตนนํ้าเพ่ือผลิตภาพถายทางอากาศดัดแก (Orthorectified Photo) และขอมูลเวคเตอร ซ่ึงอาจถือเปนขอมูลปลายนํ้า (Downstream Data) ตามลาํดับ นอกจากน้ี ภาพถายทางอากาศยังมีประโยชนในงานดานอ่ืน ๆ ที่ไมใชแผนที่ดวยเชนกัน เชน การตรวจสอบสภาพพื้นที ่ การตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงพื้นที่จากภาพถายทางอากาศสองชวงเวลา สําหรับภาพดาวเทียมการใชงานที่ผานมาสวนใหญยังจํากัดกรณีงานที่ไมตองการความถูกตองเชิงตําแหนงสงู เชน แผนท่ีการใชท่ีดิน แตในปจจุบันภาพดาวเทียมรายละเอียดสูง เชน SPOT 5, IRS, IKONOS หรือ Quickbird เริ่มมีบทบาทเขามาแทนที่หรือเขามาเสริมภาพถายทางอากาศ

ในงานท่ีตองการความถูกตองเชิงตําแหนงสูงในบางดาน

√ หมุดหลักฐานแผนท่ีท้ังทางราบและทางด่ิง ซึ่งแบงออกไดคราว ๆ เปนสามระดับคือ โครงขายหลัก โครงขายรอง และโครงขายยอย กรมแผนท่ีทหารเปนผูดูแลโครงขายหลักของประเทศ รวมทั้งทําหนาที่ขยายโครงขายรองเพื่อเพิ่มความหนาแนนใหกับหมุดหลักฐานแผนทางราบและด่ิง สวนหนวยงานอ่ืน เชน กรมท่ีดิน กรมชลประทาน กรมทรัพยากรธรณ ีจะขยายโครงขาย

รองและโครงขายยอยสําหรับงานโครงการของตนเอง

√ ขอมูลความสูงภูมิประเทศ (Digital Elevation Model, DEM) นอกจากประโยชนในตัวมันเองในฐานะที่ใหขอมูลระดับสูงต่ําของภูมิประเทศแลว ยังสามารถใชประโยชนในดานตาง ๆ อีกมากมาย เชน การวิเคราะหพ้ืนท่ีท่ีเปนจุดบอดของการรับสัญญาณวิทยุ การวิเคราะหการมองเห็นเพ่ือหาตําแหนงที่ตั้งที่เหมาะสมทางทหาร การวิเคราะหหาพ้ืนท่ีเส่ียงภัยจากนํ้าทวม ดินถลม เนื่องจากมีลักษณะความชันสูง เปนตน

√ แผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 และ 1:250,000 ซึ่งเปนแผนที่ที่ครอบคลุมทั้งประเทศและมีที่ใชงานกวางขวางหลากหลาย

ดังน้ัน ในข้ันตอนการศึกษาน้ี จึงอาจกําหนดในข้ันตนไดวาชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานของประเทศไทย ควรประกอบดวยช้ันขอมูลหรือกลุมขอมูลตอไปน้ี

√ เขตการปกครอง

Page 28: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 4

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

√ ถนน

√ แมน้ํา ลําธาร แหลงนํ้าตาง ๆ

√ อาคารบานเรือน

√ แปลงท่ีดิน

√ D E M

√ หมุดหลักฐานแผนที่

√ แผนที่ภูมิประเทศ

√ ภาพถายทางอากาศ

√ ภาพดาวเทียม

สําหรับการกําหนดช้ันขอมูลชดุขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานท่ีแนนอน จะเปนสวนของการศึกษาในข้ันตอนตอไป

3.1.3 ความถูกตองเชิงตําแหนงของชุดขอมูลภูมศิาสตรพ้ืนฐาน

ลักษณะการใชงานภูมิสารสนเทศเปนตัวกําหนดความถูกตองเชิงตําแหนงท่ีเหมาะสมของภูมิสารสนเทศที่จะมาสนับสนุนงานนั้น เชน งานวางแผนหรือการศึกษาเบ้ืองตน ภูมิสารสนเทศเชน แผนที่หรือภาพถายทางอากาศมาตราสวนเล็กที่มีความถูกตองเชิงตําแหนงไมสูงมากก็เพียงพอสําหรับการใชงานแลว

ในขณะท่ีงานดานปฏิบัติการ งานวิศวกรรม หรือการบังคับใชกฎหมาย ตองการภูมิสารสนเทศมาตราสวนใหญท่ีมีความตองเชิงตําแหนงสงู

ภูมิสารสนเทศอาจแบงตามระดับความถูกตองเชิงตําแหนงออกไดเปน 3 ระดับคือ

√ มาตราสวนใหญ ไดแก ภูมิสารสนเทศที่มีความถูกตองเชิงตําแหนงสูงเพียงพอที่จะนําไปใชในงานสาธารณูปโภค งานที่ดิน งานดานวิศวกรรม งานบังคับใชกฎหมาย เชน กฎหมายควบคุมอาคาร หรือกิจกรรมตาง ๆ ในพื้นที่เขตเมือง สําหรับโครงการศึกษาน้ีจะกําหนดมาตราสวนใหญอยูในชวง 1 : 1 , 0 0 0 – 1 : 1 0 , 0 0 0

Page 29: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 5

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

√ มาตราสวนกลาง ไดแกภูมิสารสนเทศที่มีความถูกตองเชิงตําแหนงในระดับเพียงพอท่ีใชในงานวางแผนเบ้ืองตน งานศึกษาผลกระทบส่ิงแวดลอม หรืองานปฏิบัติการที่ไมเนนความแมนยําเชิงตําแหนง โดยท่ัวไปกําหนดมาตราสวนกลางอยูในชวง 1 : 2 0 , 0 0 0 – 1 : 5 0 , 0 0 0

√ มาตราสวนเล็ก ไดแกขอมูลภมิูศาสตรท่ีไมเนนความถูกตองเชิงตําแหนง ใชในการแสดงผลทั่ว ๆ ไป หรือประกอบกับขอมูลสถิติตัวเลขเพ่ือผลิตแผนท่ีเฉพาะกิจตาง ๆ โดยท่ัวไปกําหนดมาตราสวนเล็กต้ังแตมาตราสวน 1 : 1 0 0 , 0 0 0 ลงไป

3.1.4 หนวยงานผูดูแลชุดขอมลูภูมิศาสตรพ้ืนฐาน

ตารางท่ี 3.1 แสดงใหเห็นถึงหนวยงานที่โดยภารกิจมีหนาที่ตองจัดทําและดูแล ( C u s t o d i a n ) ภูมิสารสนเทศในชุดขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานมาตราสวนตาง ๆ

ช้ันขอมูล มาตราสวนใหญ (1:1,000 –1:10,000)

มาตราสวนกลาง (1:20,000 –1:50,000)

มาตราสวนเล็ก (1:100,000 หรือเล็กกวา)

เขตการปกครอง กรมการปกครอง กรมการปกครอง กรมการปกครอง

ถนน กรมทางหลวง, รพช, ทองถ่ิน

กรมทางหลวง, รพช, กรมแผนที่ทหาร

กรมแผนที่ทหาร

แมน้ํา ลําธาร แหลงน้ํา กรมการผังเมือง, กทม กรมแผนที่ทหาร กรมแผนที่ทหาร

อาคาร บานเรือน กรมการผังเมือง, กทม * *

แปลงที่ดิน กรมท่ีดิน * *

หมุดหลักฐานแผนที ่ กรมแผนที่ทหาร, หนวยงานที่ทําแผนที ่

* *

DEM กรมการผังเมือง กรมแผนที่ทหาร กรมแผนที่ทหาร

แผนที่ภูมิประเทศ * กรมแผนที่ทหาร กรมแผนที่ทหาร

ภาพถายทางอากาศ กรมแผนที่ทหาร กรมแผนที่ทหาร กรมแผนที่ทหาร

ภาพดาวเทียม สทอภ สทอภ สทอภ

ตารางท่ี 3.1 หนวยงานที่เปนผูดแูลชดุขอมูชภูมิศาสตรพื้นฐาน

จากตารางท่ี 3.1 จะเห็นไดอยางชัดเจนวาหนวยงานท่ีเปนผูดูแลสําคัญของชุดขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานไดแก กรมแผนที่ทหาร กรมการผังเมือง สทอภ กรมการ

Page 30: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 6

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ปกครอง กรมทางหลวง กรมท่ีดิน รพช. หนวยงานเหลาน้ีจึงถือไดวาเปนหนวยงานหลักของการพัฒนาชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานของประเทศ

3.1.5 สถานภาพชุดขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานมาตราสวนกลางและเล็ก

กรมแผนที่ทหารเปนผูพัฒนาแผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 ชุด L7017 และ 1:250,000 แตการใหบริการขอมูลตาง ๆ ที่อยูบนแผนที่ทั้งสองชุดยังจํากัดอยูในลักษณะเปนแผนท่ีกระดาษเทาน้ัน ขอมูลภูมิศาสตรในรูปดิจิตอลท่ีมีใชงานอยูในปจจุบัน เกิดจากการนําเขาโดยหนวยงานงานราชการตาง ๆ (โดยเฉพาะอยางยิ่งกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ซ่ึงไดดําเนินโครงการอยางตอเน่ืองมาเปนเวลาหลายปจนมีขอมูลเกือบครบหมดทั้งประเทศ) ซึ่งมีทั้งที่ดําเนินการเอง จัดจาง หรือขอความรวมมือจากหนวยงานอื่นที่มีขอมูลที่พัฒนาขึ้นมาแลว และจากการสํารวจดวยแบบสอบถามพบวาการเผยแพรชุดขอมูลภูมิศาสตรพืน้ฐานท่ีพัฒนาข้ึนแลวยังมีจํากัดอยูมากอันเน่ืองจากสาเหตุหลายประการ แตสาเหตุสําคัญประการหน่ึงนาจะมาจากขอเท็จจริงที่วาหนวยงานที่เปนผูผลิตขอมูลคือกรมแผนที่ทหารยังไมได

ใหบริการในรูปดิจิตอล ในขณะที่หนวยงานท่ีพัฒนาขอมูลเปนรูปดิจิตอลไมสามารถใหบริการไดอยางเต็มท่ีเน่ืองมาจากไมไดมีอํานาจ หนาท่ี หรือเปนผูดูแลขอมูลตาม

กฎหมาย

นอกจากขอจํากัดขางตน แผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน 1 : 5 0 , 0 0 0 และ 250,000 ที่มีอยูในปจจุบันคอนขางจะลาสมัย โดยผลิตข้ึนเปนเวลากวา 25 ปแลว และมีการปรับปรุงเปนบางพ้ืนท่ีซ่ึงเปนสวนนอย ทําใหขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานโดยเฉพาะอยางย่ิงถนน ไมสอดคลองกับสภาพจริงในพื้นที ่ หนวยงานที่พัฒนาขอมูลภูมิศาสตรในรูปดิจิตอลหลายหนวยงานทําการปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยข้ึน แตการปรับปรุงน้ีกระทําเฉพาะพ้ืนท่ีโครงการเทาน้ัน ไมไดเปนไปอยางทั่วถึงทั้ง

ประเทศ

อยางไรก็ตาม กรมแผนท่ีทหารไดดําเนินการจัดทําแผนท่ีภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 ชุด L7018 ซึ่งเปนชุดใหม โดยคาดวาจะเร่ิมทยอยผลิตแผนท่ีออกมาไดภายในปลายป 2545 น้ีและผลิตแผนท่ีไดครบท้ังประเทศภายใน 1 – 2 ป แผนท่ีชุดใหมน้ีจะทําใหปญหาความลาสมัยของชุดขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานในระดับมาตราสวนกลางและเล็กหมดไป นอกจากน้ี จากรายงานการศึกษาโครงการ GDI

Page 31: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 7

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

(Government Data Infrastructure, NECTEC, 2545) พบวากรมแผนที่ทหารมีนโยบายท่ีจะเผยแพรช้ันขอมูลตาง ๆ ที่ปรากฏบนแผนท่ีภูมิประเทศในรูปดิจิตอล ซึ่งจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการพัฒนาฐานขอมูล G I S ของประเทศเนื่องจากจะลด

ปญหาการพัฒนาขอมูลซ้ําซอนกันดังที่เคยเกิดขึ้นในชวงที่ผานมา

กลาวโดยสรุป ปญหาการพัฒนาขอมูลซ้ําซอน และปญหาความลาสมัยของขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานมาตราสวนกลางและเล็ก มีแนวโนมที่จะลดลงในชวง 1 – 2 ปขางหนา แตประเด็นสําคัญท่ีจะตองมีการดําเนินการไดแก

√ การปรับปรุงขอมูลใหมีความทันสมัยเพียงพอตอการใชงานอยางตอเน่ือง

√ การจัดทํา Metadata เพ่ือใหผูใชทราบถึงคุณลักษณะดานตาง ๆ ของขอมูล

√ การพัฒนาระบบคนหาและใหบริการขอมูลของหนวยงานท่ีเก่ียวของ โดยเฉพาะอยางย่ิง กรมแผนท่ีทหาร และ สทอภ เพื่อใหผูใชสามารถสืบคนขอมูลท่ีตองการวามีหรือไม และถาหากม ี มีคุณสมบัติตามท่ีตองการหรือไม

3.1.6 สถานภาพชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานมาตราสวนใหญ

กรมการผังเมืองไดดําเนินการจัดทําแผนที่ผังเมืองมาตราสวน 1 :4 ,000 ในรูปดิจิตอลในพื้นที่เขตเมืองและชุมชนมาอยางตอเนื่องในชวงเวลา 5 – 6 ปท่ีผานมา ทําใหในขณะนี้แผนที่ผังเมืองเปนแหลงขอมูลใหญสําหรับการดําเนินงานทางดาน G I S

มาตราสวนใหญสําหรับพ้ืนท่ีเขตเมือง

ขอมูลแผนที่ผังเมืองยังเปนขอมูลที่คอนขางทันสมัยและสามารถใชงานไดตอไปอีกระยะหนึ่ง อยางไรก็ตาม เนื่องจากพื้นที่เขตเมืองและชุมชนเปนพื้นที่ที่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการพัฒนาสูง ทําใหการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนเร็ว ดังน้ัน รอบของการปรับปรุงขอมูลจึงตองเกิดข้ึนเร็วกวาแผนท่ีท่ีครอบคลุมพ้ืนท่ีท่ีมีความหนาแนนตํ่า

หรือนอกเขตเมือง

ปญหาท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนเก่ียวกับการปรับปรุงขอมูลคือ ปจจุบัน หนาท่ีความรับผิดชอบการจัดทําแผนที่ผังเมืองไดมีการเปลี่ยนแปลงจากกรมผังเมืองเปน

หนวยงานทองถ่ินซ่ึงไดแกเทศบาล โดยกรมการผังเมืองทําหนาท่ีดูแลทางดานวิชาการ ดังน้ัน มีความเปนไปไดสูงท่ีหนวยงานทองถ่ินแตละแหงอาจใหความสําคัญ

Page 32: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 8

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ของการจัดทําแผนที่ผังเมืองไมเทากัน ทําใหการปรับปรุงขอมูลในพ้ืนท่ีใกลเคียงกันเกิดขึ้นไมพรอมกัน

เชนเดียวกับชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานมาตราสวนเล็ก ประเด็นสําคัญเก่ียวกับชุดขอมูลภูมิศาสตรมาตราสวนใหญท่ีตองมีการดําเนินการคือ

√ การปรับปรุงขอมูลใหมีความทันสมัยเพียงพอตอการใชงานอยางตอเน่ือง สําหรับประเด็นน้ีในกรณีของมาตราสวนใหญมีความซับซอนกวา เนื่องจากแตละพื้นที่จะอยูในความรับผิดชอบของแตละทองถิ่น และการพัฒนาแผนที่มาตราสวนใหญตองใชตนทุนตอพ้ืนท่ีสูงกวามาตราสวนกลางและเล็กมาก

√ การจัดทํา Metadata เพ่ือใหผูใชสามารถคนหาขอมูลภูมิศาสตรท่ีตองการได

√ การพัฒนาระบบคนหาและใหบริการขอมูลของกรมการผังเมือง กรมท่ีดิน และกรมทางหลวง เพ่ือใหผูใชสามารถสืบคนขอมูลท่ีตองการวามีหรือไม และถาหากมี มีคุณสมบัติตามที่ตองการหรือไม และในอนาคตเมื่อทองถิ่นตาง ๆ เริ่มพัฒนาแผนที่เองแลว ก็ควรพัฒนาระบบคนหาและ

ใหบริการขอมูลข้ึนดวย

3.2 มาตรฐานขอมูล

มาตรฐานตาง ๆ เก่ียวกับภูมิสารสนเทศ เปนสวนประกอบท่ีสําคัญของโครงสรางพื้นฐานขอมูลปริภูมิแหงชาติ (NSDI ) เน่ืองจากจะเปนกรอบขอกําหนดท่ีหนวยงานตาง ๆ ไดตกลงรวมกันท่ีจะปฏิบัติตามในการจัดสรางขอมูลภูมิศาสตรของตน ทําใหภูมิสารสนเทศเหลานั้นมีคุณสมบัติพื้นฐานที่เหมือน หรือสอดคลองกัน อันจะเอ้ือตอการท่ีภูมิสารสนเทศซ่ึงถูกจัดสรางข้ึนเพ่ือใชในภารกิจท่ีแตกตางกัน

สามารถนํามาแลกเปล่ียน ใชงานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ

สําหรับการพัฒนา NSDI น้ัน มาตรฐานทางดานภูมิสารสนเทศท่ีเก่ียวของ มีทั้งในสวนท่ีเปนมาตรฐานระดับสากลหรือนานาชาติ เชน มาตรฐาน I S O 1 9 0 0 0 มาตรฐานระดับชาติ เชน มาตรฐานของ FGDC (Federal Geographic Data Committee ของสหรัฐอเมริกา) ตลอดจนมาตรฐานของหนวยงาน มาตรฐานแตละระดับเหลาน้ีอาจถูกพิจารณาจําแนกเปน 2 ประเภทคือ

Page 33: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 9

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

√ มาตรฐานเกี่ยวกับการพัฒนาชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน ซึ่งไดแกมาตรฐานตาง ๆ ท่ีจะทําใหแนใจวารายการขอมูลภูมิศาสตรพ้ืนฐานท่ีจะถูกจัดสราง หรือดูแลบํารุงรักษาตอไปน้ันมีคุณสมบัติตรงตามท่ีตองการ และ

√ มาตรฐานเก่ียวกับการทําใหเกิดการแลกเปล่ียนใชงานขอมูลรวมกัน ไดแกมาตรฐานตาง ๆ ที่จะทําใหภูมิสารสนเทศที่จัดสรางขึ้นโดยตางหนวยงานจะสามารถแลกเปล่ียนกันได และสามารถถูกนําไปใชงานรวมกันในระบบของ

แตละหนวยงาน

3.2.1 มาตรฐานสาํหรับการพัฒนาชุดขอมูลภมิูศาสตรพ้ืนฐาน

มาตรฐานเกี่ยวกับการพัฒนาชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน ก็คือมาตรฐานคุณสมบัติและคุณภาพของชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน ซึ่งจะกําหนดรายละเอียดเน้ือหารายการขอมูล วิธีการจําแนกขอมูล ระบบรหัสแทนคาขอมูล และโครงสรางรูปแบบการจัดเก็บขอมูลรวมทั้งคุณสมบัติพื้นฐานของแหลงขอมูลที่จะสามารถ

นํามาใชได วิธีการสํารวจจัดเก็บ นําเขาขอมูล การควบคุมและตรวจสอบคุณภาพของขอมูล

เราอาจทําความเขาใจเก่ียวกับมาตรฐานประเภทน้ี จากรายชื่อมาตรฐานในโครงการNMP หรือ National Mapping Program ซึ่งพัฒนาโดยหนวยงาน USGS (United States Geological Survey) และรายช่ือมาตรฐานท่ี FGDC ไดดําเนินการหรืออยูในระหวางดําเนินการ และพัฒนาขึ้นเปนสวนหน่ึงของการพัฒนา NSDI แหงประเทศสหรัฐอเมริกา ไดแก

ตัวอยาง NMP standards โดย USGS (ที่มา http://mapping.usgs.gov/standards/index.html#digital) ไดแก

√ D i g i t a l E l e v a t i o n M o d e l S t a n d a r d s

√ D i g i t a l L i n e G r a p h S t a n d a r d s

√ D i g i t a l O r t h o p h o t o S t a n d a r d s

√ N a t i o n a l H y d r o g r a p h y D a t a s e t S t a n d a r d s

√ N a t i o n a l M a p A c c u r a c y S t a n d a r d s

Page 34: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 10

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ตัวอยาง FGDC Standard (ที่มา: Status of FGDC Standards, http://www.fgdc.gov/standards/status/textstatus.html) ไดแก

√ G ov er nm e n t a l U n i t B o un da r y D a ta C o n te n t S t an da r d

√ Hydrographic Data Content Standard for Coastal and Inland W a t e r w a y s

√ C a d a s t r a l D a t a C o n t e n t S t a n d a r d

√ C o n t e n t S t a n d a r d f o r D i g i t a l O r t h o i m a g e r y

√ C o n t e n t S t a n d a r d f o r R e m o t e S e n s i n g S w a t h D a t a

√ Conten t S tandard fo r F ramework Land E leva t ion Data

√ A d d r e s s C o n t e n t S t a n d a r d

√ G e o s p a t i a l P o s i t i o n i n g A c c u r a c y S t a n d a r d

√ NSDI Framework Transpor tat ion Ident i f icat ion Standard

3.2.2 มาตรฐานสาํหรับการแลกเปล่ียนใชงานขอมูลรวมกัน

มาตรฐานเก่ียวกับการทําใหเกิดการแลกเปล่ียนใชงานขอมูลรวมกัน ไดแก มาตรฐานการอธิบายคุณลักษณะของชุดขอมูลภูมิศาสตร มาตรฐานเก่ียวกับหลักการความหมายของคุณภาพขอมูล มาตรฐานวิธีการประเมินคุณภาพของขอมูล มาตรฐานคุณภาพขั้นต่ําของขอมูล มาตรฐานการวิธีการจําแนก และกําหนดรหัสแทนคาขอมูล มาตรฐานรูปแบบโครงสรางการจัดเก็บขอมูล มาตรฐานระบบพิกัดของ

ขอมูล

F G D C ไดทําการพัฒนามาตรฐานในกลุมน้ีไวหลายรายการดวยกัน อาทิ

√ S p a t i a l D a t a T r a n s f e r S t a n d a r d ( S D T S )

√ Content Standard for Digital Geospatial Metadata (CSDGM)

√ U . S . N a t i o n a l G r i d

√ E a r t h C o v e r C l a s s i f i c a t i o n S t a n d a r d

Page 35: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 11

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

√ E n c o d i n g S t a n d a r d s f o r G e o s p a t i a l M e t a d a t a

√ V e g e t a t i o n C l a s s i f i c a t i o n S t a n d a r d

√ S o i l G e o g r a p h i c D a t a S t a n d a r d

3.3 ระบบคนหาและใหบริการขอมลู

องคประกอบสําคัญอีกสวนหน่ึงของ NSDI ไดแก ระบบคนหาและใหบริการขอมูลใหกับผูใชตาง ๆ ในวงกวาง ผูใชสามารถสืบคนเพื่อหาภูมิสารสนเทศที่มี

คุณลักษณะสอดคลองกับความตองการของตนเองไดจากระบบน้ี

ความหมายท่ีชัดเจนของระบบคนหาและใหบริการขอมูล องคประกอบ ตลอดจนประเด็นอ่ืน ๆ เชน ลําดับความสําคัญของการใหบริการ มาตรฐานท่ีเก่ียวของ ฯลฯ จะไดกลาวในหัวขอตอ ๆ ไป

3.3.1 คําจํากัดความของระบบคนหาใหและใหบริการขอมูล

คําวาระบบคนหาและใหบริการขอมูลหรือ Spat ia l Data Clear inghouse หมายถึง “ระบบเครือขายอินเตอรเน็ตเซิรฟเวอร ทําหนาท่ีใหบริการสืบคนและดาวนโหลดภูมิสารสนเทศ เปนระบบกระจายศูนย มีขอความอธิบายขอมูล (Metadata) ชวยในการสืบคนและบอกคุณลักษณะของชุดขอมูลแผนท่ีท่ีมีใหบริการ ใชเว็บเทคโนยีปจจุบันในสวนของผูใชบริการ และใชมาตรฐาน Z39.50 ในสวนของเซิรฟเวอรผูใหบริการ บริการท่ีจัดใหอาจขยายขอบเขตถึงการประมวลผลทางภูมิสารสนเทศ และ ธุรกิจอิเลคโทรนิค (e-c o m m e r c e ) ”

3.3.2 องคประกอบหลักของระบบคนหาและใหบริการขอมูล

เครือขายเซิรฟเวอรผูใหบริการขอมูลแผนที่ซึ่งแบงออกเปน 2 ประเภท คือ เกทเวย และ โหนด

√ เกทเวย (Gateway) อยางนอย 1 แหง ทําหนาท่ีเปนศูนยกลางการใหบริการสืบคน ใหบริการขอความอธิบายขอมูลชุดยอของของทุก N o d e ท่ีลงทะเบียนเปนสมาชิก รับคําสั่งสืบคนจากผูใชและนําเสนอผลลัพธ

ดังตอไปน้ี

Page 36: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 12

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

1. ขอความอธิบายขอมูลท่ีเพียงพอเพ่ือการพิจารณาตัดสินใจเลือกใชขอมูลหรือบริการท่ีคนพบจากโหนดตาง ๆ

2. รายละเอียดท่ีชวยใหผูใชเขาถึงและไดรับชุดขอมูลหรือบริการท่ีคนพบ

√√ โหนด ( N o d e ) จํานวนมาก ใหบริการขอความอธิบายขอมูลเต็มรูปแบบ ภูมิสารสนเทศในความรับผิดชอบ และบริการประมวลผลตามที่จัดให สามารถใหบริการตอผูใชโดยตรงหรือโดยผานทางเกทเวย โหนดมี

องคประกอบตอไปน้ี

Λ คําอธิบายคุณลักษณะขอมูล และภูมิสารสนเทศในความดูแลรับผิดชอบ

Λ เชื่อมตอกับอินเทอรเน็ต

Λ บริการ การสืบคน การเขาถึง และนําสงขอมูลโดยตรง และผาน Gateway โดยใชโปรโตคอลการสื่อสารสําหรับคนหาและสงผลลัพธแบบ Z39.50 และใชเทคโนโลยี WWW (World Wide Web) ในสวน

ติดตอกับผูใช

รูปท่ี 3.1 โครงสรางของโหนดใน Spatial Data Clearinghouse (ท่ีมา: www.fgdc.gov)

Page 37: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 13

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

รูปท่ี 3.1 แสดงใหเห็นโครงสรางของโหนดใน Spatial Data Clearinghouse และแผนผังแสดงข้ันตอนการจัดต้ัง Clearinghouse Node Server โดยข้ันตอน

ประกอบดวย

√ Get meta tools: จัดหาซอฟทแวรสําหรับงานจัดทําขอมูลมูลบท (Metadata)

√ Metadata preparation: จัดทําขอมูลมูลบทตามแบบที ่ FGDC กําหนด (FGDC style metadata) โดยใชโปรแกรม mp (Metadata parser)

√ F i le fo rmat: จัดทําขอมูลมูลบทของแตละชุดขอมูลในรูปแบบที่เหมาะสม เชน H T M L , X M L หรือ S G M L

√ G e t I s i t e : จัดหาโปรแกรมอายไซท

√ C o n f i g u r e I s i t e : ติดตั้งและ C o n f i g u r e โปรแกรมอายไซท

√ I n d e x M e t a d a t a : ทําดัชนีขอมูลมูลบท

√ T e s t I n d e x : ทดสอบดัชนีขอมูลมูลบท

√ Serve Index: ทําการ Activate กระบวนการทํางานของ Z39.50 โปรโตคอล

√ T e s t S e r v e r : ทดสอบเซิรฟเวอรดูการทํางานของ Z39.50

∏ Register: ลงทะเบียนกับ Gateway server เพื่อใหเซิรฟเวอรเขารวมเปนผูใหบริการในฐานะ N o d e s e r v e r

3.3.3 ระดับการใหบริการของระบบคนหาและใหบริการขอมูล

ระดับการใหบริการตามความสลับซับซอนของผลลัพธมีดังน้ี

1. แสดงขอความอธิบายคุณลักษณะขอมูลอยางยอ

2. แสดงขอความอธิบายคุณลักษณะขอมูลเต็มรูปแบบ

3. จําหนาย จาย แจก ขอมูล

4. ประมวลผลทางภูมิสารสนเทศ

5. ธุรกิจอิเลคโทรนิค (e-c o m m e r c e )

Page 38: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 14

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

โดยท่ัวไป เกทเวยสามารถใหบริการลําดับ 1 ไดทันทีเพราะมีขอความอธิบายคุณลักษณะขอมูลอยางยอของทุกโหนดท่ีเปนสมาชิกอยูท่ีเซิรฟเวอรของเกทเวย

บริการลําดับท่ี 2-4 ผูใชตองเขาถึงโหนดท่ีเก่ียวของ สวนบริการลําดับ 5 ทั้งเกทเวยหรือโหนดสามารถสามารถพัฒนาข้ึนมาในลักษณะผลิตภัณฑสําเร็จรูปหรือบริการท่ีมีมูลคาเพิ่มเพื่อตอบสนองความตองการของผูใช ระบบคนหาและใหบริการขอมูลของ F G D C . oสหรัฐอเมริกาซ่ึงจัดทําสําเร็จเปนแหงแรกเนนการใหบริการถึงลําดับ 3 เทาน้ัน

3.3.5 สถานภาพของระบบคนหาและใหบริการขอมูลในตางประเทศ

เน่ืองจากระบบคนหาและใหบริการขอมูลเปนองคประกอบหลักของ S D I ดังน้ันการพัฒนาและจัดทําโครงการ S D I ทุกแหงจึงจําเปนตองมีสวนของระบบนี้ควบคูกันไปเสมอ ระบบคนหาและใหบริการขอมูลแหงแรกที่จัดทําขึ้นสําเร็จเปนของ F G D C โดยจัดทําเปนโครงการระดับชาติของสหรัฐอเมริกาในป 1994 (http://clearinghouse.fgdc.gov) มีเปาหมายหลักท่ีคอนขาง Conservative คือมุงหวังใหบริการสืบคนและดาวนโหลดภูมิสารสนเทศเทาน้ัน โครงการของสหรัฐอเมริกาสามารถจัดทําข้ึนสําเร็จในระยะเวลาอันส้ันเพราะมีความพรอมอยูกอน ท้ังยังมีการวางแผนและรวมมือกันเปนอยางดี โครงการน้ีจึงเปนท่ียอมรับวาเปนแมแบบของโครงการอ่ืน ๆ ที่เกิดตามมา

ระบบคนหาและใหบริการขอมูลระดับชาติอ่ืน ๆ ที่เกิดขึ้นในภายหลังที่สําคัญ ไดแก

√ โครงการ NGDF Metadata Gateway (www.askgiraffe.org.uk) ของ สหราชอาณาจักร จัดทําข้ึนในปค.ศ. 1997

√ โครงการ Canada GeoConnection (www.cgdi.ca/english/index.html) ของประเทศแคนาดา และ

√ โครงการ Australian Spatial Data Directory (www.anzlic.org.au/asdi/asdimain.html) ของประเทศออสเตรเลีย

โครงการเหลาน้ีอยูในข้ันปฏิบัติการแลวท้ังส้ิน เปาหมายของโครงการเหลาน้ีขยายขอบเขตถึงการประมวลผลทางสารสนเทศปริภูมิและธุรกิจอิเลคโทรนิค (e-

Page 39: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 15

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

commerce) ผานทางเกทเวยอีกดวย การใหบริการดังกลาวเปนสวนท่ีอยูในระดับท่ีสูงกวาการสืบคนและดาวนโหลดภูมิสารสนเทศ เปนบริการท่ียังมีนอยและ

จํากัดในปจจุบัน

ระบบคนหาและใหบริการขอมูลอ่ืนท้ังระดับชาติและระดับภูมิภาคจะเกิดข้ึนควบคูไปกับโครงการ SDI ที่ประเทศตางๆ หรือประชาคมในภูมิภาคตาง ๆ รวมกันจัดทําข้ึน จากการสืบคนท่ีเว็บไซทของ GDSI (www.gsdi.org) จะพบรายชื่อโครงการ SDI ตางๆเกิดข้ึนท่ัวโลก ประเทศในทวีปเอเชียท่ีมีรายช่ือเปนผูจัดทํา NSDI อยูไดแก มาเลยเซีย และอินโดเนเซีย โครงการระดับภูมิภาคท่ีเกิดข้ึนมีหลายโครงการ เชน A f r i c a S D I ของแอฟริกา A N Z L I C ของออสเตรเลียนิวซีแลนด EUROGRAPHICS, ETeMII Project และ INSPIRE ของยุโรป PC IDEA ของอเมริกา PCGIAP ของเอเชียและแปซิฟก(ประเทศไทยเปนสมาชิก) นอกจากน้ันยังมีโครงการของ GSDI เองชื่อ Global Service Catalog of geospatial services ( 1 9 9 6 ) ซ่ึงเปนระบบคนหาและใหบริการขอมูลระดับท่ัวโลก

3.3.6 สถานภาพของระบบคนหาและใหบริการขอมูลในประเทศไทย

ประเทศไทยยังอยูในระยะเตรียมการข้ันตนท่ีสามารถพัฒนาสูการจัดทําระบบคนหาและใหบริการขอมูลไดเชนเดียวกับประเทศท่ีพัฒนาแลว ปจจุบันสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ(องคการมหาชน) หรือ สทอภ ซึ่งมีภารกิจเปนหนวยงานหลักกําหนดมาตรฐานกลางในดานขอมูล งาน และผลงาน สําหรับระบบสํารวจขอมูลระยะไกล และระบบภูมิสารสนเทศ เปนผูริเริ่มโครงการพัฒนามาตรฐานการอธิบายขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตรสําหรับประเทศไทย โดยไดดําเนินการพัฒนารูปแบบการอธิบายขอมูล (M e t a da t a) ข้ึนโดยอิงตามรางมาตรฐานรูปแบบการอธิบายขอมูลของ ISO/TC211 ชุด ISO 19115 ระดับท่ี 1 ซึ่งเปนรางชุดแรกตามขอเสนอของคณะผูวิจัยจากคณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากร

ศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล (พ.ศ. 2543)

ขณะนี ้ สทอภ กําลังดําเนินการสํารวจจัดทําดัชนีสารสนเทศภมูศิาสตรโดยไดจัดสงแบบสํารวจสถานภาพภูมิสารสนเทศไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพพื้นฐานของหนวยงานที่เกี่ยวของกับภูมิสารสนเทศทั้งในฐานะผูผลิต ผูใช และผูใหบริการ สําหรับประกอบการจัดทําดัชนีขอมูลหนวยงาน

Page 40: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 16

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ดานภูมิสารสนเทศในประเทศไทยเพื่อเผยแพรผานเว็บไซท ปจจุบันมีหนวยงานตางๆไดสงดัชนีขอมูลแลวประมาณ 30 ราย สทอภ กําลังดําเนินการพัฒนาระบบสืบคนเพ่ือใหบริการดัชนีสารสนเทศภูมิศาสตร และ m e t a d a t a โดยระบบดังกลาวจะสามารถเปดใหหนวยงานท่ีลงทะเบียนแลวทําการ u p d a t e ขอมูลได โดยจะเปด

บริการในอนาคตอันส้ัน

การดําเนินงานของ สทอภ นับวาเปนกิจกรรมพื้นฐานรองรับการจัดทํา NSDI ซึง่รวมไปถึงความรวมมือจัดทําระบบคนหาและใหบริการขอมูลในอนาคต

3.3.7 องคกรผูมีบทบาทสําคญัในการจดัทําระบบคนหาและใหบริการขอมูล

การศึกษาบทบาทการทํางานขององคกรท่ีเก่ียวของเหลาน้ีจะชวยใหเขาใจการหลักการ วิธีดําเนินการ และปญหาที่ประสบ สวนท่ีดีสามารถใชเปนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติของประเทศไทยเราได องคกรท่ีมีบทบาทสําคัญเก่ียวกับภารกิจการจัดต้ังระบบคนหาและใหบริการขอมูลไดแก F G D C ซึ่งเปนผูริเริ่มจัดทําระบบคนหาและใหบริการขอมูลแหงแรกในสหรัฐอเมริกา เปนองคกรท่ีเปนแหลงขาวสารและทรัพยากรท่ีจําเปนในการจัดทําระบบคนหาและใหบริการขอมูลแกสมาชิกและบุคคลทั่วไป OGC (OpenGIS Consortium) เปนองคกรมีหนาท่ีกําหนดมาตรฐานในดานตางๆ

ท่ีเก่ียวของกับมโนทัศนของการแลกเปล่ียนและเขาถึงขอมูลรวมกันได (Interoperability) และ GSDI (Global Spatial Data Infrastructure) ซ่ึงเปนองคกรสากล มีวัตถุประสงคท่ีจะสงเสริมสนับสนุนความรวมมือนานาชาติในดานการจัดทํา S D I

3.3.8 มาตรฐาน ขอกําหนด และเคร่ืองมอืสนับสนุน

ภารกิจตางๆในการจัดทําระบบคนหาและใหบริการขอมูชมีหลายหลาก จําเปนตองยึดถือมาตรฐานและขอกําหนดอันเปนท่ียอมรับ จากการศึกษาพบวาองคกรตาง ๆ ท่ีจัดทําระบบคนหาและใหบริการขอมูลตางก็กําหนดแนวทางปฏิบัติไว

ดังน้ี

√ ใชมาตรฐานกลุม I S O 19100 สําหรับงานสวนท่ีเก่ียวของกับขอมูลปริภูมิและระบบภูมิสารสนเทศ

Page 41: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 17

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

√ ใช OGC specifications เปนขอกําหนดในดานการแลกเปล่ียนและเขาถึงขอมูลรวมกันได

√ สวนมาตรฐานในดานการติดตอส่ือสารระหวางคอมพิวเตอรหรือซอฟทแวรใช W W W และ Z39.50

3.4 นโยบายระดับชาติเกี่ยวกับ NSDI

กรอบนโยบาย โครงสรางองคกรและกฎ ระเบียบ ในสวนท่ีเปนองคประกอบของ N S D I น้ันประกอบดวยนโยบายระดับชาติ และระดับองคกรท่ีกําหนดทิศทางและบทบาทของหนวยงานในระดับตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติขององคกร รวมทั้งโครงสรางความสัมพันธระหวางองคกรเหลานั้น ใหสามารถทํางานประสานกันอยางสอดคลองในการพัฒนาและใชงานฐานขอมูลเชิงปริภูมิของชาติ

อยางมีประสิทธิผล

องคประกอบสวนน้ีของ NSDI มีความสําคัญอยางมาก และจะเปนตัวขับเคล่ือนใหเกิดการพัฒนาองคประกอบอ่ืน ๆ ของ N S D I ทั้งนี้ก็เนื่องจากรัฐซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการทรัพยากรตาง ๆ ของประเทศ ยอมมีบทบาทสําคัญในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ เกี่ยวกับภูมิสารสนเทศ ทั้งการสํารวจ จัดสรางชุดขอมูลภูมิศาสตร และการประยุกตใชงานขอมูลเหลาน้ัน ดังน้ันปญหาหรือความสําเร็จของกิจกรรมเก่ียวกับภูมิสารสนเทศจึงเกิดข้ึนในหนวยงานภาครัฐเปนสวนใหญ

นอกจากน้ันรัฐยังเปนผูกําหนดกฎหมาย ระเบียบตาง ๆ ท่ีสามารถเปนอุปสรรค หรือเอ้ืออํานวยตอการพัฒนาองคประกอบอ่ืน ๆ ของ N S D I ไดอีกดวย

ในประเทศสหรัฐอเมริกาน้ัน ไดมีการกําหนดกรอบนโยบายของรัฐอยางคอนขางชัดเจนเกี่ยวกับการพัฒนา NSDI ซ่ึงจะสามารถใชศึกษานํามาประยุกตในการกําหนดกรอบนโยบายของประเทศไทย ซ่ึงนโยบายระดับชาติเก่ียวกับการพัฒนา NSDI ของประเทศสหรัฐอเมริกาน้ันไดถูกกําหนดไวอยางละเอียดชัดเจนใน คําส่ังผูบริหาร (Executive Order) หมายเลข 12906 ของประธานาธิบดีบิล คลินตัน ซึ่งเปนคําสั่งเร่ือง การประสานการจัดหาและการเขาถึงภูมิสารสนเทศโดยโครงสรางพื้นฐานขอมูลปริภูมิแหงชาติ มีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้

Page 42: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 18

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

√ ภูมิสารสนเทศมีความสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศ และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ฝายบริหารจึงควรรวมมือกับรัฐ ทองถ่ิน และเอกชนพัฒนาโครงสรางพื้นฐานขอมูลปริภูมิแหงชาติ ( N S D I ) ขึ้นเพื่อสนับสนุนการประยุกตใชภูมิสารสนเทศเชิงปริภูมิในกิจกรรมตาง ๆ

√ ใหหนวยงาน Federal Geographic Data Committee (FGDC) ทําหนาท่ีประสานหนวยงานของรัฐทั้งหลายในการพัฒนา N S D I

√ ให FGDC แสวงหาความรวมมือจากรัฐตาง ๆ และหนวยงานทองถิ่น รวมทั้งใชประโยชนจากความรูและประสบการณของสถาบันการศึกษา หนวยงานเอกชน และองคกรวิชาชีพตาง ๆ ในการพัฒนา N S D I

√ ใหจัดสรางระบบคนหาและใหบริการขอมูลของสหรัฐ ฯ ขึ้นภายใน 6 เดือน โดยระบบดังกลาวตองเขากันไดกับโครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศแหงชาติ

( N a t i o n a l I n f o r m a t i o n I n f r a s t r u c t u r e )

√ ภายใน 9 เดือนใหหนวยงานทุกแหงเร่ิมจัดทําคําอธิบายขอมูลสําหรับภูมิสารสนเทศที่จะสํารวจ หรือจัดสรางขึ้นใหม ตามมาตรฐานท่ี F G D C จะกําหนดข้ึน และจัดใหขอมูลคําอธิบายเหลานั้นสามารถเขาถึงไดโดยเครือขายระบบคนหาและใหบริการขอมูล และภายใน 1 ปใหหนวยงานทุกแหงจัดทําแผนงานในการจัดทําคําอธิบายขอมูลสําหรับภูมิสารสนเทศ

เดิมที่มีอยูท้ังหมด

√ ภายใน 1 ป ใหทุกหนวยงานกําหนดแผนงานในการจัดทํากระบวนการท่ีจะใหประชาชนทั่วไปเขาถึงภูมิสารสนเทศของตนไดตามขอบเขตของกฎหมาย

√ ภายใน 1 ป ใหทุกหนวยงานกําหนดข้ันตอนภายในเพ่ือใหแนใจไดวาหนวยงานไดตรวจสอบผานระบบคนหาและใหบริการขอมูลแลววาขอมูลไดมีการจัดทําไวแลวหรือไม กอนที่จะมีการใชงบประมาณในการสํารวจจัดทํา

ขอมูลใหม

√ ใหกระทรวงมหาดไทยจัดงบประมาณสนับสนุนการพัฒนาระบบคนหาและใหบริการขอมูลโดยใหครอบคลุมถึงการพัฒนาระบบตนแบบ การพัฒนามาตรฐาน และการติดตามตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบคนหาและ

ใหบริการขอมูลดวย

Page 43: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 19

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

√ ให FGDC พัฒนามาตรฐานตาง ๆ ท่ีจําเปนตอการจัดทํา NSDI ข้ึนโดยการปรึกษาและรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ รวมทั้งประชาคมระหวาประเทศดวย

√ หนวยงานท่ีไดรับการมอบหมายใหรับผิดชอบขอมูลประเภทตาง ๆ ตองทําการพัฒนามาตรฐานสําหรับขอมูลประเภทนั้น ๆ โดยผานทาง F G D C

√ หนวยงานของรัฐทุกหนวยงานที่ทําการสํารวจรวบรวมจัดสรางภูมิสารสนเทศ ตองดําเนินการใหขอมลูดังกลาวไดตามมาตรฐานตาง ๆ ท่ีกําหนดโดย F G D C

√ ภายใน 9 เดือน F G D C ตองเสนอแผนงานและกําหนดระยะเวลาในการจัดสราง National Digital Geospatial Framework ใหแลวเสร็จภายในเดือนมกราคม ปค.ศ. 2000 ซึ่ง Framework นี้จะตองประกอบดวยภูมิสารสนเทศ

พื้นฐานที่มีความสําคัญตอกลุมผูใชสวนใหญ

√ ภายใน 9 เดือน FGDC ตองจัดทําแผนกลยุทธสําหรับการสรางความรวมมือกับรัฐตาง ๆ หนวยงานทองถ่ิน และภาคเอกชน ในการรวมกันออกคาใชจาย

และปรับปรุงประสิทธิภาพของการจัดสรางชุดขอมูลภูมิศาสตร

√ หนวยงานในคําสั่งนี้ใหหมายรวมถึงหนวยงานทางทหาร และสวนตาง ๆ ของกระทรวงกลาโหมดวย

√ ใหสามารถยกเวนการใชคําส่ังน้ีกับกิจกรรมตอไปน้ี

Λ กิจกรรมของกระทรวงกลาโหม เกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ ตามท่ีกําหนดโดยรัฐมนตรีกลาโหม

Λ กิจกรรมของกระทรวงพลังงาน เก่ียวกับการปองกันประเทศ ตามท่ีกําหนดโดยรัฐมนตรีพลังงาน และ

Λ กิจกรรมเก่ียวกับการขาวกรอง ตามท่ีกําหนดโดยผูอํานวยการขาวกรองกลาง

เนื่องจาก NSDI ยังเปนเรื่องที่ใหมในประเทศไทย และความพยายามแกไขปญหาทางดาน G I S ในชวงท่ีผานมาเปนความพยายามดําเนินการในแตละองคประกอบโดยมิไดพิจารณาในภาพรวมของทั้งโครงสราง ดังน้ัน นโยบายท่ีชัดเจนของประเทศไทยในประเด็นที่เกี่ยวกับชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน, ระบบ

Page 44: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

3 - 20

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

คนหาและใหบริการขอมูล และมาตรฐานตาง ๆ จึงยังไมมีใหเห็นเปนรูปธรรม การเสนอแนะนโยบายระดับชาติท่ีมีความชัดเจน เหมาะสมทั้งในเชิงเทคนิคและเชิงปฏิบัต ิ และมีความเปนไปไดในการนําไปใชงานจริง จึงเปนสวนสําคัญสวนหน่ึงของโครงการจัดทําแผนแมบท G I S แหงชาติน้ี

Page 45: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 1

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

4. การพัฒนาบุคลากร

นอกจาก NSDI ท่ีถือเปนพ้ืนฐานสําคัญของการพัฒนา GIS ของประเทศแลว ยังมีองคประกอบอ่ืน ๆ ที่ไมอยูใน NSDI แตมีความสําคัญตอความสําเร็จของการพัฒนา G I S โดยเฉพาะการพัฒนาดานบุคลากรเพื่อใหมีกําลังคนที่เพียงพอและมีคุณภาพมาดําเนินการพัฒนาทางดานภูมิสารสนเทศ ตลอดจนการสรางองคความรูทางดานภูมิสารสนเทศของคนไทยขึ้นเองแทนที่จะลอกเลียนจากตางประเทศเปนหลักดังเชนท่ีเปนอยูในปจจุบัน รวมท้ังการสราง K n o w - h o w ตาง ๆ ที่ผูใชจําเปนตองมีเพื่อจะไดใชประโยชนจาก G I S

ดังน้ัน แผนแมบท GIS แหงชาติจึงไดกําหนดประเด็นศึกษาวิเคราะหในเร่ืองตาง ๆ เหลานี้ไว และถือเปนสวนสําคัญสวนหน่ึงท่ีประเทศจะตองมีนโยบายและแผนดําเนินการท่ีชัดเจน โดยไดแบงประเด็นเก่ียวกับการพัฒนาบุคลากรออกเปนสาม

ดานดวยกันคือ

1. การพัฒนาดานกําลังคน ซึ่งเนนไปที่การพัฒนากําลังคนในสายวิชาชีพทางดานภูมิสารสนเทศโดยตรง ไดแก วิศวกรสํารวจ นักทําแผนท่ี นักภูมิศาสตร นักวิเคราะหดานการสํารวจระยะไกล

2. การพัฒนาดานงานวิจัย เนนไปที่สงเสริมใหเกิดการวิจัยทางดานภูมิสารสนเทศทั้งในเชิงลึกระดับพื้นฐาน (Basic Research) และเชิงประยุกต ( A p p l i e d R e s e a r c h ) เพ่ือสรางองคความรูของคนไทยข้ึนเอง

3. การบริการวิชาการ เนนไปที่สงเสริมใหเกิดการเผยแพรความรูและเทคนิคทางดานภูมิสารสนเทศไปสูบุคลากรในวิชาชีพสายอ่ืนท่ีมีความจําเปนหรือความเก่ียวของกับภูมิสารสนเทศ เชน นักปาไม นักส่ิงแวดลอม นักธรณีวิทยา วิศวกรโยธา หนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป การบริการวิชาการยังรวมไปถึงการใหบริการในรูปแบบอ่ืน ๆ ท่ีสังคมมีความตองการ เชน การใหคําปรึกษาในการพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศ เปนตน

Page 46: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 2

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

รายละเอียดของแนวคิด สถานภาพ ตลอดจนแนวทางการดําเนินงานในแตละสวนไดแสดงไวในหัวขอ 4 . 1 – 4 . 3

4.1 การพัฒนาดานกําลังคน

แมวาการพัฒนากําลังคนดานภูมิสารสนเทศจะไมไดเปนองคประกอบที่ถูกบรรจุอยูใน NSDI แตการพัฒนากําลังคนก็ถือเปนสวนที่สําคัญมากที่มิอาจที่จะละเลยไปได และในความเปนจริงแลวบุคลากรก็มีสวนเก่ียวของกับแผนพัฒนาแทบทุกแผน ดังนั้นกอนที่มีการจะกลาวถึงแผนกําลังคนดานภูมิสารสนเทศนี ้ จึงจําเปนที่จะตองนิยามความหมายของคําวาบุคลากรในแผนน้ีกอน โดยในแผนการพัฒนากําลังคนดานภูมิสารสนเทศนี้จะมุงเนนเฉพาะบุคลากรในสายวิชาชีพทางดาน Geo-informatics หรือเรียกโดยยอวา GI สําหรับบุคลากรในวิชาชีพสายอื่นและผูใช รวมไปถึงประชาชนโดยท่ัวไปจะถูกกลาวถึงในการบริการวิชาการ และในสวนของแผนสงเสริมและพัฒนางานวิจัยก็จะมีการกลาวถึงบุคลากรที่เปนนักวิจัย ฉะนั้นในสวนของแผนนี้ก็จะกลาวถึงเพียงบุคลากรในสายวิชาชีพทางดาน G I

วัตถุประสงคหลักของแผนการพัฒนากําลังคนดานภูมิสารสนเทศมีสองประการคือ

1. เพ่ือทําใหเกิดการใชทรัพยากรบุคคลในประเทศท่ีมีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด

2. เพ่ือแกไขปญหาการขาดแคลนบุคลากรในสายวิชาชีพดาน G I ทั้งในภาครัฐและเอกชน

4.1.1 สถานภาพและปญหาท่ีเกิดข้ึนในปจจบัุน

ในการจัดการระบบภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพนั้นจําเปนตองใชบุคคลที่มีความรูความสามารถและประสบการณเปนการเฉพาะดาน แตเม่ือมองถึงสถานภาพโดยรวมของประเทศไทยในปจจุบัน จะเห็นไดวามีบุคลากรในหนวยงานภาครัฐที่มีความรูความสามารถและประสบการณในดานดังกลาวนอยมาก และจากขอมูลที่ไดจากการประชุมคณะกรรมการภูมิสารสนเทศแหงชาติครั้งที่ 1 เม่ือวันท่ี 4 ตุลาคม พ.ศ. 2544 ไดสรุปวาไดมีความพยายามดําเนินงานใหสอดคลองตามแผนปฏิบัติการพัฒนา GIS ในชวงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 8 ของท้ัง 10 หนวยงานระดับ

Page 47: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 3

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

กระทรวง เปนวงเงินประมาณการจํานวนเงินถึง 15,135 ลานบาท แตก็ยังไมสามารถทําใหเกิดการบริหารจัดการดานสารสนเทศทางภูมิศาสตรใหกับรัฐบาลไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ขอมูลที่ไดจากการสํารวจขอมูลที่เปนสถานภาพปจจุบันดานระบบภูมิสารสนเทศและขอมูลท้ังหมดของหนวยงานภาครัฐ ซ่ึงไดถูกนําเสนอในการประชุมคณะกรรมการภูมิสารสนเทศแหงชาติครั้งที่ 2 เม่ือวันท่ี 20 ธันวาคม พ.ศ. 2544 ไดสรุปวา มีบุคลากรในหนวยราชการตางๆท่ีเก่ียวของในดานน้ี รวม 561 คนเทาน้ัน (โดยไมไดมีการจําแนกวาเปนบุคลากรในระดับใดบาง อีกท้ังตัวเลขท่ีปรากฏน้ันนอยกวาท่ีควรจะเปนมากซึง่นาจะมาจากวิธีการท่ีใชในการเก็บขอมูล) และจากขอมูลท่ีสํารวจไดในสวนของแผนงานพัฒนาบุคลากรในทุกหนวยงาน ก็ไมมีหนวยงานใดเลยท่ีมีแผนงานดานการพัฒนาบุคลากรท้ังในปจจุบันและอนาคต

ในอดีตและปจจุบัน ไมมีการสนับสนุนใหทํางานวิจัยและพัฒนาอยางจริงจัง ซึ่งถือเปนสวนหน่ึงของการพัฒนาบุคลากร ผลท่ีตามมาก็คือการเปนรับเทคโนโลยีจากตางประเทศมาใชและตองพึ่งพาเทคโนโลยีจากตางประเทศ แนวโนมที่เกิดขึ้นในปจจุบันการท่ีหลายหนวยงานในสวนราชการกําลังมุงเนนการผลิตแผนท่ีฐานใน

รูปแบบดิจิตอลและในภาคเอกชนเองก็ไดรับงานจากภาครัฐ และเนื่องจากการทํางานดังกลาวตองอาศัยบุคลากรท่ีมคีวามรูความสามารถและประสบการณเฉพาะดาน จึงทําใหเกิดปญหาการขาดแคลนบุคลากรในสายวิชาชีพน้ี นอกจากน้ีปญหาท่ีสําคัญท่ีเก่ียวของกับบุคลากรอีกประการหน่ึงก็ปญหาการขาดการประสานงานระหวาง

หนวยงานท่ีเก่ียวของ เพ่ือใหเกิดการใชทรัพยากรบุคคลท่ีกระจายอยูหนวยงานของรัฐรวมกันใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน การขอคําปรึกษาหรือความรวมมือจากผูเชี่ยวชาญในสวนของมหาวิทยาลัย เปนตน อีกท้ังการขาดการยอมรับบุคลากรทางดาน G I ในองคกรท่ีมีหนาท่ีท่ีเก่ียวของกับงานดาน G I โดยเฉพาะตําแหนงในระดับสูงในองคกรท่ีควรจะยอมใหบุคลากรท่ีมีคุณวุฒิเพ่ิมเติมทางดาน G I น้ันสามารถสรางความกาวหนาในหนาท่ีการงานตอไปได รวมท้ังอัตราเงินเดือนท่ีตํ่าเม่ือเปรียบเทียบกับภาคเอกชน จึงทําใหขาดแรงจูงใจที่จะทําใหบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญไมเขามาทํางานในดานนี้ หรือแมกระท่ังมีการเปล่ียนสายงานของผูเชี่ยวชาญที่กําลังทํางานในดานนี้อยู การที่ไมมีการสนับสนุนใหทํางานวิจัยและพัฒนาอยางจริงจัง เพ่ือท่ีจะนําผลงานวิจัยมาประยุกตใชการแกปญหาท่ีเกิดข้ึนในหนวยงานน้ันๆ ซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของการพัฒนาบุคลากร และนโยบายในอนาคตก็จะเปนตัวกําหนดความตองการบุคลากร เชน ถารัฐตองการที่จะลดการพึ่งพา

Page 48: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 4

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

เทคโนโลยีจากตางประเทศก็จําเปนที่จะตองสงเสริมและสนับสนุนใหมีงานวิจัยมากขึ้น

4.1.2 หนวยงานท่ีมีหลักสตูรและการฝกอบรมท่ีเก่ียวของกับ GIS

หลักสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี โท และเอก รวมท้ังหลักสูตรการฝกอบรมตางๆ ถือวาเปนองคประกอบท่ีสําคัญอยางย่ิงตอการพัฒนาบุคลากร ดังน้ันจึงจําเปนที่จะกลาวถึงสถานภาพของหลักสูตรตางๆ ท่ีเก่ียวของกับงานทางดาน GIS ในประเทศไทย โดยตัวอยางของหนวยงานท่ีมีหลักสูตรการเรียนการสอนและการฝกอบมท่ีเก่ียวของกับ G I S คือ

√ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Λ ภาควิชาวิศวกรรมสํารวจ คณะวิศวกรรมศาสตร มีหลักสูตรการเรียนการสอนท้ังระดับปริญญาตรี และโท และกําลังอยูในระหวางการจัดทําหลักสูตรระดับปริญญาเอก รวมทั้งมีการจัดหลักสูตรฝกอบรมระยะสั้นและการบรรยายทางวิชาการดาน G I อยางตอเน่ือง

Λ ภาควิชาภูมิศาสตร คณะอักษรศาสตร มีหลักสูตรการเรียนการสอนท้ังระดับปริญญาตรีและโท

√ Asian Institute of Technology (AIT) มีหลักสูตรการเรียนการสอนท้ังระดับปริญญาโทและเอก และยังมีการการจัดหลักสูตรฝกอบรมระยะสั้นทางดาน G I อยางตอเน่ือง

√ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Λ ภาควิชาภูมิศาสตร คณะศิลปศาสตร มีหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี

Λ ภาควิชาวิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีหลักสูตรการเรียนการสอนท้ังระดับปริญญาตรีและโท

Λ ภาควิชาเทคโนโลยีชนบท คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี

Page 49: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 5

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

√ โรงเรียนนายรอย จ.ป.ร. วิศวกรรมสํารวจ มีหลักสูตรการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี

√ ภาควิชาการจัดการปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มีหลักสูตรการเรียนการสอนท้ังระดับปริญญาตรี โทและเอก

√ ภาควิชาภูมิศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สถาบันราชภัฏนครราชสีมา มีหลักสูตรการเรียนการสอนท้ังระดับปริญญาตรีและโท

√ ภาควิชาภูมิศาสตร คณะสงัคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม มีหลักสูตรการเรียนการสอนท้ังระดับปริญญาตรีและโท

√ ภาควิชาทรัพยาการท่ีดินและส่ิงแวดลอม คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน มีหลักสูตรการเรียนการสอนท้ังระดับปริญญาตรี และโท และกําลังอยูในระหวางการจัดทําหลักสูตรระดับปริญญาเอก

√ ภาควิชาภูมิศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีหลกัสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี

√ ภาควิชาภูมิศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา มีหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี

√ G I S T D A มีการจัดการประชุมวิชาการระดับชาติ และดูแลวารสารสมาคมสํารวจขอมูลระยะไกลและสารสนเทศภูมิศาสตร และยังมีการจัดฝกอบรมระยะสั้นทางดาน G I อยางตอเน่ือง

√ กรมการผังเมือง มีการจัดฝกอบรมระยะส้ันทางดาน G I อยางตอเน่ือง

ตารางท่ี 4.1 แสดงใหเห็นหนวยงานที่มีหลักสูตรการเรียนการสอนและฝกอบรมที่เก่ียวของกับสายวิชาชีพดาน G I ท่ีกลาวมาแลวขางตน

Page 50: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 6

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

หนวยงาน \ หลักสูตร ตรี โท เอก ฝกอบรม ภาควิชาวศิวกรรมสํารวจ จุฬาฯ / / O / ภาควิชาภูมิศาสตร จุฬาฯ / / AIT / / / ภาควิชาภูมิศาสตร ธรรมศาสตร / ภาควิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ธรรมศาสตร / / ภาควชิาเทคโนโลยีชนบท ธรรมศาสตร / โรงเรียนนายรอย จ.ป.ร. / ภาควิชาการจัดการปาไม ม.เกษตร / / / ภาควิชาภูมิศาสตร สถาบันราชภัฏนครราชสีมา / / ภาควิชาภูมิศาสตร ม.เชียงใหม / / ภาควิชาทรัพยาการทีด่ินและสิ่งแวดลอม ม.ขอนแกน / / O ภาควิชาภูมิศาสตร ม.ศรีนครินทรวิโรฒ / ภาควิชาภูมิศาสตร ม.บูรพา / GISTDA / กรมการผังเมือง / ตารางท่ี 4.1 หลักสตูรและการฝกอบรมในสถาบันตาง ๆ O หมายถึงยังไมเปดสอนแตมีโครงการท่ีจะเปดสอน

4.2 งานวิจัย นับตั้งแตมีการนําระบบภูมิสารสนเทศเขามาใชในประเทศไทย ต้ังแตแรกน้ันสวน

ใหญเปนไปในรูปแบบของการทดลองนําไปใชกับงานดานตางๆ ในลักษณะของโครงการนํารองขนาดเล็ก โดยใชเปนเพียงการจัดเก็บขอมูลใหอยู ในรูปของอิเล็กทรอนิกส เพื่อการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบัน และสืบคนไดสะดวกข้ึน โดยท่ีไมไดมีรูปแบบมาตรฐานการจัดเก็บ เพื่อทดลองประเมินผลถึงประโยชนท่ีไดรับ และปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานตางๆ ตอมาไดมีการขยายการนําเอาระบบภูมิสารสานเทศไปใชงานอยางกวางในชวง 5 ปท่ีผานมา แตก็เปนไปในลักษณะตางคนตางทําไมมีรูปแบบมาตรฐานอะไรมารองรับ โดยมีวัตถุประสงคเพียงเพื่อใหสามารถรองรับการใชงานของแตละหนวยงานเทาน้ัน สําหรับงานวิจัยท่ีเ ก่ียวของสวนใหญเปนไปในลักษณะของการนําระบบ

สารสนเทศไปประยุกตใชหรือเปนเคร่ืองมือในการบริหารจัดการขอมูลตามโครงการดานตางๆ ท่ีตองใชขอมูลเชิงตําแหนง มีการออกแบบจําลองฐานขอมูลตามการใชงานของแตละโครงการ เท า น้ัน แตอย าง ไร ก็ตาม หนวยงานของ รัฐ อาทิ เช น กระทรวงวิทยาศาสตรและส่ิงแวดลอมในสมัยน้ัน ไดตระหนักถึงความจําเปนท่ีตองจัด

Page 51: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 7

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ใหมีมาตรฐานโครงสรางขอมูล (Data Dictionary) ขึ้น จึงริเร่ิมใหมีการศึกษาวิจัยกําหนดกรอบโครงสรางขอมูลของชั้นขอมูลตางๆ เพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติงานเปนไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประสบความสําเร็จเปนท่ีนาพอใจ มีการนําไปใชงานกันอยางกวางขวาง ตอมาหลายๆ หนวยงานไดเห็นความสําคัญตอการวางแผนกลยุทธในการนําระบบภูมิสารสนเทศมาใช ไดมีการจัดทําแผนแมบททางดานระบบภูมิสารสนเทศของหนวยงานขึ้น แตก็เปนเพียงการนําเอาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาสนับสนุนการทํางานตามภารกิจของหนวยงานเทาน้ัน งานวิจัยท่ีมีขึ้นในสถาบันศึกษาก็มีขึ้นไมมากนักท่ีเปนการวิจัยเชิงพื้นฐาน สวน

ใหญเปนงานวิจัยในลักษณะเดียวกับท่ีกลาวมาแลวขางตน โดยการไปเปนท่ีปรึกษาในการจัดทําระบบให เน่ืองจากในหนวยงานตางๆ ไมมีบุคลากรท่ีมีความรูความเขาใจในการจัดทําระบบภูมิสารสนเทศเพียงพอ ซึ่งจะวาไปแลวก็มิใชเปนงานวิจัยท่ีชวยใหเกิดการพัฒนาการใชระบบภูมิสารสนเทศเปนไปอยางย่ังยืน เปนการรับจางการทําโครงการเสียมากกวา ท้ังน้ีเน่ืองมาจากการไมมีแหลงทุนวิจัยสนับสนุนทางดานภูมิสารสนเทศอยางชัดเจน ถึงแมวารัฐบาลจะเห็นความสําคัญในการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร และ เทค โน โล ยี แต ก็ เป น ไป เพื่ อกา รส นับส นุน ในส วนของภาคอุตสาหกรรมในการลดตนทุนการผลิตท้ังภาคเกษตรและอุตสาหกรรมท่ีมีคุณภาพสูง ดานการผลิตกําลังคนเทาน้ัน โดยในปงบประมาณ 2546 ไดจัดสรรงบประมาณไวถึง 3044 ลานบาท เปนทุนการศึกษาจํานวนท้ังสิ้น 14,291 คน แบงเปนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1035 คน ดานพัฒนากําลังคนท่ีเนนทักษะและองคความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจํานวน 12,036 คน ดานเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ 1,200 คน โดยไมมีงบประมาณสวนใดชี้ชัดวาเปนการสนับสนุนใหเกิดงานวิจัยดานภูมิสารสนเทศอยางชัดเจน ทําใหไมเกิดพลังผลักดันใหเกิดนวัตกรรมใหมทางดานภูมิสารสนเทศ สําหรับปญหาและอุปสรรคท่ีทําใหความสามารถทางเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ

ของประเทศอยูในระดับตํ่า พอสรุปไดดังน้ี

√ ขาดการประสานเช่ือมโยงขององคประกอบท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ไมมีความรวมมือระหวางภาครัฐ ภาคการศึกษา และภาคเอกชน ทําใหไมเกิดความรวมมือในการทําวิจัยระหวางภาคท้ังสาม

√ บุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาไมเพียงพอ สาเหตุหลักมิใชมาจากขาดบุคลากรโดยตรง แตเน่ืองมาจากการพัฒนาบุคลากรท่ีมุงเนนผลิตบุคลากรท่ี

Page 52: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 8

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

เปนผูใชมากกวาเปนผูสรางสรรค ประกอบกับขาดสิ่งจูงใจดานอาชีพ และรายไดมีจํากัด ทําใหเกิดการเปลี่ยนสายงานหรือที่เรียกวา สมองไหล

√ คาใชจายในการวิจัยและพัฒนาตํ่า เมื่อพิจารณาโดยรวมแลวคาใชจายในสวนน้ีของประเทศไทยตํ่ามากเม่ือเทียบกับประเทศท่ีพัฒนาแลว โดยจะอยูท่ีประมาณรอยละ 0.13 ของ GDP เทาน้ัน ในขณะท่ีประเทศอ่ืนอยูท่ีรอยละ 1 - 3 ของ G D P ซึ่งสวนใหญก็มุงเนนที่ภาคการผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรม การลงทุนในสวนของภาคเอกชนคอนขางตํ่ามากเม่ือเทียบกับภาครัฐ ซึ่งแตกตางกับประเทศที่พัฒนาแลวอยางมาก

4.2.1 องคความรูท่ีเกี่ยวของงานวิจัยดานภูมิสารสนเทศ

ภูมิสารสนเทศ หรือ Geo-Informatics (GI) เปนศาสตรท่ีประกอบดวยศาสตรตางๆ ไดแก Surveying and Mapping, Photogrammetry and Remote Sensing, Satellite Surveying (GPS), Hydrographic Survey, Cartography และ Geographic Information System (GIS) รวมไปถึงทางดาน Information T e c n o l o g y ท่ีเก่ียวของ ดังแสดงในรูปที ่ 4 . 1

สภาพงานวิจัยดานภูมิสารสนเทศท่ีผานมาในอดีตและปจจุบัน สามารถแบงไดสองลักษณะคือ

1. งานวิจัยพื้นฐานดานภูมิสารสนเทศ ซึ่งเปนการวิจัยท่ีกอใหเกิดนวัตกรรมและองคความรูใหมๆ ดานเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ซึ่งท่ีผานมามีไมมากนัก ถือวามีนอยมาก เชน

Λ การออกแบบมาตรฐานขอมูล G I S

ΛΛ Data Processing Techniques for High Accuracy GPS

ΛΛ Generalization For Map Features by the Nickerson & Freeman M e t h o d i n G e o g r a p h i c I n f o r m a t i o n S y s t e m

2. งานวิจัยเชิงประยุกตดานภูมิสารสนเทศ เปนงานวิจัยประยุกตใชภูมิสารสนเทศดานตางๆ เชิงวิเคราะห เพื่อสรางองคความรูการนําภูมิสารสนเทศไปใชประโยชนอยางถูกตอง เชน

Page 53: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 9

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

Λ การตรวจหาความเปล่ียนแปลงสภาพพ้ืนท่ีดวยภาพดาวเทียม 2 ชวงเวลา

Λ การประยุกตใชขอมูลดาวเทียมแลนดแซททีเอ็ม รวมกับ แผนที่มาตราสวนใหญเพ่ือหาความเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิพ้ืนผิวท่ีเกิดจากอาคาร

สูง

รูปท่ี 4.1 องคความรูดานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับภูมิสารสนเทศ

4.2.2 วัตถปุระสงคการพัฒนางานวจัิย

√ เพื่อสงเสริมใหเกิดองคความรูการนํา G I ไปใชอยางถูกตอง

√ เพื่อสงเสริมงานวิจัยพื้นฐานดาน G I เชน

Λ การพัฒนาอัลกอริธึมการประมวลผลขอมูล G P S

Λ การพัฒนาอัลกอริธึมการประมวลผลขอมูล D E M , D T M เปนตน

√ เพ่ือสงเสริมงานวิจัยเชิงประยุกตดาน G I เชน

Λ การนําภาพถายดาวเทียมไปใชในการวิเคราะหดานตางๆ

Λ การพัฒนากรรมวิธีในการใชเทคโนโลยีปรับปรุงภูมิสารสนเทศ

Page 54: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 10

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

√ เพ่ือสนับสนุนการนํา G I ไปใชในระบบ G I S ไดอยางมีประสิทธิภาพ

√ เพื่อใหมีแหลงขอมูลงานวิจัยทางดาน G I

4.2.3 องคประกอบท่ีจําเปนของการพัฒนางานวจัิย

แนวทางการพัฒนางานวิจัยทางดานภูมิสารสนเทศของประเทศไทยจําเปนตองอาศัยองคประกอบตอไปน้ี

√ รัฐบาลตองมีนโยบายสนับสนุนใหมีการวิจัยเชิงพ้ืนฐานและเชิงประยุกตดาน G I เพื่อสรางองคความรูและ K n o w - h o w ในประเทศ

√ มีแหลงทุนใหการสนับสนุนงานวิจัย แกสถาบันการศึกษาหรือหนวยงานดายวิจัยอยางเพียงพอ

√ มีการกําหนดทิศทางการวิจัยใหสอดคลองกับสภาพปญหา

4.3 การบริการวชิาการแกสังคม

ภูมิสารสนเทศจัดเปนเทคโนโลยีใหมท่ีไดถูกนํามาใชในประเทศไทยมาเปนเวลามากกวา 10 ปแลว ในปจจุบันจํานวนผูใชงานไดเพิ่มขึ้นตลอดเวลาเพราะวาไดมีการเล็งเห็นถึงประโยชนของภูมิสารสนเทศตอการปฎิบัติการในองคกรและประโยชนตอการพัฒนาประเทศซ่ึงรวมท้ังประโยชนตอทางดานเศรษฐกิจและสังคม การใชภูมิ

สารสนเทศสวนใหญจะเปนการใชงาน

√ แบบสวนบุคคล เพื่อการวิเคราะหงานเฉพาะกิจ การวางแผน เปนตน

√ ใชในการบริหารขอมูลภูมิศาสตร

√ ใชในการปฎิบัติงาน (O p e r a t i o n )

√ ใชกับ E x e c u t i v e I n f o r m a t i o n S y s t e m

การประยุกตใชงานภูมิสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพสูงสุดสําหรับหนวยงาน จะตองนําภูมิสารสนเทศเขาไปใชงานทั้งหนวยงาน โดยตองถือวาภูมิสารสนเทศตองเปนสวนหน่ึงของระบบสารสนเทศองคกร (Enterprise Information System) โดยท่ัว ๆ ไป หนวยงานยังขาดแคลนบุคลากรของท่ีมีความเชีย่วชาญทางดานการสรางภูมิสารสนเทศระดับองคกร ดังน้ัน หนวยงานจึงจําเปนที่จะตองพึ่งพาหนวยงาน

Page 55: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 11

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ภายนอกอ่ืน ๆ ซึ่งอาจจะมาจากทางภาครัฐและเอกชนเขามาชวยเหลือในการวางแผนและจัดสรางภูมิสารสนเทศ

การใหบริการทางวิชาการในโครงการศึกษาน้ีหมายถึง

√ ใหคําแนะนําในการประยุกตภมิูสารสนเทศตอสังคมและหนวยงานท่ัว ๆ ไป โดยเนนไปท่ีกลุมท่ียังไมรับรูถึงประโยชนของภูมิสารสนเทศตอการ

ดําเนินงานและไมมีศักยภาพท่ีจะรับรูโดยตัวเอง

√ ใหคําปรึกษาท่ัวไปเก่ียวกับการประยุกตใชภูมิสารสนเทศในหนวยงาน หนวยงานในกรณีนี้ไดเล็งเห็นประโยชนของภูมิสารสนเทศแลว แตตองการความชวยเหลือทางวิชาการเพ่ือท่ีจะหาแนวทางประยุกตใชภูมิสารสนเทศ

√ ใหบริการดานการจัดทําแผนหลักภูมิสารสนเทศสําหรับองคกร

√ ใหคําปรึกษาในการจัดสรางระบบภูมิสารสนเทศ

Λ การออกแบบระบบภมิูสารสนเทศ

Λ การจัดทํามาตรฐานภูมิสารสนเทศขององคกร

Λ การออกแบบฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ

Λ การวิเคราะหแหลงท่ีมาของภูมิสารสนเทศ

Λ การสรางฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ

Λ การวิเคราะหและออกแบบ Business Process และ การปรับปรุง Work F l o w

Λ การสรางโปรแกรมประยุกต

Λ การออกแบบสถาปตยกรรมของระบบคอมพิวเตอร เชน Centralized, D i s t r i b u t e d , I n t e r n e t a n d I n t r a n e t เปนตน

Λ การเผยแพรโปรแกรมประยุกต

Λ การฝกสอนโปรแกรมประยุกตและกระบวนการทํางานตาง ๆ

Λ การทดสอบระบบภูมิสารสนเทศ

Λ การสรางภูมิสารสนเทศสําหรับการทดสอบ

Page 56: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 12

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

Λ การบริหารโครงการทางดานระบบภูมิสารสนเทศ

√ การพัฒนาวิธีการรังวัดภูมิสารสนเทศโดยเทคโนโลยีทันสมัย

Λ G P S

Λ R e m o t e S e n s i n g

Λ P h o t o g r a m m e t r y

Λ I n S A R a n d L I D A R

Λ การสํารวจรังวัดท่ัวไป

Λ H y d r o g r a p h i c S u r v e y i n g

Λ E t c .

√ แนวทางการปรับปรุงภูมิสารสนเทศ

√ การทํา G I S P i l o t P r o j e c t .

√ การพัฒนาบุคลากรทางดานภูมิสารสนเทศ

√ อ่ืน ๆ

4.3.1 หนวยงานท่ีใหบริการทางวิชาการ

หนวยงานที่มีศักยภาพในการใหบริการทางภูมิสารสนเทศ แบงออกเปนกล ุ มไดดังตอไปน้ี

√ หนวยงานภาครัฐ

√ องคการมหาชน

√ สถาบันการศึกษา

√ มูลนิธ ิ

√ ภาคเอกชนในประเทศ

√ หนวยงานระหวางประเทศ

Page 57: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 13

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

4.3.2 สถานะภาพทางดานการบริการวิชาการ

การบริการทางวิชาการท่ีผานมาสวนใหญจะเปน การทําแผนแมบททางภูมิสารสนเทศ การจัดทําฐานขอมูลภูมิศาสตรในดานตาง ๆ การพัฒนาโปรแกรมประยุตทางภูมิสารสนเทศ การใหคําปรึกษาดานภูมิสารสนเทศ และการฝกอบรมทางภูมิสารสนเทศ ดังแสดงในตารางที ่ 4 . 2

ประเภทการบริการวิชาการ ตัวอยางหนวยงานหรือโครงการ หนวยงานท่ีใหบริการทางวิชาการ การจัดทําแผนแมบทระบบ ภูมิสารสนเทศ

กรุงเทพมหานคร กรมพัฒนาสงเสริมพลังงาน การไฟฟาฝายผลิต การไฟฟาภูมิภาค

สถาบันการศึกษา บริษัทเอกชน

การจัดทําแผนแมบทระบบสารสนเทศภูมิศาสตรที่เปนสวนหนึ่งของการทําแผนแมบทสารสนเทศของหนวยงาน

กรมทรัพยากรธรณี บริษัทเอกชน

การฝกอบรมทางดานภูมิสารสนเทศ เปนโครงการอบรมใหแกขาราชการและประชาชนท่ัวไป

สถาบันการศึกษา หนวยงานภาครัฐ สทอภ.

การจัดทําฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ โครงการสรางฐานขอมูลภูมิศาสตรระดบัจังหวัดของกรม สงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

โครงการประยุกตใช ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อการจัดการสิ่งแวดลอมภาคเหนือของสํานักงานโนยบายและแผนสิ่งแวดลอม

โครงการจัดทําแผนทีต่ั้งแสดงที่ตั้งและรายละเอียดในที่ราชพัสดขุองกรมธนารักษ

สถาบันการศึกษา บริษัทเอกชน มูลนิธิ

การจัดทําฐานชอมูลทรัพยากรจากขอมูลดาวเทียม

สทอภ องคการมหาชน

การพัฒนาโปรแกรมประยุกตทางภูมิสารสนเทศ

การไฟฟานครหลวง การไฟฟาภูมิภาค สํานักปลัดกระทรวงคมนาคม

บริษัทเอกชน

ตารางท่ี 4.2 แสดงประเภทของการใหบริการวิชาการ หนวยงานที่รบัและใหการบริการวิชาการ

Page 58: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

4 - 14

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

4.3.3 ปญหาการใหบริการทางวิชาการ

√ การทําแผนแมบทระบบสารสนเทศภูมิศาสตรท่ีผานมาจะเนนไปท่ีการจัดการภูมิสารสนเทศเทานั้น ยังไมไดวิเคราะหถึงกิจกรรมที่เกี่ยวของกับภูมิสารสนเทศ นอกจากนั้นการทําแผนแมบทระบบภูมิสารสนเทศตองถือเปนสวนหน่ีงของการทําแผนแมบททางระบบสารสนเทศของหนวยงาน

√ สวนใหญบุคลากรท่ีทําการทําแผนแมบทระบบภูมิสารสนเทศจะเปนผูเชี่ยวชาญทางภูมิสารสนเทศเทานั้น การทําแผนแมบทระบบภูมิสารสนเทศที่ถูกตองตองมีผูเชี่ยวชาญทางระบบสารสนเทศและผูเชี่ยวชาญ

ทางดานกิจกรรมหลักของหนวยงานน้ันๆ

√ ในกรณีท่ีมีโครงการทําแผนแมบททางระบบสารสนเทศของหนวยงานโดยมีแผนยอยทางดานภูมิสารสนเทศ สวนใหญโครงการเหลานี้จะใหความสําคัญของภูมิสารสนเทศนอยมาก สาเหตุมาจากการไมมีผูเชี่ยวชาญ

ทางภูมิสารสนเทศในการทําโครงการฯ

√ การใหบริการทางการฝกอบรมทางภูมิสารสนเทศยังมีนอยเกินไปไมพอกับความตองการ สวนใหญจะเปนการอบรมจากทางสถาบันการศึกษาและ สทอภ. ปญหาเกิดจากสถาบันการศึกษายังขาดแคลนอุปกรณท่ีจําเปนสําหรับการฝกอบรม เชน ขาดแคลนระบบคอมพิวเตอร เปนตน และสถาบันการศึกษาใหการอบรมไดในชวงเวลาระยะสั้นเทานั้น เชน ชวงปดเทอม เปนตน

√ ประเทศไทยยังขาดผูเช่ียวชาญทางดานการประยุกตใชภูมสิารสนเทศในกิจกรรมตาง ๆ ซ่ึงตองอาศัยผูเช่ียวชาญจากตางประเทศ

√ ยังมีหนวยงานอีกจํานวนมากที่สามารถใชประโยชนจากภูมิสารสนเทศ เชน หนวยงานปกครองสวนทองถ่ิน เปนตน แตในปจจุบันยังไมมีแผนการและงบประมานสนับสนุนในการใหความรูทางภูมิสารสนเทศแกหนวยงานกลุมนี้

Page 59: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 1

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

5. องคประกอบอื่นที่จําเปนตอการพัฒนา GIS

องคประกอบท่ีสําคัญอีกสวนหน่ึงของการพัฒนาภูมิสารสนเทศของประเทศ นอกเหนือไปจาก NSDI และบุคลากร แลวก็คือ องคประกอบทางดานเทคโนโลยีท่ี

เก่ียวของกับ

การหาพิกัดตําแหนงซ่ึงถือเปนสวนสําคัญท่ีทําใหภูมิสารสนเทศมีความแตกตางไปจากขอมูลชนิดอ่ืน ๆ

ซอฟทแวรสําหรับการประมวลผลทางดานภูมิสารสนเทศ และ

การเชื่อมโยงภูมิสารสนเทศที่ไดจากการสํารวจระยะไกล ซึ่งใหขอมูลที่ทันสมัยและนับวันจะมีบทบาทมากข้ึนเร่ือย ๆ เขากับภูมิสารสนเทศจาก

แหลงขอมูลอื่น

การศึกษาเพ่ือจัดทําแผนแมบท G I S แหงชาติจึงไดกําหนดประเด็นศึกษาวิเคราะหในเร่ืองตาง ๆ ขางตนไว และถือเปนสวนสําคัญสวนหน่ึงท่ีประเทศจะตองมี

นโยบายและแผนดําเนินการท่ีชัดเจน

5.1 การพัฒนาดานซอฟทแวร

คอมพิวเตอรฮารดแวรและคอมพิวเตอรซอฟทแวรสําหรับงานภูมิสารสนเทศ เปนเคร่ืองมือและอุปกรณหลักสําหรับการบริหารจัดการสารสนเทศภูมิศาสตร ต้ังแตการนําเขา การจัดเก็บ การเรียกมาใชงาน การนําเสนอผล และการวิเคราะห

ในสวนของคอมพิวเตอรฮารดแวรเปนยอมรับกับท่ัวไปวามวิีวัฒนาการคอนขางเร็ว ราคาถูกลง และในขณะเดียวกันมีประสิทธิภาพมากขึ้นเรื่อยๆ ทําใหปญหาในเชิงสมรรถนะการประมวลผลลดลงไปมากหรือกลาวไดวาไมมีในปจจุบัน ในขณะที่งานภูมิสารสนเทศตองการซอฟทแวรคอมพิวเตอรสําหรับการประมวลผลที่ซับซอนขึ้น มีขีดความสามารถมากขึ้น สามารถท่ีจะจําลองแบบใหใกลเคียงกับโลกของความเปนจริงมากขึ้น เพ่ือนําไปสูการตอบปญหาในโลกจริงและนําไปสูการตัดสินใจแกปญหา

Page 60: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 2

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ท่ีถูกตอง ในแผนแมบท GIS แหงชาติ จึงใหความสําคัญกับการพัฒนาซอฟทแวรภูมิสารสนเทศมากกวาคอมพิวเตอรฮารดแวร

ซอฟทแวรภูมิสารสนเทศจําเปนสําหรับเปนในการดําเนินดานการจัดการขอมูลและการประยุกตขอมูลเชิงเลขทุกชนิด ปจจุบันอุตสาหกรรมซอฟทแวรสารสนเทศทั่วไปในประเทศโดยรวมยังไมพัฒนาเทาที่ควร มีการนําเขาซอฟทแวรจากตางประเทศคิดเปนมลูคานับพันลานบาท ดังน้ันในแผนแมบท GIS แหงชาติจะมีขอบเขตของการพิจารณาซอฟทแวรภูมิสารสนเทศในแงมุมตาง ๆ เพ่ือการวิเคราะหไปสูการแกปญหา การสงเสริมการพัฒนาซอฟทแวรในประเทศ นอกจากนั้นยังจะมีการพิจาณาแผนการสงเสริมใหมีการนําเอาซอฟทแวรภูมิสารสนเทศมาใชงานอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา โดยในเบ้ืองตน จะเปนการเสนอภาพรวมของซอฟทแวรภูมิ

สารสนเทศ

5.1.1 ขอบขายการประยุกตใชซอฟทแวร

เมื่อพิจารณากลุมซอฟทแวรท่ีมีการใชในศาสตรตางๆ จะเห็นไดวามีซอฟทแวรกลุมตาง ๆ ดังน้ี

ซอฟทแวรสําหรับงานสารสนเทศภูมิศาสตร

ซอฟทแวรสําหรับดานการสํารวจระยะไกล

ซอฟทแวรสําหรับการสํารวจรังวัด

ซอฟทแวรระบบการจัดการฐานขอมูล ระบบเครือขาย ตลอดจนซอฟทแวรระบบ

ซึ่งในภายหลังจะเรียกซอฟทแวรเหลานี้โดยรวมวาเปน “ซอฟทแวรภูมิสารสนเทศ”

5.1.2 กลุมของหนวยงานท่ีเก่ียวของกับการพัฒนาซอฟทแวร

หากพิจารณาความเก่ียวของของหนวยงานท่ีใหการสนับสนุนสอดคลองกับแผนพัฒนาซอฟทแวรได ก็อาจพิจารณาแบงหนวยงานออกเปนกลุมตามภารกิจได

ดังน้ี

หนวยงานท่ีเปนหนวยปฏิบัติในภาครัฐ

Page 61: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 3

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

หนวยงานวิจัยและพัฒนาในภาครัฐ

สถาบันการศึกษา

บริษัทเอกชน

5.1.3 การแบงกลุมซอฟทแวรภูมิสารสนเทศตามฟงกชัน

ในแผนการสงเสริมการพัฒนาซอฟทแวร ยังตองมีการวิเคราะหถึงสถาพการณในปจจุบัน โดยเฉพาะเมือ่คํานึงถึงลักษณะการนําซอฟทแวรไปใชงานหรือในการดําเนินการดานภูมิสารสนเทศ โดยหากพิจารณาซอฟทแวรภูมิสารสนเทศวามีหนาที่ใชงานในลักษณะทั่วไปหรือเฉพาะกิจ ก็อาจแบงซอฟทแวรที่จะตองพัฒนาออกเปน

สองกลุมคือ

ซอฟทแวรสําหรับงานภูมิสารสนเทศท่ัวไป ที่มีฟงกชันครอบคลุม สามารถนําไปประยุกตใชในดานตาง ๆ และใชไดกับขอมูลตาง ๆ หลากหลาย

ซอฟทแวรประยุกตเฉพาะกิจ ที่หมายถึงซอฟทแวรที่มีฟงกชันการประยุกตใชงานในขั้นสูง มีความซับซอนในการลําดับและวิธีการคิดคํานวณ

5.1.4 การแบงกลุมซอฟทแวรสารสนเทศตามสถาปตยกรรม

ปจจุบันการใชงานคอมพิวเตอรผูใชสามารถเลือกใชงานซอฟทแวรบนกลุมฮารดแวรจากสองกลุมสถาปตยกรรม ท้ังสองกลุมสถาปตยกรรมจะมีความตางกันในแงของราคา สมรรถนะ สถาปตยกรรมของคอมพิวเตอรทั้งสองแบงไดเปน

Complex Instruction Set Computer: CISC คือคอมพิวเตอรท่ีสามารถคิดคํานวนงานท่ีซับซอนดวยชุดคําส่ังจํานวนนอย และระบบมักมีราคาถูก ตัวอยางของคอมพิวเตอรน้ีไดแก I n t e l - b a s e d P C

Reduced Instruction Set Computer: RISC คือคอมพิวเตอรท่ีสามารถคิดคํานวณงานดวยชุดคําสั่งงายๆ โดยที่แตละคําสั่งสามารถปฎิบัติใหเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาหนึ่งรอบนาฬิกา ตัวอยางของคอมพิวเตอรน้ีไดแก S u n , S G I

ดังนั้นในแผนการสงเสริมการพัฒนาซอฟทแวร ก็จะตองมีการพิจารณาขีดความสามารถ การตลาดและราคา โดยเฉพาะในกรอบแวดลอมของประเทศไทยที่

Page 62: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 4

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ไมใชผูผลิตคอมพิวเตอรฮารดแวรที่มีสมรรถนะสูงซึ่งจะนําไปสูแผนของการพัฒนา ซอฟทแวรวา ควรจะพัฒนาซอฟทแวรเพ่ือนําไปใชบนคอมพิวเตอรท่ีมีสถาปตยกรรม

ใด

5.1.5 การแบงกลุมซอฟทแวรสารสนเทศตามผูผลิต

การแบงซอฟทแวรตามผูผลิตสามารถแบงออกเปนผูผลิตเชิงพาณิชยและเชิงการวิจัย ในการศึกษาก็จะตองมีทําความเขาใจดวยวา ซอฟทแวรจากกลุมใดสามารถตอบสนองความตองการใชงานซอฟทแวรภูมิสารสนเทศได มากนอยเพียงใด

5.1.6 หนวยท่ีเก่ียวของกับการวจัิยพัฒนาซอฟทแวร

กอนที่จะเริ่มทําการสงเสริมการพัฒนาซอฟทแวรก็ควรจะไดมีการพิจารณาภาพสถานการณปจจุบันวาหนวยงานใดใหการสนับสนันการพัฒนาซอฟทแวรอยูแลวบาง เพื่อใหเห็นกลยุทธของการสงเสริมพัฒนาซอฟทแวรภูมิสารสนเทศที่มีอยู ในเบ้ืองตน

ก็อาจพิจารณากลุมหนวยงานที่สงเสริมการวิจัยดังนี้

หนวยงานสงเสริมการวิจัยและพัฒนาที่มีขอกําหนดเรื่องซอฟทแวรภูมิสารสนเทศ หนวยงานดังกลาวไดแก สํานักพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภมูิสารสนเทศ (สทอภ) ศูนยเทคโนโลยีอิเล็คทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

(เนคเทค)

หนวยงานสงเสริมการวิจัยและพัฒนาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีโดยท่ัวไป ไดแก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแหงชาติ สํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว)

สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย

หนวยงานเอกชน

หนวยงานองคกรความรวมมือ หรือความชวยเหลือระหวางประเทศ

ในแผนแมบท GIS แหงชาติ ไดมีการเรียนรูจากประสพการณของหนวยงานสงเสริมการวิจัยพัฒนาซอฟทแวรที่มีอยูแลว เพื่อพิจารณาความเขมขนของการวิจัย การใหการสนับสนุน เพ่ือใชเปนกรอบในการกําหนดกลยุทธตอไป และจะมีการพิจารณาแผนแมบทดวยไอทีจากตางประเทศประกอบอีกดวยในวาระตอไป

Page 63: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 5

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

5.1.7 โอกาสและภาวะคุกคาม

เพื่อใหการสงเสริมพัฒนาซอฟทแวรเปนไปในทิศทางที่ถูกตอง ตอบสนองตอความตองการของงานภูมิสารสนเทศ สามารถสนับสนุนงานปฏิบัติการในอยางมีประสิทธิภาพ มีการใชงบประมาณอยางเหมาะสม ตลอดเขากันไดกับภาคอุตสาหกรรมและสังคม จึงจําเปนตองพิจารณาโอกาสและภาวะคุกคามของการ

ใชงานซอฟทแวรภูมิสารสนเทศในชวงเวลาที่ผานมาดังนี้

ซอฟทแวรภูมิสารสนเทศที่ใชในปจจุบัน เปนซอฟทแวรเชิงพาณิชยนําเขาจากตางประเทศเกือบท้ังส้ิน

มูลคาของซอฟทแวรเม่ือเทียบกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตรท้ังระบบ รวมถึงขอมูล ซอฟทแวรภูมิสารสนเทศนับวามีมูลคาในสัดสวนที่นอย

หนวยราชการมีการจัดหาซอฟทแวรมาใชในกิจการและภาระกิจของตน และมักจะประสพปญหาในการนําไปใชใหมีประสิทธิภาพและคุมคา

ในการจัดหาซอฟทแวรภูมิสารสนเทศ มักจะไดซอฟทแวรที่มีฟงกชันที่ครอบคลุมการทํางานตางๆมากมาย แตบอยครั้งที่ผูใชตองการใชฟงกชัน

เพียงบางสวนเทานั้น

ในประเทศไทยมีซอฟทแวรจากผูผลิตรายใหญไมกี่ราย ท่ีไดรับการยอมรับและมีการใชงานอยางแพรหลาย

บุคลากรดานสารสนเทศ ยังจดัวาอยูในภาวะขาดแคลน โดยเฉพาะในสาขาภูมิสารสนเทศย่ิงมีจํานวนนอย

อีกทางเลือกหนึ่งของการพัฒนาซอฟทแวรในปจจุบัน ไดแก การพัฒนาซอฟทแวรและใชซอฟทแวรเปดรหัส ( O p e n S o u r c e S o f t w a r e )

การพัฒนาซอฟทแวรในประเทศยังไมสามารถแขงขันกับตางประเทศได

โอกาสและภาวะคุกคามเหลาน้ี จะถูกใชพิจารณาประกอบการกําหนดแผนแมบท GIS แหงชาติ เพ่ือใหสามารถท่ีจะกําหนดกลยุทธและการดําเนินการในอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพ

Page 64: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 6

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

5.1.8 นโยบายการสงเสริมการพัฒนาซอฟทแวร

เมื่อไดทําการพิจารณาประเด็นตางๆที่เกี่ยวของกับการพัฒนาซอฟทแวร ก็จะนําไปสูการสรุปขอเสนอแนะเชิงนโยบายที่จะตองบรรจุไวในแผนแมบทภูมิสารสนเทศ ซ่ึงจะไดนําเสนอในการประชุมระดมความคิดเห็นคร้ังตอไป โดยจะไดมีการเสนอ รูปแบบตางๆใหคณะท่ีปรึกษาไดพิจารณา และเสนอตอที่ประชุม W o r k i n g C o m m i t t e e เพื่อปรับปรุงตอไป

5.2 โครงสรางพ้ืนฐานการใหบริการเชิงตาํแหนง

การเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิประเทศและรายละเอียดบนแผนที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา เนื่องจากการพัฒนาไดแก การสรางถนน อาคาร บานเรือน ตาง ๆ การหักรางถางพง การเปล่ียนแปลงการใชประโยชนท่ีดิน น่ันหมายความวา ฐานขอมูลเชิงตําแหนงเปลี่ยนแปลงไป จึงเปนหนาท่ีของผูดูแลฐานขอมูลท่ีจะตองปรับปรุง

ขอมูลเดิมใหมีความถูกตองทันสมัย

การรังวัดเพ่ือกําหนดตําแหนงของส่ิงตาง ๆ ทั้งที่มีอยูตามธรรมชาติและที่มนุษยสรางขึ้นนั้น กระทําไดหลายวิธ ี ต้ังแตวิธีการวัดระยะและวัดมุมดวยเคร่ืองมืออยางงาย ๆ จนถึงเคร่ืองมืออีเล็คทรอนิค การรังวัดรูปถายดวยกลองถายรูปเชิงทัศนจนถึงกลองบันทึกภาพดวยเซนเซอรแบบตาง ๆ และการรังวัดเพือ่กําหนดตําแหนงจากการรับสัญญาณดาวเทียม ในบรรดาเทคนิคการทํางานเหลาน้ี การหาพิกัดตําแหนงจากระบบดาวเทียม จีพีเอส จะไดรับความนิยมและแพรหลายมากขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากนํามาใชงานไดสะดวก รวดเร็ว และแมนยํา

การหาพิกัดตําแหนงดวยดาวเทียม จีพีเอส ใชหลักการวัดระยะไปยังดาวเทียม และอาศัยตําแหนงดาวเทียมท่ีรูแลวมาคํานวณหาตําแหนงของเคร่ืองรับตามหลักการเล็งสกัดยอน (resection) เคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียมแบงเปน 2 กลุมหลัก คือ เคร่ืองรับแบบนําหน (navigation receiver) วัดระยะโดยอาศัยรหัสที่มอดูเลตมากับคล่ืนสง ตําแหนงท่ีหาไดมีความถูกตองในระดับ ∉ 20 เมตร แตถาใชเคร่ืองรับแบบนําหน 2 เคร่ืองมารับสัญญาณพรอมกันจากดาวเทียมกลุมเดียวกัน โดยมีเคร่ืองหน่ึงวางไวในตําแหนงท่ีรูคาพิกัดแลว ตําแหนงของจุดท่ีสองจะมีความถูกตองในระดับ ∉ 1 ถึง 5 เมตร วิธีทํางานลักษณะน้ีรูจักกันในช่ือของ DGPS (Differential GPS) เคร่ืองรับในกลุมท่ีสองเรียกวา เคร่ืองรับแบบรังวัด (survey ing หรือ geodet ic

Page 65: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 7

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

receiver) วัดระยะจากคล่ืนสง วิธีการทํางานจะคลายกับ DGPS น่ันคือ ตองมีเครื่องรับเครื่องหนึ่งวางไวในตําแหนงที่รูคาพิกัดแลว ซึ่งก็คือการหาตําแหนงสัมพัทธ (relative positioning) น่ันเอง การทํางานดวยเคร่ืองรับแบบรังวัดทําไดหลายวิธีซ่ึงจะใหความถูกตองทางตําแหนงอยูในระดับเซนติเมตร ตารางที ่ 5.1 เปนตารางสรุปความถูกตองทางตําแหนงท่ีได จากการหาพิกัดตําแหนงดวยดาวเทียม จีพีเอส

ระดับความถูกตอง (ความนาเช่ือถือ 95%)

ชนิดเคร่ืองรับ วิธีการทํางาน

∉ 20 เมตร ∉ 1 ถึง 5 เมตร ระดับเซนติเมตร

แบบนาํหน แบบนาํหน แบบรังวัด

Point Positioning Differential GPS (DGPS) Relative Positioning

ตารางท่ี 5.1 ความถูกตองจากการหาพิกัดตําแหนงดวยดาวเทียม จีพีเอส

5.2.1 ความจําเปนในการใหบริการ

การใชเคร่ืองรับแบบนําหนทํางานดวยวิธี DGPS และการใชเคร่ืองรับแแบบรังวัดทํางานดวยวิธีหาตําแหนงแบบสัมพัทธน้ัน ตองการเคร่ืองรับเพ่ิมอีกหน่ึงเคร่ืองเพ่ือวางไวในตําแหนงท่ีรูคาพิกัดแลว หรือเรียกวา สถานีฐาน (Base Stat ion) ปกติเคร่ืองรับท่ีสถานีฐานหน่ึงฐานใชกับเคร่ืองรับลูกขาย ( R o v e r ) ไดไมจํากัดจํานวน ดังน้ัน ถาสามารถจัดการใหทุกหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนใชสถานีฐานรวมกันได จะชวยใหประหยัดงบประมาณในการลงทุนเพื่อซื้อเครื่องรับมาไวที่สถานีฐานของแตละหนวยงานได ขอบเขตการใหบริการของสถานีฐานจะมีระยะทางที่จํากัดอันหน่ึง ดังน้ัน เพ่ือการใหบริการท่ีครอบคลุมพ้ืนท่ีเปาหมายอันหน่ึง จึงจําเปนตองมีสถานี

ฐานหลายจุดสําหรับการใหบริการ

5.2.2 รูปแบบการใหบริการ

เม่ือมีการใชสถานีฐานรวมกันในการทํางาน การนําขอมูลจากสถานีฐานมาใชประโยชน ทําได 3 รูปแบบ คือ

การนําขอมูลมาประมวลผลภายหลัง (Post Processing) ผูใชบริการนําขอมูลจากสถานีฐาน มาประมวลผลรวมกับขอมูลการรับสัญญาณดาวเทียมจากเคร่ืองรับของผูใชและดวยซอฟตแวรของผูใชเอง เนื่องจากซอฟตแวรเชิงพาณิชยแตละย่ีหอรับขอมูลดิบจากเคร่ืองรับตางย่ีหอไมได แตจะรับขอมูล

Page 66: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 8

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ในรูปแบบ RINEX ได ดังน้ัน การใหบริการของสถานีฐาน จึงตองแปลงขอมูลดิบใหอยูในรูปแบบ R I N E X

การหาพิกัดตําแหนงในทันที (Real-time Positioning) ผูใหบริการจะคํานวณคาแกระยะทางท่ีวัดไปยังดาวเทียมดวงตาง ๆ ในกรณีท่ีเปนวิธีการทํางานแบบ DGPS แลวสงกระจายออกไปทางคลื่นวิทยุจากสถานีฐาน หรือสงขึ้นไปท่ีดาวเทียมส่ือสารเพ่ือสงขอมูลกลับมายังพ้ืนผิวโลก ปกติขอมูลจะอยูในรูปแบบมาตรฐานของ RTCM (Radio Technical Commission Maritime)

ในกรณีท่ีเปนวิธีการทํางานแบบการหาตําแหนงสัมพัทธดวยเคร่ืองรับแบบรังวัด จะเปนการประยุกตใชวิธีการรังวัดแบบจลน (Kinematic Survey) ดังน้ัน จึงเรียกวิธีการหาตําแหนงในทันทีดวยเคร่ืองรับแบบรังวัดน้ีวา RTK (Real-Time Kinematic) กรณีน้ี สถานีฐานจะสงขอมูลดิบจากการรับสัญญาณออกไปดวยคลื่นวิทยุ ผูใชนําขอมูลท่ีไดจากสถานีฐานและจากดาวเทียม จีพีเอส มาประมวลผลตามวิธี RTK แลวแสดงผลเปนคาพิกัดในระบบพิกัดท่ีตองการไดทันทีในสนาม และมีความถูกตองทางตําแหนงในระดับเซนติเมตร

การประมวลผลผานเครือขาย (Web-based Processing) ผูใชสงขอมูลที่รับไดในรูปแบบ RINEX ไปที ่ Web site ท่ีเปนผูใหบริการ ผูใหบริการจะเลือกสถานีฐานที่เหมาะสมมาประมวลผลรวม เมื่อไดคาพิกัดตําแหนงแลว จึงสงคากลับคืนไปยังผูใช การใหบริการรูปแบบน้ี อาจรวมเปนสวนหน่ึงของระบบ

คนหาและใหบริการขอมูลได

5.2.3 ระบบการใหบริการเชิงตําแหนงของภาครัฐในตางประเทศ

ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีกระทรวงกลาโหมเปนผูดูแลระบบดาวเทียม จีพีเอส มีหนวยงานของรัฐท่ีใหบริการเชิงตําแหนงครอบคลุมทุกรูปแบบอยูหลายหนวยงาน หนวยงานหลักไดแก องคการบริหารการบินและอวกาศแหงชาติ (NASA) National Geodetic Survey (NGS) ซ่ึงอยูในสังกัดของ NOAA หนวยยามฝงของสหรัฐ (U.S. Coast Guard) และ Jet Propulsion Laboratory (JPL) ของสถาบันเทคโนโลยีแหงแคลิฟอรเนีย (California Institution of Technology) เปนตน

Page 67: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 9

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ประเทศออสเตรเลีย หนวยงาน Geoscience ใหบริการดานการประมวลผลเชิงตําแหนงหลายอยางโดยผานเครือขายอินเตอรเน็ต และมีหนวยงาน Australian Maritime Safety Authority (AMSA) ใหบริการดาน Real-Time DGPS โดยตั้งสถานีฐานตลอดแนวชายฝงทะเล 15 สถานี เพื่อใหผูใชสามารถบอกตําแหนงตัวเองไดในระดับเปนเมตร ประเทศสิงคโปรพัฒนาโครงการ SIMRSN (Singapore Integrated

Multi-Reference Station Network) โดยการสรางโครงขายของสถานฐาน จีพีเอส ท่ีมีการเชื่อมโยงดวยสายโทรศัพท เปาหมายคือการใหบริการทางตําแหนงในทันทีท้ังแบบท่ีเปน DGPS โดยการใชรหัสและแบบหาตําแหนงสัมพัทธดวยคลื่นสง นอกจากน้ียังใหบริการประมวลผลผานเครือขายดวย โครงการน้ี เปนความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนันยาง (Nanyang Technological University, NTU) และมหาวิทยาลัยนิวเซาทแวลส (University of New South Wales, UNSW) ประเทศออสเตรเลีย นอกจากน้ี NTU และ UNSW ยังมีแผนท่ีจะพัฒนาโครงขายสถานีฐานในลักษณะเดียวกับท่ีฮองกงอีกดวย

5.2.4 ระบบการใหบริการเชิงตาํแหนงของภาคธรุกิจในตางประเทศ Fugro เปนบริษัทท่ีใหบริการการหาตําแหนงผานดาวเทียมส่ือสารแก

ลูกคาท่ัวโลก ลักษณะของการใหบริการเปนแบบ DGPS แบงตามกลุมลูกคาเปน 3 กลุม คือ OmniSTAR SeaSTAR และ SeaStar dp OmniSTAR ใหบริการลูกคาท่ีใชงานบนภาคพ้ืนดิน SeaSTAR มุงเปาไปที่ลูกคาทางทะเล เชน เรือประมง เรือสินคา สวน SeaSTAR dp เปนบริการพิเศษเก่ียวกับการเดินเรือเฉพาะกลุม

Thales เดิมใชช่ือวา Racal ใหบริการระบบ Real-Time DGPS ผานดาวเทียมส่ือสารครอบคลุมพืน้ท่ีท่ัวโลกเชนเดียวกับ Fugro ใชช่ือระบบทางการคาวา Land Star-DGPS โดยใหบริการในการประยุกตใชงานในดานตาง ๆ ดวย เชน ดานการเกษตร การขนสง เปนตน

Trimble เปนผูผลิตเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียมรายใหญของโลกมีฐานอยูในประเทศสหรัฐอเมริกา ไดจัดทําระบบ VRS (Virtual Reference Station) ซ่ึงจัดสรางสถานีฐานข้ึนเปนโครงขายเพ่ือใหบริการหาตําแหนงแบบ RTK บริษัท Trimble เปนผูจัดหาฮารดแวร ซอฟตแวร และจัดวางระบบ

Page 68: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 10

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ท้ังหมดใหรวมท้ังอุปกรณการส่ือสารตาง ๆ ดวย จุดเดนของระบบก็คือขยายพ้ืนท่ีครอบคลุมการทํางานของสถานีฐานใหกวางข้ึนกวาการใชสถานีฐานเด่ียว

5.2.5 สถานภาพในประเทศไทย

หนวยราชการหลายแหงไดมีการจัดซ้ือหรือมีแผนจะจัดซ้ือเคร่ืองรับสัญญาณดาวเทียม จีพีเอส เพื่อใชในการดําเนินงานเปนสถานีฐานและใหบริการตามภาระกิจของหนวยงานตนเองเปนหลัก โดยยังไมมีการประสานงานเพื่อใชรวมกันอยางเปนทางการ ขอมูลท่ีรวบรวมไดมีดังน้ี

กรมการผังเมือง จัดสรางสถานีฐานท่ีดําเนินการแลวและพรอมดําเนินการได 1 1 แหง คือ อําเภอเมืองเชียงใหม อําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอเมืองอุดรธานี อําเภอเมืองนครสวรรค อําเภอเมืองอํานาจเจริญ อําเภอเมืองนครราชสีมา อําเภอเมืองชลบุร ี อําเภอเมืองประจวบคีรีขันธ อําเภอเมืองสุราษฎรธานี อําเภอเมืองสงขลา และท่ีสํานักงานกรมการผังเมือง กรุงเทพมหานคร กรมการผังเมืองมีแผนงานที่จะจัดสรางสถานีฐานใหครบ

ทุกจังหวัด

กรมปาไม เพ่ิงดําเนินการจัดซ้ือเคร่ืองรับเพ่ือใชเปนสถานีฐาน 6 แหง ในปงบประมาณ 2 5 4 5 น้ี และวางแผนที่จะวางไวที่สํานักงานเขตปาไมในภาคเหนือและอีสาน ดังน้ี คือ เขตแมสะเรียง เขตเชียงใหม เขตเชียงราย เขตอุดรธานี เขตอุบลราชธานี และอีกหน่ึงเขตในภาคอีสาน ในระบบของกรมปาไมจะเปนการใหบริการแบบ Real-Time DGPS โดยใชคล่ืนความถ่ีคล่ืนวิทยุในสวนกรมปาไมไดรับการจัดสรรอยูเดิม อยางไรก็ดีเคร่ืองรับท่ีสถานีฐานเปนเคร่ืองรับแบบรังวัดสองความถ่ีท่ีมีสมรรถนะท่ีจะใหบริการแบบ R T K ได

การทาเรือแหงประเทศไทย มีสถานีฐานอยูท่ีทาเรือคลองเตย ใหบริการแบบ Real-Time DGPS ในวันและเวลาราชการ โดยใชความถ่ี 297 KHz

กรมอุทกศาสตร จัดสรางสถานีฐานไว 2 แหง คือ ที่ประภาคารอําเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร และที่ฐานทัพเรือสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

Page 69: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 11

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมหาวิทยาลัยขอนแกน จัดสรางสถานีฐานไวมหาวิทยาลัยละ 1 แหง

กรมแผนที่ทหาร อยูในระหวางการดําเนินการจัดสรางสถานีฐาน เพื่อใหบริการแกผูใชทั่วไปทั้งหนวยงานราชการและเอกชน

5.2.6 สภาพปญหาของประเทศไทยในปจจุบัน

ขาดการประสานงานระหวางหนวยของรัฐ จากสถานภาพท่ีสรุปมา จะเห็นไดวา หลายหนวยราชการท่ีใชเทคโนโลยีดาวเทียม จีพีเอส มองเห็นความสําคัญของการมีสถานีฐานสําหรับการกําหนดตําแหนงเพ่ือบรรลุ

ภาระกิจของหนวยงาน จึงพยายามที่จะหาอุปกรณและเครื่องมือที่จําเปนตอการดําเนินการ และทําใหเกิดความซํ้าซอนของสถานีฐานท่ีใหบริการในพ้ืนท่ีเดียวกันข้ึน ดังน้ัน ถารัฐบาลมีนโยบายท่ีใหเกิดการประสานงานระหวางหนวยงานข้ึน จะทําใหลดงบประมาณในการลงทุนซื้อเครื่องมือ รวมทั้งคาใชจายในการดําเนินงานท่ีซ้าํซอนลงได หรือสามารถใชเคร่ืองมือท่ีซํ้าซอน

กันมาใหบริการใหครอบคลุมพืน้ท่ีอ่ืนไดมากข้ึน

มีมาตรฐานการทํางานท่ีแตกตางกัน เน่ืองจากไมมีการวางมาตรฐานการทํางานรังวัดดาวเทียม จีพีเอส ในระดับประเทศไว แตละหนวยงานจึงกําหนดวิธีการทํางานของตนเองข้ึนมา ทําใหผลการกําหนดตําแหนงมีความถูกตอง

ไมเทากัน

ขาดผูเช่ียวชาญท่ีมีความรูในดานงานรังวัดดาวเทียม จีพีเอส ที่จะวางแผนและดําเนินการใหถูกตองตามหลักวิชาการ

ระบบพิกัดที่แตละหนวยงานใชอยูยังไมไดมีการประสานท่ีจะรับรองผลไดวาเปนระบบพิกัดเดียวกันอยางแทจริง และเมื่อนําคาพิกัดจากตางหนวยงานมาใชรวมกันแลว คาพิกัดที่นํามาใชน้ีจะสอดคลองกันเพียงใด

5.3 การเช่ือมโยงขอมูล / ใชขอมูล Remote Sensing รวมกับ GIS

ในสวนนี้จะเปนการตรวจสอบสภาพการณและขอเท็จจริงของการใชระบบ G I S และระบบ Remote Sens ing กอนที่จะนําเอาขอมูลท่ีไดไปวิเคราะหเพื่อกําหนดแนวทางการแกไขปญหา และกําหนดแนวทางการเชื่อมโยงขอมูลในขั้นตอนตอไป

Page 70: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 12

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

5.3.1 สถานภาพปจจุบันการใชขอมูลภาพดาวเทียม

เทคโนโลยีการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียมถูกพัฒนาข้ึน โดยมีหลักการบันทึกขอมูลบนพ้ืนโลกเปนการผสมผสานระหวางเทคโนโลยีการถายภาพและโทรคมนาคมโดยใชคลื่นแสงที่เปนพลังงานแมเหล็กไฟฟาในการสงผาน

สัญญาณจากวัตถุเปาหมายสูอุปกรณบันทึกขอมูลท่ีติดต้ังบนดาวเทียมโดยออกแบบใหมีการบันทึกไดหลายชวงคล่ืนเพ่ือประโยชนในการจําแนกทรัพยากรตางๆบนพ้ืนโลก โดยอาศัยหลักการท่ีวัตถุตางชนิดกันจะมีการสะทอนพลังงานที่ตางกัน โดยท่ีดาวเทียมสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวงแรกท่ีถูกสงเขาสูวงโคจรคือดาวเทียม

L a n d s a t - 1

เทคโนโลยีการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียมไดถูกพัฒนาอยางตอเน่ืองต้ังแตบัดน้ันเปนตนมาโดยเฉพาะดานความละเอียด (Resolution) และความคมชัด (Information depth) ของขอมูล ในปจจุบันมีขอมูลภาพดาวเทียมที่ใชงานกันอยางแพรหลาย สามารถนํามาใชประโยชนไดอยางหลากหลายดาน

ประเทศไทยไดเร่ิมกิจกรรมการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียม ต้ังแตป พ.ศ. 2514 ในโครงการดาวเทียม ERTS-1 (โครงการ Landsat ในปจจุบัน) ขององคการบริหารการบินและอวกาศแหงชาติสหรัฐอเมริกา (NASA) ภายใตสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ซ่ึงตอมาเปล่ียนกองสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียม และสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ในป พ.ศ. 2543 ตามลาํดับ มีการจัดต้ังสถานีรับสัญญาณดาวเทียม ซ่ึงต้ังอยูในเขตลาดกระบัง ปจจุบันรับสัญญาณจากดาวเทียมหลักคือ L a n d s a t - 7 , I R C - 1C / 1D , และ R a d a r S A T - 1

ผลการสํารวจการใชเทคโนโลยีอวกาศของหนวยงานในประเทศไทย โดยคณะกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม พ.ศ. 2543 ไดขอสรุปวาขอมูลภาพดาวเทียม Landsat มีการใชอยางแพรหลาย ขณะเดียวกันหนวยงานมีความตองการใชขอมูลภาพดาวเทียมความละเอียดสูง และขอมูลภาพเรดาร อีกประการหน่ึงการประยุกตใชขอมูลภาพดาวเทียมถูกใชในดานการจัดการส่ิงแวดลอม การเกษตร ปาไม การใชท่ีดิน และการปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบัน เปนตน

Page 71: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 13

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

5.3.2 ศักยภาพของภาพดาวเทียมกับแผนท่ีมาตราสวนตางๆ

แผนที่มาตราสวนใหญ 1 : 1 , 0 0 0-1 : 10 , 0 0 0 จะมีความถูกตองตําแหนงสมบูรณ (Absolute Positional Accuracy) อยูในระดับ 0.2- 2 เมตร เชน ขอมูลภาพดาวเทียม IRS 1C/1D, QuickBird-2, IKONOS-2, SPOT-5 มีความละเอียดระหวาง 0 . 6 - 2 . 5 เมตร

แผนท่ีมาตราสวนกลาง 1:20,000 ถึง 1:50,000 จะมีความถูกตองตําแหนงสมบูรณอยูในระดับ 4 - 1 0 เมตร เชน ขอมูลภาพดาวเทียม S P O T - 4 , R A D A R S A T มีความละเอียดระหวาง 8 - 1 0 เมตร

แผนที่มาตราสวนเล็ก 1:100,000-1:1,000,000 จะมีความถูกตองตําแหนงสมบูรณ อยูในระดับมากกวา 2 0 - 2 0 0 เมตร เชน ขอมูลภาพดาวเทียม L a n d s a t - 7, R a d a r S A T มีความละเอียด 3 0 - 1 0 0 เมตร

5.3.3 สิทธิก์ารใชขอมูลภาพดาวเทียม

เน่ืองจากความหลากหลายของดาวเทียมท่ีสามารถนํามาประยุกตใชงาน ขอมูลภาพดาวเทียมแตละดวงมีราคาและเงื่อนไข รวมทั้งสิทธิ์ในการใชงานที่แตกตางกัน ขอมูลภาพดาวเทียมสวนใหญ โดยเฉพาะที่ดําเนินการโดยหนวยงานเอกชนจะมีขอกําหนดดานสิทธิ์และเงื่อนไขในการใชงานและเผยแพรทั้งสิ้น ราคาคาขอมูลภาพดาวเทียมที่กําหนดไวเปนเพียงราคาของสิทธิ์ในการใชขอมูลภาพดาวเทียมเทานั้น โดยสวนใหญแลวผูใชงานไมสามารถสําเนาขอมูลตนฉบับเกินกวา 3 สําเนา และไมสามารถเผยแพรขอมูลตนฉบับผานระบบเครือขายได ถาผูใชงานตองการสิทธ์ิในการสําเนาขอมูลตนไดเกินกวา 3 สําเนาภายในหนวยงานของตนเองหรือเผยแพรขอมูลผานระบบเครือขายดวยน้ัน จําเปนตองจัดซ้ือในราคาท่ีสูงข้ึน เชน ขอมูลภาพดาวเทียม IKONOS จะตองคิดในราคา Corporation ไมใช Company (ที่มา: www.spaceimage.com) หรือ ถาเปนขอมูลภาพดาวเทียม QuickBird ราคาขอมูลตองเพ่ิมข้ึนอีก 25% (ที่มา: www.digitalglobe.com) ดังน้ันในการจัดหาขอมูลภาพดาวเทียมจําเปนตองคํานึงถึงจํานวนผูใชงานท่ีจะตองสําเนาขอมูลตนฉบับไปใชงาน ถาสามารถรวมกระบวนการจาํแนก วิเคราะหและประมวลผลภาพไวที่หนวยงานเดียวเพื่อจัดสรางขอมูลผลลัพธ ซึ่งสามารถเผยแพรขอมูลผลลัพธนี้ไดอยางไมจํากัด

จะเปนการประหยัดงบประมาณไดอยางมาก

Page 72: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 14

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

5.3.4 สถานภาพปจจุบันการใชภาพถายทางอากาศ

การสํารวจดวยภาพถายทางอากาศ เปนการทําแผนที่ประเภทหนึ่งที่ใชกันอยางแพรหลายในประเทศไทย ต้ังแตมาตราสวนใหญถึงมาตราสวนกลาง โครงการทําแผนท่ีดวยภาพถายทางอากาศท่ีสาํคัญในประเทศไทยซ่ึงกําลังดําเนินงานอยูในปจจุบัน มี

ดังน้ี

โครงการทําแผนท่ีภูมิประเทศ 1:50,000 ชุด L7018 ของกรมแผนท่ีทหาร บินถายภาพทางอากาศท่ัวประเทศ มาตราสวน 1:50,000 ผลจากโครงการคือ แผนที่ภูมิประเทศ 1 : 5 0 , 0 0 0 ทั้งขอมูลเชิงเลขและเชิงเอกสาร

โครงการสํารวจและจัดทําขอมูลดานกายภาพเพ่ือการวางผังเมือง ของกรมการผังเมือง บินถายภาพทางอากาศส ีมาตราสวน 1:15,000 เฉพาะในเขตพ้ืนท่ีเมือง เชน เขตเทศบาล ผลจากโครงการคือ ฐานขอมูลเมือง ในรูปแผนที่ และแผนที่ภาพถายออรโทส ี มาตราสวน 1 : 4 , 0 0 0

โครงการจัดทําแผนท่ีเพ่ือการบริหารทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยสินของกระทรวงเกษตรและ สหกรณ บินถายภาพทางอากาศสีทั่วประเทศ มาตราสวน 1:25,000 ผลจากโครงการคือ แผนที่ภาพถายออรโทสีเชิงเลข ความถูกตองทางราบ 1 เมตร ความถูกตองทางด่ิง2 เมตร แบบจําลองความสูงเชิงเลขระยะหางจุด 15 เมตร และโครงขายหมุดหลักฐาน GPS ทุก 10-20 กิโลเมตร ความถูกตองทางราบ 1 เซนติเมตร

ช้ันขอมูลแผนท่ีซ่ึงไดจากการสาํรวจดวยภาพถายทางอากาศ จะถูกใชเปนแผนท่ีฐานสําหรับหนวยงานผูผลิต หรือหนวยงานอื่น และแผนท่ีดังกลาวจะถูกนําไปสรางเปนช้ันขอมูลหลักของระบบภูมิสารสนเทศตอไป อีกประการหน่ึง การนําภาพถายทางอากาศไปใชโดยหนวยงานอ่ืน ไมมีการกําหนดสิทธิ์การเผยแพรขอมูล

5.3.5 การประยุกตใชขอมลูภาพดาวเทียมกับระบบภมิูสารสนเทศ

จุดเดนขอมูลภาพดาวเทียมคือ ความทันสมัยของขอมูล ดังนั้นผลงานสวนใหญที่ไดการประยุกตใชขอมูลภาพดาวเทียมจะเปนการสรางแผนท่ีการใชท่ีดินเพ่ือจําแนกพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ชุมชนท่ีพักอาศัย พื้นที่ปาไม แหลงน้ํา เปนตน ขอมูลภาพดาวเทียมจะผานการประมวลผลในขั้นตอนตางๆ เชน Rectification, Classification หรือ

Page 73: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 15

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

Vectorization กอนนําเขาสูระบบภูมิสารสนเทศ จากน้ันจงึถูกนําไปวิเคราะหรวมกับชั้นขอมูลแผนที่อ่ืน เชน เขตการปกครอง เสนทางคมนาคม ลักษณะภูมิประเทศ เปนตน วิธีการวิเคราะหเชิงพื้นที ่ เชน การวิเคราะหแบบซอนทับขอมูล ( O v e r l a y Analysis) การวิเคราะหขอมูลโครงขาย (Network Analysis) และการวิเคราะหขอมูลพื้นผิว 3 มิติ (3-D Surface Analysis) ผลที่ไดก็เพื่อสรางสารสนเทศใหมที่เปน

ประโยชนตอการใชงานในข้ันตอนตอไป

นอกจากความสัมพันธระหวาง Remote Sensing กับ GIS ดังกลาวขางตนซ่ึงไดแสดงไวดังรูปท่ี 5.1 แลว การเลือกขอมูลภาพดาวเทียมมาใชงานยังขึ้นกับความถูกตองเชิงตําแหนงท่ีผูใชตองการอีกดวย เชนตองการความถูกตองเชิงตําแหนงในระดับ 1 เมตร ควรเลือกใชขอมูลภาพดาวเทียมความละเอียดสูง เชน IKONOS หรือ Q u i ck B i rd ถาตองการตองการความถูกตองเชิงตําแหนงในระดับ 20 เมตร ควรเลือกใชขอมูลภาพดาวเทียมความละเอียดปานกลาง เชน L a n d s a t , S P O T

รูปท่ี 5.1 แสดงความสัมพันธระหวาง Remote Sensing กับ GIS

5.3.6 สถานภาพปญหาในปจจุบัน

หนวยงานสวนใหญมีการใชระบบ GIS มีบางหนวยงานเทานั้นที่มีการใชงานท้ังระบบ G I S และ R e m o t e S e n s i n g

บุคลากรดาน G I S มีจํานวนมากกวาบุคลากรดาน Re m o t e S e ns i n g

โครงสรางองคกรสวนใหญจะแบงหนวยงาน G I S และหนวยงานดาน Remo t e Sens ing ออกจากกัน ดังนั้นโอกาสท่ีจะนําขอมูลทั้งสองมาใช

รวมกันจึงเปนไปไดไมมาก

ขอมูลภาพดาวเทียมกอนนํามาใชงาน ตองผานการประมวลผล เชน การแปลงระบบพิกัดใหเปนระบบพิกัดแผนท่ี และจําแนกขอมูล ( I m a g e C l a s s i f i c a t i o n ) ซึ่งตองการผูมีความรูความเชี่ยวชาญ ดังน้ันเม่ือรวมงบประมาณในการจัดขอมูลภาพดาวเทียม คาใชจายในการประมวลผล จะ

Page 74: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

5 - 16

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

ทําใหคาใชจายในการใชขอมูลภาพดาวเทียมมีมูลคาสูงเม่ือเทียบกับการจัดหาช้ันขอมูล G I S

Page 75: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

6 - 1

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

6. บทสรุป

6.1 ความจาํเปนของ NSDI

ขอมูลจํานวนมากที่ใชงานท่ัวไปในสังคมมีนัยเชิงตําแหนง ซ่ึงหมายความวาขอมูลเหลานี้สามารถอางอิงพิกัดบนผิวโลกซึ่งสามารถจัดทําเปนภูมิสารสนเทศหรือเช่ือมโยงกับภูมิสารสนเทศได ภูมิสารสนเทศ ซึ่งอาจปรากฏอยูในรูปแบบตาง ๆ เชน แผนที่ภูมิประเทศ แผนท่ีทางวิศวกรรม ภาพถายทางอากาศ ภาพดาวเทียม

มีบทบาทสําคัญเปนอยางสูงตอการพฒันาประเทศ

ในขณะเดียวกัน แมวาในปจจุบันหนวยงานตาง ๆ ในประเทศไทยจะมีทรัพยากรทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งคอมพิวเตอร ฮารดแวร ซอฟทแวร ฯลฯ แตภูมิสารสนเทศท่ีจําเปนตอการวิเคราะหหรือการตัดสินใจมักจะมีไมสมบูรณ

ครบถวน และกระบวนการพัฒนาขอมูลใหครบถวนสมบูรณเพียงพอตามความจําเปนก็อาจสิ้นเปลืองเวลาและกําลังงานเปนอยางมาก นอกจากน้ีขอมูลท่ีพัฒนาขึ้นแลวในหนวยงานหน่ึงอาจไมมีการเผยแพร ทําใหหนวยงานอ่ืนท่ีจําเปนตองใชขอมูลลักษณะเดียวกัน ไมทราบ และทําการพัฒนาขอมูลขึ้นมาใหม

อีกอันเปนการซํ้าซอนและส้ินเปลืองอยางมาก

ปญหาตาง ๆ ท่ีกลาวมาขางตนมิไดเกิดข้ึนเฉพาะกับประเทศไทยเทาน้ัน หากเปนปญหารวมท่ีประสบในทุกประเทศจนอาจกลาวไดวาสภาพปญหาท่ีเกิดข้ึนเปนข้ันตอนหน่ึงของกระบวนการวิวัฒนาการของการใชเทคโนโลยี G I S ดังน้ัน แนวทางท่ีนาจะถือเปนจุดเร่ิมตนในการแกไขปญหาทางดานภูมิสารสนเทศท่ีเกิดข้ึนในประเทศไทยคือการศึกษาประสบการณตาง ๆ จากประเทศท่ีไดพัฒนา GISมากอนและมีความกาวหนามากกวาประเทศไทย แนวทางท่ีปจจุบันไดรับการยอมรับอยางกวางขวางคือแนวทางท่ีเรียกวา NSDI (National Spatial Data Infrastructure) ซึ่ง

สรุปไดดังน้ี

“The NSDI is the total ensemble of available geographic information, as well as the materials, technology, and people necessary to acquire,

Page 76: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

6 - 2

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

process, store, and distribute such information to meet a wide variety of n e e d s.” (ที่มา : N a t i o n a l R e s e a r c h C o u n c i l , 1994)

N S D I ประกอบดวยสวนตาง ๆ ไดแก ขอมูลภูมิศาสตร รวมไปถึง วัสดุ เทคโนโลยี และทรัพยากรบุคคลเพื่อที่จะใหบรรลุวัตถุประสงคของการไดมา การประมวลผล การจัดเก็บ และเผยแพรภูมิสารสนเทศสําหรับการใชงานอยางกวางขวางในสังคม เม่ือประยุกตใช NSDI โดยคํานึงถึงสภาพปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นจริงในประเทศไทย อาจสรุปในช้ันตนไดในขณะน้ีวา องคประกอบของ NSDI สําหรับประเทศไทย มีดังนี้

∏ ชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐาน ซึ่งเปนกลุมของภูมิสารสนเทศที่ใชงานกันอยางแพรหลาย มีความถี่ของการใชงานสูง และเปนพืน้ฐานสําหรับการอางอิงตําแหนงของขอมูลอ่ืน ๆ

∏ ระบบคนหาและใหบริการขอมูล (Search Engine) สาเหตุสําคัญประการหนึ่งของการผลิตขอมูลซ้ําซอนกันคือผูที่ตองการใชขอมูลไมสามารถทราบไดวาขอมูลที่ตองการมีอยูหรือไมหรืออยูที่ใด และมีคุณลักษณะเชนใด จุดมุงหมายสําคัญประการหน่ึงของระบบคนหาและใหบริการขอมูล คือ เปนกลไกใหผูใชในการคนหาภูมิสารสนเทศที่ตองการ วามีอยูหรือไม ถาหากมีมีอยูท่ีหนวยงานใด นโยบายในการเผยแพรหรือจําหนายขอมูลเปนเชนไร เปนตน โดยท่ัวไประบบคนหาและใหบริการขอมูลจะประกอบดวย Node ตาง ๆ หลาย Node เปนลักษณะ Distributed Search Engine ตามขอเท็จจริงท่ีวาหนวยงานท่ีมีหรือผลิตภูมิสารสนเทศมีอยูเปนจํานวนมากและนับวันจะมากขึ้นเรื่อย ๆ

∏ มาตรฐานขอมูล การที่ภูมิสารสนเทศที่ถูกจัดสรางขึ้นโดยหนวยงานตาง ๆ จะสามารถถูกนํามาใชงานรวมกันไดยอมจะตองมีคุณสมบัติพ้ืนฐานท่ีเหมือน หรือสอดคลองกัน ซึ่งการที่ขอมูลจากหลากหลายที่มาเหลานี้จะถูกจัดสรางขึ้นใหมีลักษณะดังกลาว ยอมมิใชเกิดข้ึนโดยบังเอิญ ในทางตรงกันขาม จะตองเกิดจากการท่ีมีการตกลงกันลวงหนาเก่ียวกับรูปแบบกลางท่ีหนวยงานผูสรางขอมูลทั้งหลายจะยึดถือเปนแบบ ซ่ึงก็คือมาตรฐานขอมูลน่ันเอง มาตรฐานขอมูลทางดานภูมิสารสนเทศจึงมีความสําคัญอยางย่ิง

ท่ีจะทําใหเกิดการแลกเปล่ียนใชงานภูมิสารสนเทศรวมกันได

Page 77: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

6 - 3

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

∏ นโยบายและกรอบการบริหารจัดการ การพัฒนาขอมูลหรือระบบสารสนเทศใด ๆ ก็ตามยอมพัฒนาภายใตกรอบนโยบายหรือทิศทางขององคกร แตเนื่องจากมีหลายหนวยงานที่เกี่ยวของกับ NSDI การพัฒนา NSDI ในระดับประเทศจึงจําเปนตองมนีโยบายท่ีชัดเจนเพ่ือใหหนวยงานตาง ๆ ยึดถือรวมกัน และมีกรอบโครงสรางสําหรับการบริหารจัดการที่เหมาะสมเพื่อ

รองรับการประสานงานระหวางหนวยงาน

6.2 องคประกอบของการพัฒนาทางดานภูมสิารสนเทศ

นอกจาก NSDI แลว องคประกอบท่ีสําคัญอีกสําหรับการพัฒนาภูมิสารสนเทศของประเทศคือ ทรัพยากรมนุษยซ่ึงหมายรวมไปถึงกําลังคนและองคความรูทางดานภูมิสารสนเทศภายในประเทศ (รายละเอียดในบทท่ี 4 ) และเทคโนโลยีตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการหาตําแหนงและการประมวลผลทางดานภูมิสารสนเทศ (รายละเอียดในบทท่ี 5 )

รูปท่ี 6.1 องคประกอบทั้งสามดานของการพัฒนาทางดานภูมิสารสนเทศ

การศึกษาเพ่ือจัดทําแผนแมบท G I S แหงชาติจึงไดกําหนดประเด็นศึกษาวิเคราะหในเร่ืองตาง ๆ ขางตนไว และถือเปนสวนสําคัญสวนหน่ึงท่ีประเทศจะตองมีนโยบายและแผนดําเนินการท่ีชัดเจน ดังน้ัน อาจสรุปเปนภาพรวมของการศึกษา

Page 78: โครงการจัดทําแผนแม บท GIS แห งชาติบทที่ 3 nsdi และสถานภาพ nsdi ประเทศไทย 3.1 ชุดข

6 - 4

รายงานแผนการศึกษาโครงการแผนแมบท GIS แหงชาติ

แผนแมบท GIS แหงชาติน้ีไดวาเปนการศึกษาวิเคราะหในสามองคประกอบใหญท่ีมีความสําคัญตอการพัฒนาภูมสิารสนเทศของประเทศ (รูปท่ี 6 . 1 ) คือ

1. N S D I

2. ทรัพยากรมนุษย

3. เทคโนโลยี

6.3 การดําเนินงานขั้นตอไป

จากแนวคิด ภาพรวม ตลอดจนการวิเคราะหขอมูลขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับสภาพการณทางดานภูมิสารสนเทศของประเทศไทยในเบื้องตนซึ่งไดนําเสนอไวในรายงานฉบับน้ี การดําเนินงานข้ันตอไปจะเปนการวิเคราะหในรายละเอียดซ่ึงจะนําไปสูขอสรุปท่ีมีความชัดเจนมากข้ึนเก่ียวกับองคประกอบท้ังสามดานของการ

พัฒนาภูมิสารสนเทศ ดังน้ี

Λ การพัฒนา N S D I C o n c e p t ของประเทศไทยและการกําหนดองคประกอบใน NSD I เปนการวิเคราะหและนําเสนอ NSDI ท่ีเหมาะสมสําหรับประเทศไทยที่มีความชัดเจน เปนรูปธรรมมากขึ้น

Λ การกําหนดชั้นขอมูลในชุดขอมูลภูมิศาสตรพื้นฐานใหชัดเจน แนนอน เพ่ือใหสามารถกําหนดหนวยงานหลักทาง G IS ของประเทศได ซึ่งจะสงผลตอไปยังการกําหนดหนวยงานที่จะมารวมพัฒนาระบบคนหาและ

ใหบริการขอมูล

Λ วิเคราะหและนําเสนอแนวทางตาง ๆ ท่ีเปนไปไดท่ีจะสงผลไปตอการกําหนดนโยบายการเผยแพร และการคิดราคาภูมิสารสนเทศท่ีจัดทําข้ึน

โดยหนวยงานภาครัฐ

Λ การกําหนดแนวทางการพัฒนาบุคลากรและเทคโนโลยี โดยใหมีรายละเอียดท่ีเหมาะสมสําหรับการจัดทําเปนแผนพัฒนาตอไป

ผลลัพธที่ไดจะนําเสนอและประชุมปรึกษาหารือรวมกับตัวแทน S e c t o r ใน Working Committee และ Advisory Committee เพ่ือจัดทําเปนรายงานระยะกลาง (I n t e r i m R e p o r t) ตอไป