ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบ ......92...

6
* คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบขี้เถ้าจากใบต้นหูกวาง Space of the Nature: Wood Ash Glaze from Tropical Almond Tree Lamp ธนสิทธิ์ จันทะรี* บทคัดย่อ งานสร้างสรรค์ ที่ว่างในธรรมชาติ : เคลือบขี้เถ้าจากใบต้นหูกวาง นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างผลงานโคมไฟที่เชื่อมโยงผู้คนให้ เข้ากับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่หมุนเวียนเป็นวัฏจักร และน�าเสนอการท�าเคลือบเครื่องปั ้นดินเผาทีใช้วัตถุดิบหลักในท้องถิ่น ท�าง่าย เหมาะส�าหรับนักท�าเครื่องปั้นดินเผารุ่นใหม่ และช่างท�าเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน โดยทดลองเคลือบ จากใบของต้นหูกวางที่ผลัดใบทั้งต้นในหน้าหนาว ไม่ต้องไปตัดต้นไม้ และชิ้นงานขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน และเทคนิคฉลุเป็นที่ว่าง โดยได้ แรงบันดาลใจจากที่ว่างในธรรมชาติ ผลการทดลองเคลือบได้สูตรที่ 6 มีส่วนผสมของ ขี้เถ้า 40% ดิน 20% และหินฟันม้า 40% เผาที่อุณหภูมิ 1,220 องศาเซนเซียส ด้วยเตาแก๊ส บรรยากาศเผาไหม้แบบสมบูรณ์ และน�ามาประกอบเป็นโคมไฟ มีผิวสีฟ้าอ่อนและ สีเขียวอ่อน Abstract The creative work of “Space of the Nature: Wood Ash Graze from Tropical Almond Tree” aims to create the work that naturally connects people to the environment. Using the environment-friendly materials that are cycling recyclable, the work presents the ceramic glaze using major local materials, easy to make, and suitable for new ceramic manufacturers and local ceramic manufacturers. By experimenting the glaze from tropical almond tree leaves which all fall off from the tree in the winter, without having to cut down the trees, the work was formed by throwing on the potter’s wheel perforating an empty space which was inspired by the empty space of the nature. The results reveal that the 6th experiment consisted of 40% wood ash, 20% clay and 40% feldspar heated by gas of 1220 Celsius (°C) until combustion complete. The product then was formed as a lamp with light blue and green surface. ความเป็นมาและวัตถุประสงค์การสร้างผลงาน ศาสตราจารย์ (เกียรติคุณ) เสริมศักดิ์ นาคบัว ศิลปินแห่งชาติสาขาเครื่องปั้นดินเผา ปีพ.ศ.2558 กล่าวว่า “ลักษณะเด่นพิเศษ ของเคลือบขี้เถ้าพืช คือ จะให้ความรู ้สึกสงบเงียบ แต่สง่างาม ซ่อนความขลัง (Mystic) อยู ่ภายใน ความงามของเคลือบขี้เถ้าพืชเป็นความ งามที่ลุ ่มลึก และค่อยๆ เปล่งออกมาอย่างไม่หยุดและไม่มีหมดชั่วนิรันดร์ ขณะเดียวกันเคลือบขี้เถ้าพืชที่ดีนั้น จะส่งให้ชิ้นงานมีชีวิต (Spirit) และเป็นชีวิตที่ไม่มีวันตาย นอกจากชิ้นงานจะแตกหรือโลกจะดับ เหนือกว่านั้นคือเคลือบขี้เถ้าพืชกลุ่มสีเขียว Celadon ยัง กระตุ้นอารมณ์ให้เกิดจินตภาพ (Image) ของความบริสุทธิ์และกลิ่นของป่าได้อย่างชัดเจน คุณวิเศษต่างๆ ข้างต้นนี้หาได้ยากในเคลือบ ชนิดอื่น” จากค�ากล่าวนี้เป็นแรงบันดาลใจให้ผู้เขียนสร้างสรรค์ผลงานด้วยเคลือบจากขี้เถ้าพืช การท�าเคลือบเครื่องปั้นดินเผาในปัจจุบันต้องใช้สารเคมีหลายตัวรวมกัน ซึ่งมีความยุ่งยาก ไม่เหมาะส�าหรับช่างท�าเครื่องปั้น ดินเผาพื้นบ้าน และนักท�าเครื่องปั้นดินเผารุ ่นใหม่ ในอดีตเคลือบเครื่องปั้นดินเผามีส่วนผสมเพียงขี้เถ้าจากไม้กับดินหน้านาเท่านั้น บทความนี้จึงใช้วัตถุดิบใกล้ตัวคือขี้เถ้าจากใบของต้นหูกวาง ซึ่งผลัดใบทั้งต้นอยู ่สวนหลังบ้าน ผสมกับดินบ้านวังถั่ว อ�าเภอน�้าพอง จังหวัด ขอนแก่น และหินฟันม้า ทดลองหาสูตรเคลือบที่เหมาะสมน�ามาเคลือบชิ้นงานโคมไฟ

Upload: others

Post on 25-Jan-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบ ......92 ค:ฉค คคจ 07TfpaljlebCrrob7 ก.2*.323-การสร างช นงานสร

* คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบขี้เถ้าจากใบต้นหูกวาง

Space of the Nature: Wood Ash Glaze from

Tropical Almond Tree Lamp

ธนสิทธิ์ จันทะรี*

บทคัดย่อ งานสร้างสรรค์ ที่ว่างในธรรมชาติ : เคลือบขี้เถ้าจากใบต้นหูกวาง นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างผลงานโคมไฟที่เชื่อมโยงผู้คนให้

เขา้กับสิง่แวดล้อมตามธรรมชาติ ใช้วสัดทุีเ่ป็นมติรกบัสิ่งแวดล้อม ทีห่มุนเวียนเป็นวฏัจกัร และน�าเสนอการท�าเคลอืบเครื่องปัน้ดนิเผาที่

ใช้วัตถุดิบหลักในท้องถิ่น ท�าง่าย เหมาะส�าหรับนักท�าเครื่องปั้นดินเผารุ่นใหม่ และช่างท�าเครื่องปั้นดินเผาพื้นบ้าน โดยทดลองเคลือบ

จากใบของต้นหูกวางที่ผลัดใบทั้งต้นในหน้าหนาว ไม่ต้องไปตัดต้นไม้ และชิ้นงานขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน และเทคนิคฉลุเป็นที่ว่าง โดยได้

แรงบันดาลใจจากที่ว่างในธรรมชาติ ผลการทดลองเคลือบได้สูตรที่ 6 มีส่วนผสมของ ขี้เถ้า 40% ดิน 20% และหินฟันม้า 40%

เผาที่อุณหภูมิ 1,220 องศาเซนเซียส ด้วยเตาแก๊ส บรรยากาศเผาไหม้แบบสมบูรณ์ และน�ามาประกอบเป็นโคมไฟ มีผิวสีฟ้าอ่อนและ

สีเขียวอ่อน

Abstract The creative work of “Space of the Nature: Wood Ash Graze from Tropical Almond Tree” aims to create

the work that naturally connects people to the environment. Using the environment-friendly materials that are

cycling recyclable, the work presents the ceramic glaze using major local materials, easy to make, and suitable for

new ceramic manufacturers and local ceramic manufacturers. By experimenting the glaze from tropical almond

tree leaves which all fall off from the tree in the winter, without having to cut down the trees, the work was formed

by throwing on the potter’s wheel perforating an empty space which was inspired by the empty space of the

nature. The results reveal that the 6th experiment consisted of 40% wood ash, 20% clay and 40% feldspar

heated by gas of 1220 Celsius (°C) until combustion complete. The product then was formed as a lamp with light

blue and green surface.

ความเป็นมาและวัตถุประสงค์การสร้างผลงาน ศาสตราจารย์ (เกียรติคุณ) เสริมศักดิ์ นาคบัว ศิลปินแห่งชาติสาขาเครื่องปั้นดินเผา ปีพ.ศ.2558 กล่าวว่า “ลักษณะเด่นพิเศษ

ของเคลอืบขีเ้ถ้าพชื คอื จะให้ความรูส้กึสงบเงยีบ แต่สง่างาม ซ่อนความขลัง (Mystic) อยูภ่ายใน ความงามของเคลือบขีเ้ถ้าพชืเป็นความ

งามที่ลุ่มลึก และค่อยๆ เปล่งออกมาอย่างไม่หยุดและไม่มีหมดชั่วนิรันดร์ ขณะเดียวกันเคลือบขี้เถ้าพืชที่ดีนั้น จะส่งให้ชิ้นงานมีชีวิต

(Spirit) และเป็นชีวิตท่ีไม่มีวันตาย นอกจากชิ้นงานจะแตกหรือโลกจะดับ เหนือกว่านั้นคือเคลือบข้ีเถ้าพืชกลุ่มสีเขียว Celadon ยัง

กระตุ้นอารมณ์ให้เกิดจินตภาพ (Image) ของความบริสุทธิ์และกลิ่นของป่าได้อย่างชัดเจน คุณวิเศษต่างๆ ข้างต้นนี้หาได้ยากในเคลือบ

ชนิดอื่น” จากค�ากล่าวนี้เป็นแรงบันดาลใจให้ผู้เขียนสร้างสรรค์ผลงานด้วยเคลือบจากขี้เถ้าพืช

การท�าเคลือบเครื่องปั้นดินเผาในปัจจุบันต้องใช้สารเคมีหลายตัวรวมกัน ซึ่งมีความยุ่งยาก ไม่เหมาะส�าหรับช่างท�าเครื่องปั้น

ดินเผาพื้นบ้าน และนักท�าเครื่องปั้นดินเผารุ่นใหม่ ในอดีตเคลือบเครื่องปั้นดินเผามีส่วนผสมเพียงขี้เถ้าจากไม้กับดินหน้านาเท่านั้น

บทความนีจ้งึใช้วตัถดุบิใกล้ตวัคอืขีเ้ถ้าจากใบของต้นหกูวาง ซึง่ผลดัใบท้ังต้นอยูส่วนหลงับ้าน ผสมกบัดนิบ้านวงัถัว่ อ�าเภอน�า้พอง จงัหวดั

ขอนแก่น และหินฟันม้า ทดลองหาสูตรเคลือบที่เหมาะสมน�ามาเคลือบชิ้นงานโคมไฟ

Page 2: ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบ ......92 ค:ฉค คคจ 07TfpaljlebCrrob7 ก.2*.323-การสร างช นงานสร

92

ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบขี้เถ้าจากใบต้นหูกวางธนสิทธิ์ จันทะรี

92 การประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูมิ ครั้งที่ 3 : Wisdom to the Future : ภูมิปัญญาสู่อนาคต”

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 15 - 16 มิถุนายน 2560

การสร้างช้ินงานสร้างสรรค์ซึง่เป็นโคมไฟนีไ้ด้รบัแรงบนัดาลใจจากทีว่่างในธรรมชาต ิได้แก่ ทีว่่างทีม่ใีนกิง่ก้านของต้นไม้ ทีว่่าง

ในเขากวาง ที่ว่างในกัลปังหา ที่ว่างของเส้นเลือดในร่างกายเรา เป็นต้น เป็นที่ว่างที่มีความงาม มีลักษณะเฉพาะตัว เหมาะกับเทคนิค

การฉลุตกแต่งพ้ืนผิวชิ้นงาน ออกแบบท่ีว่างให้เข้ากับรูปทรงชิ้นงานที่ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน และน�าไปเคลือบด้วยขี้เถ้าจากใบหูกวาง

เผาที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส

แนวความคิดในการสร้างสรรค์ผลงาน การสร้างช้ินงานสร้างสรรค์ซึง่เป็นโคมไฟนีไ้ด้รบัแรงบนัดาลใจจากทีว่่างในธรรมชาต ิได้แก่ ทีว่่างทีม่ใีนกิง่ก้านของต้นไม้ ทีว่่าง

ในเขากวาง ที่ว่างในกัลปังหา ที่ว่างของเส้นเลือดในร่างกายเรา เป็นต้น ทั้งหมดมีความเหมือนกันคือมี จุดเริ่มต้นและแตกแขนงออกไป

และมีจุดสิ้นสุดหลายจุด ที่ว่างเหล่านี้ จึงได้ Concept ในการสร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้คือ “Space of the Nature” และเคลือบขี้เถ้า

จากใบหูกวาง เผาที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส มีความเป็นธรรมชาติ ทั้งพื้นผิว และสีสัน อีกทั้งยังเข้ากับ Concept “Space of

the Nature”

กระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน เตรียมดินปั้นส�าหรับขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน มีส่วนผสมดังนี้ ดินบ้านวังถั่ว อ.น�้าพอง จ.ขอนแก่น40% ดินขาว 25% ดินด�า 25%

ทรายละเอยีด 10% ทดลองเคลอืบ ในการทดลองนีก้�าหนดขอบเขตส่วนผสมของขีเ้ถ้าอยูท่ี ่30% ถงึ 70% และใช้ดนิไม่เกนิ 40% เพราะ

ว่าถ้าส่วนผสมของขี้เถ้าและดินมากกว่าหรือน้อยกว่านี้จะท�างานได้ล�าบาก จึงได้ เป็น 13 สูตรดังตารางที่ 1

ตารางที่1: สูตรเคลือบ เปอร์เซนต์ส่วนผสมของวัตถุดิบ 13สูตร (A=ขี้เถ้าใบหูกวาง B=ดิน C=หินฟันม้า)

สูตรที่ 1

A = 30

B = 10

C = 60

สูตรที่ 2

A = 30

B = 20

C = 50

สูตรที่ 3

A = 30

B = 30

C = 40

สูตรที่ 4

A = 30

B = 40

C = 30

สูตรที่ 5

A = 40

B = 10

C = 50

สูตรที่ 6

A = 40

B = 20

C = 40

สูตรที่ 7

A = 40

B = 30

C = 30

สูตรที่ 8

A = 40

B = 40

C = 20

สูตรที่ 9

A = 50

B = 10

C = 40

สูตรที่ 10

A = 50

B = 20

C = 30

สูตรที่ 11

A = 60

B = 10

C = 10

สูตรที่ 12

A = 60

B = 20

C = 20

สูตรที่ 13

A = 70

B = 10

C = 20

น�าดนิป้ัน มาอดัในแม่พิมพ์ปนูพลาสเตอร์เพือ่ท�าชิน้งานทดสอบเคลอืบ เสร็จแล้วตากให้แห้งน�าไปเผาดบิทีอ่ณุหภูม ิ800 องศา

เซนเซียส ชั่งวัตถุดิบตามสูตรเคลือบ 13 สูตร เติมน�้าและบดให้ละเอียดด้วยโกร่งบด น�าชิ้นงานทดสอบมาชุบน�้าเคลือบ น�าไปเผาท่ี

อุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส ด้วยเตาแก๊ส บรรยากาศเผาไหม้แบบสมบูรณ์ (Oxidation) ได้ผลดังภาพที่ 1

จากแรงบันดาลใจที่ว่างในธรรมชาติ ได้น�ามาวาดเป็นลายเส้นเพื่อให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ดังภาพที่ 2 จากนั้นน�าดินที่เตรียมไว้ปั้นขึ้น

รูปด้วยแป้นหมุน น�ามาฉลุให้เป็นที่ว่าง น�าไปเผาดิบที่อุณหภูมิ 800 องศาเซนเซียส จากนั้นน�าสูตรเคลือบที่ 6 ซึ่งมีส่วนผสมของขี้เถ้า

40% ดิน 20% และหินฟันม้า 40% แล้วน�าไปเผาที่อุณหภูมิ 1,220 องศาเซลเซียส ด้วยเตาแก๊ส บรรยากาศเผาไหม้แบบสมบูรณ์ เสร็จ

แล้วน�ามาประกอบเป็นโคมไฟดังภาพที่ 3

Page 3: ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบ ......92 ค:ฉค คคจ 07TfpaljlebCrrob7 ก.2*.323-การสร างช นงานสร

93

Space of the Nature: Wood Ash Glaze from Tropical Almond Tree Lamp

93

ภาพที่1: แสดงผลการทดลองเคลือบขี้เถ้าจากใบไม้หูกวาง

ภาพที่2: แสดงภาพวาดลายเส้นที่ว่างในธรรมชาติ จากกิ่งก้านของต้นไม้

ภาพที่3: แสดงภาพวาดลายเส้นที่ว่างในธรรมชาติ จากกิ่งก้านของเขากวาง

Page 4: ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบ ......92 ค:ฉค คคจ 07TfpaljlebCrrob7 ก.2*.323-การสร างช นงานสร

94

ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบขี้เถ้าจากใบต้นหูกวางธนสิทธิ์ จันทะรี

94 การประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูมิ ครั้งที่ 3 : Wisdom to the Future : ภูมิปัญญาสู่อนาคต”

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 15 - 16 มิถุนายน 2560

ภาพที่4: แสดงภาพวาดลายเส้นที่ว่างในธรรมชาติ จากใบไม้

ภาพที่5: แบบร่าง (Sketch) แรงบันดาลใจจากที่ว่างกิ่งก้านของต้นไม้

ภาพที่6: แบบร่าง (Sketch) แรงบันดาลใจจากที่ว่างกิ่งก้านของเขากวาง

Page 5: ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบ ......92 ค:ฉค คคจ 07TfpaljlebCrrob7 ก.2*.323-การสร างช นงานสร

95

Space of the Nature: Wood Ash Glaze from Tropical Almond Tree Lamp

95

ภาพที่7: ทดลองขึ้นรูปต้นแบบด้วยแป้นหมุน และเทคนิคฉลุ

ภาพที่8: ต้นแบบผลงานสร้างสรรค์ โคมไฟฉลุที่ว่างจากธรรมชาติและเคลือบด้วยขี้เถ้าใบหูกวาง

สรุปผลบทวิเคราะห์คุณค่าของผลงาน การสร้างสรรค์โคมไฟนี้ได้รับแรงบันดาลใจจากที่ว่างในธรรมชาติ ซึ่งเป็น ที่ว่างที่มีในกิ่งก้านของต้นไม้ จึงมี Concept ในการ

สร้างสรรค์ผลงานชิ้นนี้คือ “Space of the Nature” และใช้เคลือบขี้เถ้าจากใบหูกวาง เผาที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส มีความ

เป็นธรรมชาติ ทั้งพื้นผิว และสีสัน เข้ากับ Concept เคลือบขี้เถ้าพืชส่วนใหญ่น�าขี้เถ้ามาจากล�าต้นของต้นไม้ ซึ่งจะต้องตัดต้นไม้มาเผา

เป็นขี้เถ้า ปัจจุบันต้นไม้ก็ร่อยหรอเหลือน้อยลงไปทุกที เป็นปัญหาระดับโลกของความไม่สมดุลของสิ่งแวดล้อม คงไม่เหมาะสมที่จะใช้ขี้

เถ้าทีไ่ด้มาจากล�าต้นมาท�าเคลอืบเครือ่งป้ันดินเผา ผูเ้ขยีนพบว่าในสวนหลงับ้านมต้ีนไม้ทีผ่ลัดใบหมดทัง้ต้นคือ ต้นหกูวาง จงึคดิรวบรวบ

เอาใบไม้แห้งเหล่านั้นมาเผาเป็นขี้เถ้า ตรงกับแนวคิด การออกแบบอย่างยั่งยืน หรือการออกแบบ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นการใช้

วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่หมุนเวียนเป็นวัฏจักร เชื่อมโยงผู้คนให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ สร้างจิตส�านึกในการรักษาสิ่ง

แวดล้อม และน�าเสนอการท�าเคลือบเคร่ืองปั้นดินเผาที่ใช้วัตถุดิบหลักในท้องถ่ิน ท�าง่าย เหมาะส�าหรับนักท�าเครื่องปั้นดินเผารุ่นใหม่

และช่างท�าเครือ่งป้ันดนิเผาพืน้บ้าน และโคมไฟทีเ่ป็นชิน้งานสร้างสรรค์ท่ีมแีรงบนัดาลใจจากทีว่่างในธรรมชาตกิเ็ป็นเนือ้หาทีส่อดคล้อง

กับแนวคิด การออกแบบอย่างยั่งยืน ที่น�าเสนอความเป็นธรรมชาติ ผู้ใช้มีความใกล้ชิดกับธรรมชาติมากขึ้น

Page 6: ที่ว่างในธรรมชาติ: โคมไฟเคลือบ ......92 ค:ฉค คคจ 07TfpaljlebCrrob7 ก.2*.323-การสร างช นงานสร

การประชุมวิชาการระดับชาติ “โฮมภูมิ ครั้งที่ 3 : Wisdom to the Future : ภูมิปัญญาสู่อนาคต”