การย้อมผ้าไหมด้วยสีย้อม ......lygodium flexuosum...

1
การย้อมผ้าไหมด้วยสีย้อมธรรมชาติจากเทอริโดไฟต์บางชนิดในประเทศไทย Dyeing Silk Fabric with Natural Dye from Some Pteridophyte Species in Thailand อสมา จุลนวล 1 ศรันยา คุณะดิลก 2 และทัศไนย จารุวัฒนพันธ์ 1 1 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 2 ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ ABSTRACT This research was to study the utilization of pteridophyte species that found in agricultural areas to be natural dye for 11 species which divided to 9 species of ferns, Angiopteris evecta, Drynaria quercifolia, D. trichomanoides var. lorrainii, Haplopteris ensiformis, Lygodium flexuosum, L. polystachyum, Microsorum punctatum, Nephrolepis biserrata and Pteris ensiformis and 2 species of lycophytes, Selaginella willdenowii and Isoetes coromandelina. The results showed that silk fabric dyed from all of 11 species of pteridophyte had yellow shade and bright color value and the use of all mordants also gave yellow shade and bright color value. บทนา พืชกลุ่มเทอริโดไฟต์พบได้ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นพืชป่าและบางชนิดเป็นวัชพืช ในพื้นที่การเกษตรซึ่งมีการนามาใช้ประโยชน์น้อยมาก (Khwaiphan and Boonkerd, 2008) โดยเฉพาะ บริเวณสวนปาล์มน้ามันมักพบเทอริโดไฟต์หลายชนิดเจริญเติบโตได้ดี (ระวี และคณะ,2552) มีการนาเฟิน มาใช้เป็นสีย้อมเส้นใยในต่างประเทศ บางชนิดใช้เป็นสารช่วยให้ติดสีในการย้อมสีธรรมชาติ บางชนิดใช้เป็น สีย้อมโดยตัวมันเอง เช่น เมลเฟิน [Dryopteris filix-mas (L.) Schott] ให้สีเขียว และกูดดอยสปิแคนส์ [Blechnum spicant (L.) Sm.] สามารถผลิตเม็ดสีน้าตาลอมชมพู (จารุพันธ์, 2536; พัชรียา, 2554) แต่ใน ประเทศไทยยังไม่มีรายงานการใช้ประโยชน์ด้านสีย้อมธรรมชาติจากพืชกลุ่มนี้ การศึกษาครั้งนี้จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพของเทอริโดไฟต์บางชนิดในพื้นที่การเกษตรและบริเวณเนินดินข้างทางที่พบ ปริมาณมากและไม่มีการนาไปใช้ประโยชน์ ในการใช้เป็นสีย้อมธรรมชาติสาหรับย้อมผ้าไหม ซึ่งเป็นการเพิ่ม ประโยชน์ของ เทอริโดไฟต์ได้อีกประการหนึ่ง อุปกรณ์และวิธีการ 1. รวบรวมพืชทดลองจากพื้นที่ต่าง ๆ 11 ชนิด ประกอบด้วยเฟินและไลโคไฟต์ที่พบในบริเวณสวนยาง สวนปาล์ม นาข้าว และเนินดินข้างถนน 2. นามาย้อมสีและแช่สารช่วยติดหลังการย้อมตามวิธีการของศรันยา (2560) แบ่งเป็น 5 ทรีตเมนต์ คือ ไม่ใช้สารช่วยติด สารส้ม [potassium aluminium sulfate, KAl(SO 4 ) 2 ·12H 2 O] จุนสี [Copper(II) sulfate, CuSO 4 ] เหล็ก (Ferrous sulfate, FeSO 4 ·7H 2 O) และแทนนินที่สกัดจากใบมันสาปะหลัง (ผลิตโดย ศูนย์สารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการเกษตร และการจัดการทรัพยากร) เตรียมพืชโดยอบด้วย เครื่องอบลมร้อนจนแห้ง สกัดสี พืชแห้ง:นา (1:20) 80 C 1 hour ย้อมสี น้าหนักผ้า:นาสี (1:30) 60 C 80 C 45 min แช่สารช่วยติดหลังย้อม* น้าหนักผ้า:นา (1:30) 40 C 30 min *ละลายสารช่วยติด 5% การวิเคราะห์ค่า สี ใช้เครื่อง Color Meter รุ่น MiniScan EZ (บริษัท Hunter Associates Laboratory, USA.) ซึ่งรายงานผลเป็นค่า L* a* b* Chroma และ Hue angle Table 2 The silk fabric samples dyes from 11 pteridophytes species with different mordants Species Without mordant Copper(II) sulfate Ferrous sulfate Potassium aluminium sulfate Tannin Lygodium polystachyum Selaginella willdenowii Drynaria quercifolia Nephrolepis biserrata Davallia trichomanoides Haplopteris ensiformis Pteris ensiformis Lygodium flexuosum Microsorum punctatum Angiopteris evecta Isoetes coromandelina การใช้สารส้มและแทนนินทาให้ผ้าไหมมีสีที่ค่อนข้างสว่างและสีใกล้เคียงกับการ ไม่ใช้สารช่วยติด ส่วนการใช้เหล็กและจุนสีเป็นสารช่วยติดทาให้ผ้าไหมมีสีที่เข้มขึ้น แสดงให้เห็นว่าการใช้สารช่วยติดต่างชนิดกันทาให้ค่าสีที่ได้แตกต่างกัน สอดคล้องกับ งานวิจัยของจารุวรรณ (2546) และพรสุดา (2555) Mordant Color characteristic values L* a* b* C* h* Without mordant 80.58 a 3.12 a 13.83 bc 14.33 b 74.76 b Copper(II) sulfate 64.40 c 3.83 a 13.70 c 14.23 b 74.28 b Ferrous sulfate 50.46 d 1.81 c 3.40 d 3.86 c 61.94 c Potassium aluminium sulfate 80.72 a 3.12 b 14.96 ab 15.28 ab 78.22 a Tannin 76.34 b 4.11 a 15.59 a 16.12 a 75.27 b F-test ** ** ** ** ** CV (%) 1.19 8.52 5.02 5.21 1.17 ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง Table 1 Color characteristic values of silk fabric with Lygodium polystachyum Wall. Ex T.Moore extracts without and with mordant ** significantly different at P≤0.01. Mean within a column followed by the same letter and not significantly different by DMRT จารุพันธ์ ทองแถม. 2536. เฟิน สาหรับคนรักเฟินและผู้ปลูกมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ฟ จากัด. จารุวรรณ ดิศวัฒน์. 2546. การย้อมผ้าไหมด้วยสีจากขมิ้นชันแห้ง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พรสุดา เหมาชัย. 2555. การใช้แทนนินเป็นสารช่วยติดสีในการย้อมไหมด้วยสีธรรมชาติจากใบแก้ว และใบหูกวาง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พัชรียา บุญกอแก้ว. 2554. บัญชีรายการทรัพย์สินชีวภาพเฟิน. กรุงเทพฯ: สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน). ระวี เจียรวิภา, มนต์สรวง เรืองขนาบ และ อมรรัตน์ จันทนาอรพินท์. 2555. ความหลากหลายของพืชกลุ่มเฟินและการเจริญเติบโตของชายผ้าสีดาปักษ์ใต้ (Platycerium coronarium J.G. Koen.ex. Muell, Desv) ในสวนปาล์มน้ามัน. ว.เกษตรพระจอมเกล้า 30: 32-42. ศรันยา คุณะดิลก. 2560. เทคโนโลยีสีย้อมธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสร์. Khwaiphan, W. and T. Boonkerd. 2008. The Pteridophyte Flora of Khao Khiao, Khao Yai National Park, Thailand. Nat. Hist. J. Chulalongkorn Univ. 8: 69–82. เอกสารอ้างอิง Lygodium polystachyum Wall. ex T.Moore Selaginella willdenowii (Desv. ex Poir.) Baker Drynaria quercifolia (L.) J. Sm. Nephrolepis biserrata (Sw.) Schott Davallia trichomanoides Blum var. lorrainii (Hance) Holttum Haplopteris ensiformis (Sw.) E.H. Crane Pteris ensiformis Burm.f. Lygodium flexuosum (L.) Sw. Microsorum punctatum (L.) Copel. Angiopteris evecta (G.Forst.) Hoffm. Isoetes coromandelina L.f.

Upload: others

Post on 17-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การย้อมผ้าไหมด้วยสีย้อม ......Lygodium flexuosum Microsorum punctatum Angiopteris evecta Isoetes coromandelina การใช สารส

การย้อมผ้าไหมด้วยสีย้อมธรรมชาติจากเทอริโดไฟต์บางชนิดในประเทศไทยDyeing Silk Fabric with Natural Dye from Some Pteridophyte Species in Thailand

อสมา จุลนวล1 ศรันยา คุณะดิลก2 และทัศไนย จารุวัฒนพันธ์11ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ

2ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ

ABSTRACT This research was to study the utilization of pteridophyte species that foundin agricultural areas to be natural dye for 11 species which divided to 9 species of ferns,Angiopteris evecta, Drynaria quercifolia, D. trichomanoides var. lorrainii, Haplopterisensiformis, Lygodium flexuosum, L. polystachyum, Microsorum punctatum, Nephrolepisbiserrata and Pteris ensiformis and 2 species of lycophytes, Selaginella willdenowii andIsoetes coromandelina. The results showed that silk fabric dyed from all of 11 species ofpteridophyte had yellow shade and bright color value and the use of all mordants alsogave yellow shade and bright color value.

บทน า พืชกลุ่มเทอริโดไฟต์พบได้ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นพืชป่าและบางชนิดเป็นวัชพืชในพื้นที่การเกษตรซึ่งมีการน ามาใช้ประโยชน์น้อยมาก (Khwaiphan and Boonkerd, 2008) โดยเฉพาะบริเวณสวนปาล์มน้ ามันมักพบเทอริโดไฟต์หลายชนิดเจริญเติบโตได้ดี (ระวี และคณะ,2552) มีการน าเฟินมาใช้เป็นสีย้อมเส้นใยในต่างประเทศ บางชนิดใช้เป็นสารช่วยให้ติดสีในการย้อมสีธรรมชาติ บางชนิดใช้เป็นสีย้อมโดยตัวมันเอง เช่น เมลเฟิน [Dryopteris filix-mas (L.) Schott] ให้สีเขียว และกูดดอยสปิแคนส์ [Blechnum spicant (L.) Sm.] สามารถผลิตเม็ดสีน้ าตาลอมชมพู (จารุพันธ์, 2536; พัชรียา, 2554) แต่ในประเทศไทยยังไม่มีรายงานการใช้ประโยชน์ด้านสีย้อมธรรมชาติจากพืชกลุ่มนี้ การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพของเทอริโดไฟต์บางชนิดในพื้นที่การเกษตรและบริเวณเนินดินข้างทางที่พบปริมาณมากและไม่มีการน าไปใช้ประโยชน์ ในการใช้เป็นสีย้อมธรรมชาติส าหรับย้อมผ้าไหม ซึ่งเป็นการเพิ่มประโยชน์ของ เทอริโดไฟต์ได้อีกประการหนึ่ง

อุปกรณ์และวิธีการ1. รวบรวมพืชทดลองจากพ้ืนที่ต่าง ๆ 11 ชนิด ประกอบด้วยเฟินและไลโคไฟต์ที่พบในบริเวณสวนยาง

สวนปาล์ม นาข้าว และเนินดินข้างถนน2. น ามาย้อมสีและแช่สารช่วยติดหลังการย้อมตามวิธีการของศรันยา (2560) แบ่งเป็น 5 ทรีตเมนต์ คือ

ไม่ใช้สารช่วยติด สารส้ม [potassium aluminium sulfate, KAl(SO4)2·12H2O] จุนสี [Copper(II)sulfate, CuSO4] เหล็ก (Ferrous sulfate, FeSO4·7H2O) และแทนนินที่สกัดจากใบมันส าปะหลัง(ผลิตโดย ศูนย์สารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการเกษตร และการจัดการทรัพยากร)

เตรียมพืชโดยอบด้วยเครื่องอบลมร้อนจนแห้ง

สกัดสีพืชแห้ง:น้ า (1:20)

80 C1 hour

ย้อมสี น้ าหนักผ้า:น้ าสี (1:30)

60 C 80 C45 min

แช่สารช่วยติดหลังย้อม*น้ าหนักผ้า:น้ า (1:30)

40 C30 min

*ละลายสารช่วยติด 5%

การวิเคราะห์ค่าสี ใชเ้ครื่อง Color Meter รุ่น MiniScan EZ (บริษัท Hunter Associates Laboratory,USA.) ซึ่งรายงานผลเป็นค่า L* a* b* Chroma และ Hue angle

Table 2 The silk fabric samples dyes from 11 pteridophytes species with different mordants

SpeciesWithout mordant

Copper(II) sulfate

Ferroussulfate

Potassium aluminium sulfate Tannin

Lygodium polystachyum

Selaginellawilldenowii

Drynaria quercifolia

Nephrolepis biserrata

Davallia trichomanoides

Haplopteris ensiformis

Pteris ensiformis

Lygodium flexuosum

Microsorum punctatum

Angiopteris evecta

Isoetes coromandelina

การใช้สารส้มและแทนนินท าให้ผ้าไหมมีสีที่ค่อนข้างสว่างและสีใกล้เคียงกับการไม่ใช้สารช่วยติด ส่วนการใช้เหล็กและจุนสีเป็นสารช่วยติดท าให้ผ้าไหมมีสีที่เข้มขึ้น แสดงให้เห็นว่าการใช้สารช่วยติดต่างชนิดกันท าให้ค่าสีที่ได้แตกต่างกัน สอดคล้องกับงานวิจัยของจารุวรรณ (2546) และพรสุดา (2555)

MordantColor characteristic values

L* a* b* C* h*Without mordant 80.58 a 3.12 a 13.83 bc 14.33 b 74.76 bCopper(II) sulfate 64.40 c 3.83 a 13.70 c 14.23 b 74.28 bFerrous sulfate 50.46 d 1.81 c 3.40 d 3.86 c 61.94 cPotassium aluminium sulfate 80.72 a 3.12 b 14.96 ab 15.28 ab 78.22 aTannin 76.34 b 4.11 a 15.59 a 16.12 a 75.27 bF-test ** ** ** ** **CV (%) 1.19 8.52 5.02 5.21 1.17

ผลและวิจารณ์ผลการทดลองTable 1 Color characteristic values of silk fabric with Lygodium polystachyum Wall. Ex

T.Moore extracts without and with mordant

** significantly different at P≤0.01. Mean within a column followed by the same letter and not significantly different by DMRT จารุพันธ์ ทองแถม. 2536. เฟิน ส าหรับคนรักเฟินและผู้ปลูกมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์พริ้นต้ิงกรุ๊ฟ จ ากัด. จารุวรรณ ดิศวัฒน์. 2546. การย้อมผ้าไหมด้วยสีจากขมิ้นชันแห้ง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.พรสุดา เหมาชัย. 2555. การใช้แทนนินเป็นสารช่วยติดสีในการย้อมไหมด้วยสีธรรมชาติจากใบแก้ว และใบหูกวาง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท คหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.พัชรียา บุญกอแก้ว. 2554. บัญชีรายการทรัพย์สินชีวภาพเฟิน. กรุงเทพฯ: ส านักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน). ระวี เจียรวิภา, มนต์สรวง เรืองขนาบ และ อมรรัตน์ จันทนาอรพินท์. 2555. ความหลากหลายของพืชกลุ่มเฟินและการเจริญเติบโตของชายผ้าสีดาปักษ์ใต้ (Platycerium coronarium J.G. Koen.ex. Muell, Desv) ในสวนปาล์มน ้ามัน. ว.เกษตรพระจอมเกล้า 30: 32-42.ศรันยา คุณะดิลก. 2560. เทคโนโลยีสีย้อมธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสร์.Khwaiphan, W. and T. Boonkerd. 2008. The Pteridophyte Flora of Khao Khiao, Khao Yai National Park, Thailand. Nat. Hist. J. Chulalongkorn Univ. 8: 69–82.

เอกสารอ้างอิง

Lygodium polystachyum Wall. ex T.Moore

Selaginella willdenowii (Desv. ex Poir.) Baker

Drynaria quercifolia (L.) J. Sm.

Nephrolepis biserrata(Sw.) Schott

Davallia trichomanoides Blum var. lorrainii (Hance) Holttum

Haplopteris ensiformis(Sw.) E.H. Crane

Pteris ensiformis Burm.f. Lygodium flexuosum (L.) Sw.Microsorum punctatum (L.)

Copel.Angiopteris evecta (G.Forst.)

Hoffm.Isoetes coromandelina L.f.