ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน ·...

35
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ และอนุภาคมูลฐาน . อาทิตย์ ลภิรัตนากูล ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม

Upload: others

Post on 04-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ฟิสิกส์นิวเคลียร์ และอนุภาคมูลฐาน

อ. อาทิตย ์ลภิรัตนากลู

ภาควชิาฟิสิกส์ คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลยัเชียงใหม่

Page 2: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

Rutherford เป็นคนแรกที่ทดลองใหเ้ห็นวา่อะตอมจะมีนิวเคลียสขนาดเลก็อยูใ่จกลางอะตอม

ฟิสิกส์นิวเคลียร์

การศึกษาโครงสร้างภายในของนิวเคลียสของอะตอม การเปลี่ยนแปลง

ตลอดจนสมบตัิต่างๆ

Page 3: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

1932 J. Chadwick คน้พบนิวตรอน

จึงทาํใหเ้ราเขา้ใจองคป์ระกอบ

ของนิวเคลียส อะตอมและโครงสร้าง

เนื่องจากอิเลก็ตรอนมีประจุลบ จึงตอ้งมีประจุบวกจาํนวนเท่ากนัอยูใ่นนิวเคลียส

ทาํใหอ้ะตอมของธาตุใดๆ เป็นกลางทางไฟฟ้า โปรตอน

แต่ยงัมีคาํถามวา่ โปรตอนซึ่งมีประจุบวก

สามารถตา้นแรงผลกัทางไฟฟ้า ไปรวมกนัอยู่

ในนิวเคลียสรัศมี 10-15 เมตรไดอ้ยา่งไร

Page 4: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

พลงังานยดึเหนี่ยว (Binding Energy)

2mcE =

เป็นพลงังานที่ใชย้ดึเหนี่ยวอนุภาคภายในนิวเคลียสใหอ้ยูร่วมกนั

ตามกฎอนุรักษม์วล : มวลของนิวเคลียส = ผลรวมของมวล p กบั n ทั้งหมด

แต่จากการตรวจสอบ มวลของนิวเคลยีสมคี่าน้อยกว่า

ดงันั้นผลต่างของมวลน่าจะกลายไปเป็นพลงังานยดึเหนี่ยวตาม

และนิยมวดัมวลในหน่วย u โดย

1 u = 1/12 ของมวลอะตอมคาร์บอน-12 = 1.6604x10-27 kg

Page 5: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ไอโซโทป (Isotope)ไอโซโทปต่างกนั หมายถึง เลขอะตอมเท่ากนั แต่ เลขมวลต่างกนั

เช่น นิวเคลียสของอะตอมไฮโดรเจน สญัลกัษณ์ H11

นิวเคลียสของดิวเทอเรียม สญัลกัษณ์ H21

นิวเคลียสของตริเตรียม สญัลกัษณ์ H31

Nuclear notation :

Page 6: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

มวลอะตอมของไอโซโทปของธาตุต่างๆ

ไอโซโทปมวลอะตอม

(หน่วย u )e 0.000549

n 1.008665

1H 1.007825

2H 2.014102

3H 3.016050

3He 3.016030

ไอโซโทปมวลอะตอม

(หน่วย u )4He 4.002603

5Li 5.01256Li 6.015127Li 7.016004

12C 12.00000013C 13.003354

ไอโซโทปมวลอะตอม

(หน่วย u )14C 14.003242

14N 14.003074

16O 15.994915

17O 16.999133

18O 17.999160

235U 235.043915

238U 238.050770

Page 7: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ตวัอย่าง

จงคาํนวณ (ก) พลงังานยดึเหนี่ยวของ 16Oวธิีทาํ นิวเคลียสของ 16O ประกอบดว้ย 8 นิวตรอน, 8 โปรตอน

( )( ) u062600.8007825.18H8

u069320.8008665.18n811

10

==

==

ดงันั้น u131920.16H8n8 11

10 =+

แต่ มวลของ 16O = 15.994915 u

จึงได ้ มวลที่หายไป u137005.0m =Δ

∴ พลงังานยดึเหนี่ยว MeV48.931137005.0mcE 2 ×=Δ=Δ

= 127.6 MeV

Page 8: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

(ข) หาพลงังานยดึเหนี่ยวต่อนิวคลีออน ของ 16Oวธิีทาํ พลงังานยดึเหนี่ยวของ 16O = 127.6 MeV

∴ พลงังานยดึเหนี่ยวต่อนิวคลีออน ของ 16Onucleons16

MeV6.127=

= 7.98 MeV/nucleons

ปกติแลว้ สาํหรับไอโซโทปที่มีเลขมวลมากกวา่ 20 จะมีค่าพลงังานยดึ

เหนี่ยวต่อนิวคลีออนโดยเฉลี่ย เท่ากบั 8 MeV

จากการสงัเกตการณ์ ค่าพลงังานยดึเหนี่ยวต่อนิวคลีออนที่สูงที่สุด มี

ค่าประมาณ 8.75 MeV ไดแ้ก่ ไอโซโทป ซึ่งถือวา่เป็นนิวเคลียสที่มี

เสถียรภาพมากที่สุด

Fe5626

Page 9: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n
Page 10: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

กมัมนัตภาพรังสี (radioactivity) เกดิจากการเปลีย่นแปลงภายในนิวเคลยีสของอะตอม

รังสีแอลฟา รังสีเบตา รังสีแกมมา

เป็นรังสีที่มีพลงังานสูง => ปลดปล่อยออกจากนิวเคลียสของอะตอม

( )He42 ( )e0

1− ( )γ

Page 11: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ค.ศ. 1896 Henri Becquerel ชาวฝรั่งเศส เป็นคนแรกที่คน้พบรังสีจาก

นิวเคลียสโดยบงัเอิญ จากการเกบ็ฟิลม์ถ่ายรูป

ไวใ้กลส้ารประกอบของยเูรเนียม

เขาไดแ้ยกแยะจากการสงัเกตที่รอบคอบวา่

รังสีดงักล่าวไม่ใช่รังสีเอก็ซ์ แต่เป็นรังสีที่ถูก

ปลดปล่อยออกมาจากสารใหร้ังสีอยา่งไม่

หยดุย ั้ง

สารกมัมนัตรังสีส่วนใหญ่จะมีเลขอะตอมมากกวา่ 81 แต่บางตวัเป็นนิวเคลียสของธาตุเบา เช่น , เป็นตน้C14 K40

Page 12: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

รังสีแอลฟา หรือ อนุภาคแอลฟา คือนิวเคลียสของฮีเลียม ประกอบดว้ย

โปรตอน 2 ตวั นิวตรอน 2 ตวั จึงมีประจุบวกเป็น 2 เท่าของค่าประจุอิเลก็ตรอน และมีมวลประมาณ 4 เท่าของโปรตอนหรือนิวตรอน มีอาํนาจทะลุผา่นตํ่ามาก มีความเร็วในระดบั 107 เมตรต่อวนิาที เมื่อนิวเคลียสปล่อยรังสีแอลฟามา นิวเคลียสนั้นจะมีประจุลดลง 2 หน่วยและมวลลดลง 4 หน่วย เป็นนิวเคลียสของธาตุใหม่

รังสีเบตา หรือ อนุภาคเบตา คืออนุภาคประจุลบเหมือนอิเลก็ตรอน มีอาํนาจทะลุผา่นสูงกวา่รังสีแอลฟา สามารถเคลื่อนผา่นในอากาศได้ระยะทางเป็นฟุต ความเร็วสูงเกือบเท่าความเร็วแสงเมื่อนิวเคลียสปล่อย

รังสีเบตามา เลขอะตอมของนิวเคลียสนั้นจะเพิ่มขึ้น 1 หน่วย แต่เลขมวลไม่เปลี่ยนแปลง

รังสีแกมมา เป็นคลื่นแม่เหลก็ไฟฟ้าที่มีความถี่สูงมาก ไม่มีประจุไฟฟ้า ความเร็วเท่าแสง

Page 13: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n
Page 14: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

กลไกการเกิดกมัมนัตภาพรังสี

นิวเคลียสของอะตอม

ที่ไม่เสถียร สลายตวั

นิวเคลียสของอะตอม

ที่เสถียรกวา่ รังสีพลงังานสูง

Page 15: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

กฎการสลายตวั

อตัราการสลายตวั (R) (การลดลงของจาํนวนนิวเคลียสตามเวลา) จะมาก

หรือนอ้ย ขึ้นอยูก่บัจาํนวนนิวเคลียสที่มีอยูเ่ดิม นัน่คือ ถา้มีจาํนวนนิวเคลียส

อยูม่ากยอ่มมีการสลายตวัมนัเองไดม้าก ถา้มีเหลือนอ้ยกส็ลายไดน้อ้ย

ถา้ให ้N คือ จาํนวนนิวเคลียสที่ไม่เสถียร ในขณะใดขณะหนึ่ง

NdtdN

NdtdNR

λ−=

∝−=

----(1)

λ คือค่าคงที่ของการสลายตวั มีหน่วยเป็น (วนิาที)-1

Page 16: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

อินทิเกรตสมการ (1) จะไดว้า่

tNNn

dtdNN1

0

tt

0t

tt

0t

λ−=

λ−= ∫∫=

=

=

=

l t0eNN λ−=

N0 คือจาํนวนนิวเคลียสเมื่อเวลาเริ่มแรกคือ t=0

ถา้ให ้T1/2 เป็นช่วงเวลาที่นิวเคลียสสลายตวัเหลือเพียงครึ่งหนึ่งจากเดิม

2/1T0

0 eN2

N λ−=

เรียกระยะเวลา T1/2 วา่ “ครึ่งชีวติ” (Half-life)

----(2)

----(3)

Page 17: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

และจากสมการ (3) 2/1T0

0 eN2

N λ−=

2/1T21n λ−=l

λ=

693.0T 2/1หรือ ----(4)

2/1T693.0 λ−=−

นัน่คือ ช่วงเวลาที่นิวเคลียสสลายตวัเหลือครึ่งนึง หรือครึ่งชีวิตของ

ธาตุกมัมนัตรังสีใดๆ จะแปรผกผนักบัค่าคงที่ของการสลายตวัของ

ธาตุกมัมนัตรังสีนั้น

Page 18: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n
Page 19: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ตวัอย่าง

จงคาํนวณมวลของคาร์บอน-14 ปริมาณ 3.7x1010 เบกเคอเรล

กาํหนดใหค้รึ่งชีวิตของคาร์บอน-14 เท่ากบั 5570 ปีวธิีทาํ ครึ่งชีวติ = 5570 ปี = 1.758x1011 วนิาที

ดงันั้น 12

2/1

1094.3T693.0 −×==λ (วนิาที)-1

ปริมาณกมัมนัตภาพ R = 3.7x1010 เบกเคอเรล = 3.7x1010 (วนิาที)-1

จาก NR λ= 211038.9RN ×=λ

=∴ นิวเคลียส

แต่มวลอะตอมของคาร์บอน-14 เท่ากบั 14.0077 u

∴ ( )( )212714C 1038.9106604.10077.14M ×××= −−

41018.2 −×= กิโลกรัม

Page 20: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ปฏิกริยานิวเคลียร์

bYXa +⇒+( )Yb,aX

คือปฏิกริยาระหวา่งอนุภาคกบันิวเคลียส เช่น ยงิอนุภาค a ใส่เขา้ไปในนิวเคลียส X จะทาํใหเ้กิดการแตกออกเป็นนิวเคลียส Y และอนุภาค b

หรือเขียนแบบกะทดัรัดเป็น

ตามปกติ ปฏิกริยานิวเคลียร์จะมีทั้งการคายความร้อน (Exothermal Reaction) และการดูดกลืนความร้อน (Endothermic Reaction)

ความร้อน Q ที่เกิดขึ้น จะหาไดจ้าก

( ) 2YbXa cMmMmQ −−+=

Page 21: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ปฏิกริยานิวเคลียร์ฟิชชนั (Fission)

คือการที่นิวเคลียสธาตุหนกัรับนิวตรอนเขา้ไปแลว้เกิดการแตกออกเป็น

สองส่วน

เช่น เมื่อยงินิวตรอนพลงังานตํ่าเขา้ชนนิวเคลียสของยเูรเนียม-235 จะได้

Qn2SrXeUn 10

9438

14054

23592

10 +++→+

Page 22: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ทั้ง 140Xe และ 94Sr ต่างกส็ามารถสลายตวัต่ออีก ดงันี้

CeLaBaCsXe 14058

14057

14056

14055

14054 ⎯→⎯⎯→⎯⎯→⎯⎯→⎯

−−−− ββββ

และ ZrYSr 9440

9439

9438 ⎯→⎯⎯→⎯

−− ββ

ดงันั้น สามารถคาํนวณหาพลงังานความร้อนที่ปลดปล่อยจากปฏิกริยาดงักล่าวได้

จาก Δm = มวลหลงัเกิดปฏิกริยา - มวลก่อนเกิดปฏิกริยา

( ) ( )[ ]u0087.1u0439.235u000549.06u008665.12u9036.93u9054.139 +−×+×++

จะได้ u223.0m =Δ

∴ MeV208u

MeV931u223.0Q =×=

ซึ่งเป็นพลงังานความร้อนที่มีค่าสูงมาก

Page 23: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

นิวตรอนที่เป็นผลิตผลจากปฏิกริยา ยงัสามารถชนกบั 235U ไดอ้ีก

เกิดเป็น “ปฏิกริยาลูกโซ่” (Chain Reaction)

Page 24: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ปฏิกริยานิวเคลียร์ฟิวชนั (Fusion)คือการที่นิวเคลียสธาตุเบามาหลอมรวมกนัแลว้กลายเป็นนิวเคลียสธาตุหนกั

เช่น ปฏิกริยาหลอมรวมระหวา่งดิวเทอเรียม ซึ่งเป็นดงันี้

energyeHeH4 42

11 +ν++→ +

energyeHeH4 42

11 +ν++→ +

nHeHH

HHHH

nHeHH

10

42

31

21

11

31

21

21

10

32

21

21

+→+

+→+

+→+

MeV59.17QMeV03.4QMeV27.3Q

===

Page 25: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n
Page 26: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n
Page 27: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

อนุภาคมูลฐาน

หลงัจาก Thomson (1897) คน้พบ

อิเลก็ตรอน และ Chadwick (1932)

คน้พบนิวตรอน ทาํใหม้นุษยท์ราบวา่อะตอม

ไม่ใช่อนุภาคมูลฐานอีก

1927 Dirac เสนอสมการเชงิสมัพทัธภาพ แสดงความสมัพนัธร์ะหว่าง ที

สง่ผลใหต้อ้งมอีนภุาคคูอ่นภุาคปกติ เรียกว่าปฏิยานภุาค (antiparticle) ทีมี

สมบตัเิหมอืนกนักบัอนภุาคปกตทิกุประการ ยกเวน้ประจ ุ

1931 Anderson คน้พบ positron คูอ่นภุาคของอิเล็กตรอน นาํไปสูข่อ้สรปุ

ทวัไปว่าอนภุาคทกุชนดิจะมปีฏิยานภุาค (antiparticle) เสมอ

Page 28: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

Pair production−+ +→γ+γ ee

Page 29: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

Pair annihilationγ+γ→+ −+ ee

Page 30: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

นิวตริโน

เป็นอนุภาคที่นกัวทิยาศาสตร์สมมติขึ้นเพื่ออธิบายการไม่คงตวัของ

พลงังานในปฏิกริยาปลดปล่อยรังสีเบตา

หลกัการอนุรักษพ์ลงังานทาํใหต้อ้งเพิ่มอนุภาคอีกชนิดเขา้ไป

โดยตอ้งเป็นอนุภาคที่ไม่มีมวล ไม่มีประจุ แต่มีพลงังาน โมเมนตมั และสปิน

Page 31: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ในปี ค.ศ. 1956 มีการทดลองใหเ้ห็นวา่ นิวตริโนมีอยูจ่ริง โดยการศึกษา

ปฏิกริยานิวเคลียร์ในเตาปฏิกรณ์ นิวตริโนจึงไม่ใช่อนุภาคสมมติอีกต่อไป

ปัจจุบนั ทราบวา่นิวตริโนมีอยู ่3 ชนิด

• อิเลก็ตรอนนิวตริโน (electron neutrino)

• เทานิวตริโน (tau neutrino)

• มิวออนนิวตริโน (muon neutrino)โดยพบอิเลก็ตรอนนิวตริโนมากที่สุด จากปฏิกริยานิวเคลียร์ภายในดวงอาทิตย์

เนื่องจากอนุภาคนิวตริโนถือวา่ ไม่มีมวล ไม่มีประจุ (ปัจจุบนัเชื่อวา่มี

มวลนอ้ยมาก) จึงทาํใหม้ีสมบตัิทะลุผา่นสสารไดอ้ิสระ โดยเฉลี่ย

สามารถทะลุผา่นเหลก็หนาถึง 130 ปีแสง ไดก้่อนถูกดูดกลืน

Page 32: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ตามทฤษฎี Standard model สามารถแบ่งอนุภาคมูลฐานไดเ้ป็น

2 ประเภทใหญ่ๆ

• เฟอร์มิออน (Fermion) เป็นอนุภาคมูลฐานที่ประกอบเป็นสสาร มี

สปินเป็น half-integer แบ่งออกเป็น ควากซ์ และ เลปตอน

• โบซอน (Boson) เป็นอนุภาคมูลฐานที่ไม่ไดป้ระกอบเป็นสสาร แต่

ทาํหนา้ที่เป็น สื่อนาํแรง (force carriers)

Page 33: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

FERMIONS (spin = 1/2, 3/2, 5/2,…) BOSONS (spin = 0, 1, 2, …)

Leptons Quarks Unified Electroweak Strong

ชื่อ สญัลกัษณ์ ชื่อ สญัลกัษณ์ ชื่อ สญัลกัษณ์ ชื่อ สญัลกัษณ์

electron

neutrino

up u photon gluon g

electron e down d w minus W-

muon

neutrino

charm c w plus W+

muon strange s z not Z0

tau neutrino top t

tau bottom b

μν

μ

τν

τ

γ

Page 34: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n

ชนิดของควากซ์ ประจุไฟฟ้า มวล(GeV/c2)

u 2/3 0.003

d - 1/3 0.006

c 2/3 1.3

s - 1/3 0.1

t 2/3 175

b - 1/3 4.3

สมบัตขิองควากซ์

Page 35: ฟิสิกส์นิวเคลียร์และอนุภาคมูลฐาน · อินทิเกรตสมการ(1) จะได้ว่า t N N n