ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท...

48
ภาคผนวก ตัวอยางการจัดทําหนวยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาปที3

Upload: others

Post on 30-Jul-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

ภาคผนวก ช ตัวอยางการจัดทาํหนวยการเรียนรู

ชั้นประถมศึกษาปที่ 3

Page 2: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

265

ประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑๑

หนวยการเรียนรูที ่

๑๑

คํานี้มีความหมาย

คําที่ประวสิรรชนีย

คําศัพทในบทเรียน คําที่ไมประวิสรรชนีย

- อัลลอฮ ฺ - ฟรฎ - ตักบีร - อิบาดะฮ ฺ- ญะมาอะฮ - คุฏบะฮ

- ตักวา - ดุอาอ- มลาอิกะฮ - บารอกัต - ริสกี - ญะนาซะฮ

คํากลอนสอนใจ

ภาษาเริงใจ ภาษาไทยไมยาก หลักภาษา

คํากลอนสอนเดกละหมาด

การเลือกอานหนังสือ

การใชภาษา

การใชเทคโนโลยี่ในการสื่อสาร

การเลือกอานทีเ่ปนประโยชนจากสื่อตางๆ

การแสดงความคิดเห็นจากการอาน

Page 3: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

266

อัลลอฮสั่งใช ใหเราละหมาด

ที่เปนฟรฎ เรียนรูละหมาด ในหนึ่งวันนี ้ มี ๕ ละหมาด

เราตองรักษา เวลาละหมาด และกอนที่เรา เขาเฝาละหมาด

ตองตั้งใจทํา อาบน้ําละหมาด ใหสมบรูณดี กอนที่ละหมาด

ตามแบบนบี มีน้ําละหมาด รักษาตักบีร สี่สิบละหมาด

รวมอิบาดะฮ ญะมาอะฮละหมาด วันศุกร/คุฏบะฮ ุมุอะฮละหมาด

ดวยความเครงครัด ปฏิบัติละหมาด มีจิตตักวา ทุกคราละหมาด

ดุอาอทุกครั้ง หลังจากละหมาด

Page 4: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

267

ถาเดินทางไกล ใหยอละหมาด ผลบุญดียิ่ง ไมทิ้งละหมาด

อัลลอฮพอใจ ถาใครละหมาด มลาอิกะฮรักใคร ผูใดละหมาด

บารอกตัริสก ี ถามีละหมาด มีนูรตักวา ใบหนาละหมาด

เราอยาเผลอไผล หลงไกลละหมาด เพราะจะทําให เหมือนไมละหมาด

เราตองตั้งใจ อยูในละหมาด ดวยความถอมตน อดทนละหมาด

และหมัน่ศึกษา คุณคาละหมาด เพ่ือใหหัวใจ หวงใยละหมาด

ฟงเสียงอาซาน สัญญาณละหมาด แยกคนแตกตาง ระหวางละหมาด

ใครเปนมุสลิม แยมยิม้ละหมาด รีบเรงเร็วพลัน ชวนกันละหมาด

Page 5: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

268

หากใครละเลย ทําเฉยละหมาด เหมือนเปนคนหยิ่ง ละทิ้งละหมาด

ความชัว่หางไกล ถาใจละหมาด โทษทัณฑมีจริง อยาทิ้งละหมาด

แมนทําสิ่งใด ถาไมละหมาด ยอมจะสูญเปลา เราไมละหมาด

ตองการสิ่งใด ขอในละหมาด ดวยความตั้งใจ เมื่อไดละหมาด

สุนัต หนา – หลัง ทุกครั้งละหมาด ผลบุญเพิ่มพูน ทวีคณูละหมาด

อีดิ้ลฟตริ มีการละหมาด ซะกาตฟตเราะฮ ออกกอนละหมาด

Page 6: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

269

อีดิ้ลอัฎฮา รวมมาละหมาด และทํากุรบาน หลังการละหมาด

วันอีดทั้งสอง ตองไปละหมาด ใครเปนคนดี ดูที่ละหมาด

เมื่อมีคนตาย รวมไปละหมาด ฟรฎกิฟายะฮ ญะนาซะฮละหมาด

Page 7: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

270

ถึงวันโลกหนา ประชาละหมาด ตางพนโทษทัณฑ เขาสวรรคละหมาด

มลาอิกะฮเชิญสู ประตูละหมาด ไดเขาสวรรค อยูชัน้ละหมาด

เปนผลรางวัล มุงมัน่ละหมาด ตอบแทนความดี ที่ไดละหมาด ดังนั้นถาใคร ใฝใจละหมาด

อิคลาศมุงมั่น ยนืยนัละหมาด ดวยใจอดทน ยอมตนละหมาด

สุดทายสุขสันต เพราะขยันละหมาด

วันนี้ถาเด็ก เล็กๆละหมาด

วันหนาเติบใหญ ชอบไปละหมาด จําไวเด็กดี ตองมีละหมาด

สังคมเชดิชู คนรูละหมาด ขอจบคํากลอน สอนเด็กละหมาด

เพ่ือการเรียนรู นําสูละหมาด

Page 8: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

271

อัลลอฮ ฟรฎ ตักบีร อิบาดะฮ

ญะมาอะห คุฏบะฮ ตักวา ดุอาอ

มลาอิกะฮ บารอกัต ริสกี นูรตักวา

อาซาน สุนัต อีดิ้ลฟตร ิ ซะกาตฟตเราะฮ

อีดิ้ลอัฎฮา กุรบาน ฟรฎกิฟายะฮ ญะนาซะฮ

ฟรฎ หมายถึง กําหนดเวลา เงื่อนไข อิบาดะฮ หมายถึง การปฏิบัติศาสนกิจ,การเชื่อฟง ญะมาอะฮ หมายถึง กลุมชน,สมาคม,การชุมนุม คุฏบะฮ หมายถึง คําปราศรัย,สุนทรพจน ตักวา หมายถึง การยําเกรงและเกรงกลวัตออัลลอฮ ดุอาอ หมายถึง การเรียก,การวิงวอนตออัลลอฮ มลาอิกะฮ หมายถึง เทวทูต บารอกัต หมายถึง ความจําเริญ,ความผาสุข ริสกี หมายถึง ปจจัยยังชีพ ญะนาซะฮ หมายถึง ศพ ฟรฎกิฟายะฮ หมายถึง ความสําคัญดานสังคม สวนรวม

Page 9: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

272

คําที่ประวิสรรชนีย (-ะ ) คือคําที่มีสระอะ(-ะ ) ประสมอยู เวลาอานออกเสียง ใหอานออกเสียง อะ เต็มเสียง เชน ละหมาด ซะกาฮ ยะยา อามานะห กะป ชะนี เปนตน

กระรอก กระดูก กระจก ญานาซะฮ มลาอิกะฮ ซะกาฮ

หัดอานเปนคํา

มะระ กะหล่าํปลี สะพาน ทะเลาะ กระทะ ตะกรา กระดุม กระดาน ชะนี มะเขือ มะมวง กะลา มะลิ มะละกอ กะป ประปา กระดิ่ง กระบะ กระรอก สับปะรด ประชา ละหมาด ระหวาง ละทิ้ง ทะเล ละเมอ กระถาง กระโถน กระโดด ตะโกน

مآلئگة

Page 10: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

273

คําที่ไมประวิสรรชนีย (-ะ ) คือคําที่ไมมีรูป (-ะ ) สระอะประสมอยูแตเวลาอานใหอานออกเสียง อะกึ่งเสียง เชน ขนม อรอย สนุกสนาน สมัคร สมุด ขยัน ขยับ ฯลฯ

สมุด จมูก จรวด ไอศกรีม แมลงวัน วิทยุ ขนมปง องุน

สบู สมอ สวิง ทหาร

หัดอานเปนคํา

ขยัน ขยะ ขยับ ขโมย ขมา ขนม จริต วิทยา ชบา นบี วสันต วลัย

ตลาด ตลก ตลอด ตลับ ตลบ ผยอง สบาย สไบ สมัคร เสม็ด เสมอ สมอง

ถนน ถนอม ถนัด ถลํา ไถล ไฉน

Page 11: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

274

การอาน หมายถึง การแปลความหมาย และทาํความเขาใจเรื่องราวที่อานออกมาเปนความรู ความคิด ซึ่งเราสามารถนําความรู ความคิด ที่อานไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได ประโยชนของการอานมีหลายประการ ดังน้ี ๑. ทําใหมีความรู เชน การอานหนังสือเรียน หรือตําราวิชาการตางๆ

๒. ทําใหเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เชน การอานนิทาน นิยาย ๓. ทําใหรูทันเหตกุารณ เชน การอานหนังสือพิมพ อินเตอรเนต

๔. ทําใหคนหาคําตอบที่ตองการได เชน การอานพจนานุกรมเพื่อคนหาความหมายของคําศัพทที่ตองการ เปนตน ๕. ทําใหเกิดความชํานาญยิ่งขึ้น เพราะการอานหนังสืออยางสม่ําเสมอ ยอมทําใหอานไดรวดเร็ว แคลวคลอง สามารถเขาใจเรื่องราวที่อานไดงาย จับใจความสําคัญของเรื่องไดอยางถกูตอง และสามารถประเมนิคุณคาของเรื่องที่อานไดวาดีหรือไมดอียางไร เพราะอะไร ๖. ทําใหจิตใจสงบ เชนการอานอัลกุรอาน อานคุณคาอามัล เปนตน

Page 12: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

275

การอานหนังสือ สามารถจาํแนกจุดประสงคไดกวาง ๆ ดังน้ี ๑. อานเพื่อตองการหาความรู ไดแก การอานหนังสือเรียนวิชาตางๆ

การอานสารคดีตางๆ หรือการอานตําราทางวิชาการ ชีวประวัติผูทรงคุณธรรม เปนตน

๒. อานเพื่อความบันเทิง ไดแก การอานนิยาย เรื่องสั้น การตูน หรือ บทกวี เปนตน

๓. อานเพื่อทราบขาวสาร หรอืความคิดเห็น ไดแก การอานบทความ ประเภทตางๆ หรือการอานขาว เปนตน

๔. อานเพื่อจุดประสงคเฉพาะแตละครัง้ ไดแก การอานขาว โฆษณา ปายประกาศ แผนพับ ฉลากยา ประชาสัมพนัธ หรือการอานอัลกุรอานแปลไทย เพ่ือจะไดทราบความหมาย คําสั่งหามและคําสั่งใช เพื่อเราจะไดนําไปปฏิบตัไิดอยางถกูตอง

นี่ อามานี เธอคิดวานาจะเลือกอานหนงัสือแบบไหนดี

เราชอบอานหนังสือทุกชนดิ เพราะหนังสือทาํใหเราเปนคนมีความรู

Page 13: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

276

เราสามารถเลือกอานเรื่องราวจากสื่อตางๆไดหลายที ่เชน สื่อสิ่งพิมพ เปนสื่อที่บันทึกเรื่องราวตางๆลงบนกระดาษ เชน

หนังสือเรียน นิยาย หนังสอืพิมพ ตาํราวิชาการตางๆ หรือหนังสือการตูน สื่ออิเล็กทรอนิกส เปนสื่อที่บันทึกเรื่องราวความรู ผานอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ เชน เทป วิทยุ ซีดี โทรทัศน และอินเทอรเน็ต

สื่อที่ดี มีคุณคาสมควรอาน ควรมีลักษณะดังน้ี คือ ๑. มีความคิดริเริม่สรางสรรค สอดแทรกคณุธรรม ความดีงาม และความถูกตองไวในหนังสือ เพื่อใหผูอานสามารถนําขอคิดไปเปนอุทาหรณสอนใจ สามารถนําไปปฏิบตัใิหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันของตนได ๒. มีเนื้อหาสาระด ี เหมาะสมกับวัย มีความทันสมัย ไมบิดเบอืนขอเท็จจรงิ และใหขอคิด คติเตือนใจที่เปนประโยชนแกผูอาน ๓. ใหความรู และความเพลิดเพลินแกผูอาน

Page 14: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

277

การแสดงความคิดเห็น เปนการพูด หรือเขยีนเพื่อสนับสนุนหรือโต แยงในเรื่องที่อาน โดยไมลาํเอียงเขาขางฝายหนึ่งฝายใด การพูดและเขียนเพ่ือแสดงความคิดเห็น มีหลกัปฏิบัติ ดังนี้

๑. ใชภาษาสุภาพ ชัดเจน ๒. แสดงความคิดเหน็ในทางสรางสรรค ๓. มีเหตุผลประกอบการแสดงความคิดเห็น ๔. มีมารยาทในการพูด และการเขียน

ตัวอยาง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากการอาน เรื่อง เตือนใจ คืนละเรื่อง สํานักพิมพ อาลีพาณิชย ราคา ๓๕ บาท เรื่องเตือนใจ คืนละเรื่อง เปนเรื่อง จริงที่ปรากฏในตํารับตําราของศาสนา ซึ่งผูเขียนคืออาจารยมันศูร อับดุลลอฮ ไดพยายามรวบรวมไวเปนหนังสืออาน เลมเล็ก เพ่ือใหผูปกครองใชเปนสื่อ ในการสรางความรัก ความผูกพันใหลูก หลานไดหันกลับมายึดมั่นในเรื่องราวของศาสนา โดยผูปกครองตองเสียสละเวลาใหกับลูกนอยของตนสกัวันละ ๑๐ นาทีทุกวันกอนนอน เพื่อเปนการชวยสรางสงัคมกันใหม สังคมของคนมีคุณธรรม

Page 15: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

278

การใชเทคโนโลยีในการสื่อสาร เปนการนําอุปกรณ หรือเครื่องมือตางๆ มาใชในการสื่อสาร เพื่อใหการสื่อสารเปนไปดวยความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธภิาพมากยิ่งขึ้น เชน

ขอควรปฏิบัติในการใชเทคโนโลยีในการสื่อสาร ๑. เลือกใชเทคโนโลยีในการสื่อสารที่เหมาะสมกบัการใชงาน ๒. ใชขอความกระชับ เขาใจงาย ๓. ใชภาษาที่ชัดเจน ไมวกวน ๔. ใชน้ําเสียงที่สุภาพ ไพเราะ ๕. เขียนหรือพิมพขอความใหถูกตอง สื่อความหมายได

ใชอินเตอรเน็ตในการสืบคนขอมูล

ใชโทรศัพทในการติดตอส่ือสาร

Page 16: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

279

๑.ภาษาเรงิใจ คํากลอนสอนเด็กละหมาด

๑.๑ ตอบคําถามจากเรื่องที่อาน คํากลอนสอนเด็กละหมาด

๑) ใหนักเรยีนอธิบายขอบังคับเวลาละหมาดฟรฏทั้ง ๕ เวลาตั้งแตเริ่มตนจนหมดเวลาละหมาด........................................................................ ………………………………………….. ………………………………………….. ………………………………………….. …………………………………………..

๒) นักเรียนอธิบายวธิีการอาบน้ําละหมาดวามีอะไรบาง

..........................................................................................

..............................................................................................

.............................................................................................

..........................................................................................

..............................................................................................

.............................................................................................

............................................................................................. .............................................................................................

ป.๑ ป.๒ ป.๓ ชว

งชั้นท

ี่๑

Page 17: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

280

๓) ใหนักเรยีนเขียนดุอาอ ๑ บท พรอมความหมาย ......................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................................................................................................................ .............................................................................................

๔) สาระสําคัญของคํากลอนสอนเด็กละหมาดนั้นมีวาอยางไร.......................................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................. .............................................................................................

Page 18: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

281

๑.๒ ใหนักเรียนอานสะกดคําและเขียนคําใหถูกตอง

ต. ละหมาด = ล-ะ ละ หม-า-ด หมาด

๑.วันนี้ = …………..............……………....….…......

๒.แบบนบี = ……………………………………………...........

๓.หวงใย = ……………………………………..……...........

๔.ตักวา = ………………………………………..…….........

๕.ทุกที่ = ………………………………………..…............

๖.ยืนหยัด = ………………………………………………….......

๗.พอใจ = …………………………………………….…….......

๘.รักใคร = …………………………………………….............

๙.ผูใด = …………………………………………….…….........

๑๐.เผลอไผล= ………………………………………….…….......

Page 19: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

282

๑.๓ ใหนักเรียนอานในใจและ ขีดเสนใตจับคูคําที่ออกเสียงเดียวกัน

อัลลอฮพอใจ ถาใครละหมาด

มลาอิกะฮรักใคร ผูใดละหมาด

บารอกัตริสกี ถามีละหมาด

มีนูรตักวา ใบหนาละหมาด

เราอยาเผลอไผล หลงไกลละหมาด

เพราะจะทําให เหมือนไมละหมาด

เราตองตัง้ใจ อยูในละหมาด

ดวยความถอมตน อดทนละหมาด

และหมั่นศึกษา คุณคาละหมาด

เพ่ือใหหวัใจ หวงใยละหมาด

บทรอยกรองที่นักเรียนอาน จัดอยูในประเภทกลอนสี่ ใชสัมผัสในแตละวรรค และคําลงทายวรรคทุกวรรคใชคําเดียวกันตลอด ซึ่งจะตางจากกลอนสีท่ั่วไป

Page 20: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

283

๑.๔ นําคําที่ออกเสียงเดียวกันมาเขียนจับคูใหม

Page 21: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

284

คําที่ประวิสรรชนีย และคาํที่ไมประวิสรรชนยี การเลือกอานหนงัสือที่เปนประโยชนจากสือ่ ตางๆ / การแสดงความคิดเห็นจาการอาน / การใชเทคโนโลยใีนการสือ่สาร

๒.ภาษาไทยไมยาก ๒.๑ อานคําใหคลอง และเลือกคําที่ใหไปใสในตารางใหถูกตอง พรอมเขียนคําอาน และความหมาย อยางละ ๑๐ คํา

กะทัดรดั กบาล กบี่ กะลาสี กะทันหัน

ขมุกขมัว ขะมักเขมน ขมา ขะมุกขะมอม

ขมีขมัน สบง ขโมย ถมึงทึง คะเน

สะพาน ชะโงก คณบดี ชะงัก ชโลม

ชะลอ ตะลึง ชะรอย คะมํา สัจจะ

ทะนง สบาย สะกิด สะเก็ด ชนวน

ละเมียดละไม ละเอียด สาธารณะ ชะงอน มรณะ

ตลก ตะลุย ตลิ่ง ทนาย ทยอย

ทโมน สกัด คะนึง สไบ นวลลออ

ระลึก ระบํา ทะนาน พเนจร ธรรมชาติ

ศิลปะ พละ สักการะ อารยะ ธรรมะ

Page 22: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

285

๒.๒ เลือกคําจาก ขอ ๒.๑ ใสในตารางใหถูกตองพรอมเขียนคําอาน ความหมาย อยางละ ๑๐ คํา

คําที่ประวิสรรชนีย

คํา คําอาน ความหมาย

คําที่ไมประวิสรรชนีย

คํา คําอาน ความหมาย

Page 23: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

286

๒.๓ ใหนักเรียนอานคําแลวนําไปเติมในชองวางดานขวาของภาพ และแตงประโยคใหสมบรูณ

กระดิ่ง มนุษยอวกาศ มัสยิด ตะกรา

รถจักรยาน กระดานดํา วิทยุ ประต ู

Page 24: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

287

๒.๔ นําตัวอักษร ก – จ เติมลงในชองวางหนาชนิดของหนังสือ

ก. อานเพื่อความบันเทิง ข.อานเพ่ือเพ่ิมพูนความรู

ค. อานเพื่อตองการผลบุญ ง. อานเพื่อตองการทราบขาวสาร

จ.อานเฉพาะแตละครั้งเพือ่ตองการใชประโยชน

๑) ฉลากยา ๒) อัลกุรอาน

๓) แบบเรียนภาษาไทย ๔) สมุดโทรศัพท

๕) หนังสอืพิมพ ๖) นิทานอีสป

๗) ประวัตินบีตางๆ ๘) สารานุกรมไทย

๙) ปายประกาศ ๑๐) บทความ

๒.๕ เลือกหนังสืออานประเภทใดก็ไดจํานวน ๑ เลม และสรุปเนื้อหา พรอมทั้งบอกประเภทของหนังสือ และจุดประสงคในการอาน

ชื่อเรื่อง................................... ประเภทของหนังสือ........................................................ จุดประสงค..................................................................... สรุปเนื้อเรื่อง................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. ............................................................................................................. .............................................................................................................

Page 25: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

288

๒.๖ ใหนักเรียนอานเรื่องที่กําหนดใหดังตอไปนี้ และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน เรื่อง การปฏิบัติตนตอครู

ครู คือ ผูที่ใหความรู และอบรมสั่งสอนแนะนําในสิ่งที่ดีงาม และเปนประโยชน ทําใหเราเปนคนฉลาด คิดเปน แกปญหาเปน ดังนั้น ครูจึงเปนผูที่มีบุญคุณกับเรารองลงมาจากพอและแม เราในฐานะที่เปนศิษยตองใหความเคารพนับถือครู เราตองยกยองและใหเกียรต ิ ไมควรทําการสิ่งใดๆในทางลบหลูดูหมิ่น ไมวาจะอยูตอหนาหรือลับหลัง ไมแสดงกริิยามารยาทที่ไมดีงามตอครูบาอาจารย หากทานสั่งใหทาํสิ่งใดทีไ่มขัดตอหลักการศาสนาแลว เราตองทําดวยความเต็มใจ แมจะพบความยุงยากและลําบากเพียงใด เราตองพยายามทําดวยความตั้งใจและจริงใจ ดังมีหะดิษบทหนึ่งกลาวไววา

“จงใหเกยีรติผูที่ทานร่ําเรียนความรูมาจากเขา”

จากเอกสารอบรมศาสนาภาคฤดูรอนของวิทยาลัยอิสลามศึกษา ม.อ.ปตตานี

ขอคิดทีไ่ดจากเรื่อง คือ …………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………….

Page 26: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

289

๒.๗ ใหนําคํายอประเภทของเทคโนโลยีในการสื่อสารใสลง เพ่ือบอกประเภทของเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสถานการณที่กําหนดให

อ แทน อินเทอรเนต

ม แทน มอืถือ

ท แทน โทรศัพท

ฟ แทน โทรสาร (fax) ว แทน วิทยุสื่อสาร

๑) ฟาฮัดหาขอมูลทํารายงานโดยไมใชหนังสือ

๒) เทศบาลสงสําเนาเอกสารแจงมาที่โรงเรียนโดยไมมใีครมาสงงาน

๓) ครูนาเดียรแจงวาขอลาปวย ๑ วัน

๔) รัฐบาลประกาศใหระวังไขหวัดนกระบาด

๕) ตํารวจแจงไปทีส่ถานีตํารวจเพื่อขอกําลังมาเพิ่มเติม

๖) คุณพออานขาว และเรื่องราวตางๆโดยไมใชหนังสือพมิพ

๗) โรงเรียนสงสําเนาเอกสารแจงไปที่รานคา โดยไมไดไปดวยตัวเอง

๘) มูซาแจง ๑๙๑ วามีผูประสบอุบัติเหตุบนถนนสายหนองจิก

Page 27: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

290

๑๑ กา ทับคําตอบที่ถูกที่สดุ

๑) คํากลอนเปนประเภทใด ก. กาพยยานี ข. กลอนสี่ ค. กลอนหา ง. กลอนหก ๒)สาระสําคัญของคํากลอนคือ ก. ใหรูเรื่องละหมาด ข. ใหรูคุณคาของละหมาด ค. ใหรักษาละหมาด ง. ถูกทุกขอ ๓) คําวารักษาตักบีรสี่สิบละหมาดหมายความวาอยางไร ก. ละหมาดทันตักบีรแรกพรอมอีหมาม๔๐ เวลาติดตอกัน ข. ละหมาดทันตักบีรแรกพรอมอีหมาม๔๐ วันติดตอกัน ค. ถูกทั้ง ก และข ง. ผิดทั้ง ก และข ขอ ๔ – ๕ ขอใดมีคําทีแ่ตกตางกัน ๔) ก. อารยธรรม สัจธรรม ข. สาธารณสุข พลศึกษา ค. อเนก อิสระ อวตาร ง. สกัการบูชา อิสรภาพ ๕) ก. มรณภาพ สบายใจ ข. ศิลปวัฒนธรรม สวิง

ค. ประชา ละหมาด สงา ง. สม่าํเสมอ ทหาร วิทยุ ขอ ๖ – ๘ คําใน ขอใดเขียนผิด ๖) ก. กระโจน ข. ขะโมย ค. สบู ง. สะอาด ๗)ก. ละเมอ ข. ชะเงอ ค. สไบ ง. จรเข ๘) ก. ขบวน ข. ถนน ค.ชะบา ง. ตลับ ๙) การเลือกอานหนังสือ ควรเลือกอานอยางไร

ก. เลือกอานที่ชอบ ข. เลือกอานที่มีสาระดี ค. เลือกอานที่ใหความรู ง.เลือกอานเนื้อหาเกิน ความจริง ๑๐) การเขียนแสดงความคิดขอใดไมเหมาะสม ก.ใชคําสุภาพ ข.มีเหตุผล ค.แสดงความคิดเห็นอยาง สรางสรรค ง.แสดงความคิดตามที่ชอบ

Page 28: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

ภาคผนวก ซ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

Page 29: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

292

แบบสอบถาม ฉบับที่ 1 การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม โดยใชชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมสุลิม ช้ันประถมศึกษาปที่ 1-3 โรงเรียนจริยอิสลามศึกษาอนุสรณ

............................................................................................................................................... คําชี้แจง

1. แบบสอบถามนี้มีวัตถปุระสงคเพ่ือสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม โดยใชชุดแบบฝกทักษะภาษาไทยสําหรับเด็กมุสลิม ชัน้ประถมศึกษาปที่ 1-3 ของโรงเรียนจริยอสิลามศึกษาอนุสรณ

2. แบบสอบถามมี 4 ตอน ประกอบดวย ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพและขอมูลทั่วไปผูบริหารและครู ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพและขอมูลทั่วไปผูปกครองและคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา

ตอนที่ 3 การสอบถามสภาพปญหา คุณลักษณะของครู นักเรียนและปจจัยสนับสนนุการเรียนรู ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลและดานผลผลิต ตอนที่ 4 แบบสอบถาม เก่ียวกับ ขอคนพบและขอเสนอแนะ 3. ขอมูลที่ไดจากการสอบถาม จะนําไปพจิารณาในลักษณะภาพรวมและคําตอบทีไ่ดรับจะเปนขอมูลในการปรับปรุงและแกไขการพัฒนาชดุแบบฝกทักษะภาษาไทยสําหรับเด็กมุสลิม ชั้นประถมศึกษาปที่ 1- 3 ของโรงเรียนจริยอิสลามศึกษาอนุสรณใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ทั้งนี้คําตอบของทานจะไมมผีล กระทบตอการปฏิบัติงานของทานแตประการใด 4. ทานดํารงอยูในสถานภาพใด โปรดเลอืกตอบตอนที ่1 หรือตอนที ่2 และขอมูลใดที่ทานไมมคีวามคิดเห็นหรือไมแนใจ โปรดเวนไว

นางฟาฏิมะฮ แวสะมาแอ นักศึกษาศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาอิสลามศึกษา กลุมวชิาครุศาสตรอิสลาม

Page 30: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

293

ตอนที่ 1 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถามผูบริหารและครู

คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย ลงในชอง และกรอกขอมูลเก่ียวกับตัวทานลงในชองวางตามสภาพความเปนจริง

1. เพศ 1. ชาย 2. หญิง

2. ตําแหนงปจจุบัน

ผูบริหาร ครูวิชาการ ครูอิสลามศึกษา ครูประจําช้ัน ป.1 ครูประจําช้ัน ป.2 ครูประจําช้ัน ป.3

3. วุฒิการศึกษา

ต่าํกวาปริญญาตร ี ปริญญาตรี

สูงกวาปรญิญาตร ี อื่นๆ (โปรดระบุ) ........................................................

4. ความถนัดดานการสอน ภาษาไทย

อิสลามศกึษา ไดทั้งสองดาน

5. ประสบการณทํางาน

ไมเคย 1 - 5 ป 6 - 10 ป มากกวา 10 ป

6. ทานเคยไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับการสอนแบบบูรณาการอิสลาม

เคย ไมเคย

Page 31: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

294

ตอนที่ 2 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถามของผูปกครองและคณะกรรมการอํานวยการ สถานศึกษา

คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมาย ลงในชอง และกรอกขอมูลเก่ียวกับตัวทานลงในชองวางตามสภาพความเปนจริง

1. เพศ 1. ชาย 2. หญิง

2. ตําแหนงปจจุบัน

ผูปกครองชั้น ป.1 ผูปกครองชั้น ป.2 ผูปกครองชั้น ป.3

คณะกรรมการอํานวยการ

3. วุฒิการศึกษา ต่าํกวาปริญญาตร ี ปริญญาตรี

สูงกวาปรญิญาตร ี อื่นๆ (โปรดระบุ) ........................................................

4. อาชีพ รับราชการ / บริษัท

ธุรกิจสวนตัว ( คาขาย) การเกษตร แมบาน

5. ประสบการณทํางาน

ไมเคย 1 - 5 ป 6 - 10 ป มากกวา 10 ป

Page 32: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

295

ตอนที่ 3 แบบสอบถามสภาพปญหา คุณลักษณะของครู นักเรียน และปจจัยเกื้อหนนุการเรียนรู ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล และคุณลักษณะที่พึงประสงค

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย / ลงใน หรือเติมขอความลงในชองวางตามความเปนจริง 5 หมายความวา ทานมีความเห็นวามีความสอดคลอง / เหมาะสมมากที่สุด 4 หมายความวา ทานมีความเห็นวามีความสอดคลอง / เหมาะสมมาก 3 หมายความวา ทานมีความเห็นวามีความสอดคลอง / เหมาะสมปานกลาง 2 หมายความวา ทานมีความเห็นวามีความสอดคลอง / เหมาะสมนอย 1 หมายความวา ทานมีความเห็นวามีความสอดคลอง / เหมาะสมนอยที่สุด

ระดับความคดิเห็น ขอ รายการประเมิน

5 4 3 2 1 1 1

2 3

สภาพปญหา ความจําเปนที่ตองมีชุดฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมสุลิม ฯ ชวงชั้นที่ 1 ชั้น ป.1- 3 1.1 แบบเรียนที่มีอยูไมสอดคลองตอความตอง การของชุมชนในทองถ่ิน.......................... 1.2 แบบเรียนที่รัฐกําหนดใหบางสิ่งขัดตอหลัก ความเชื่อมั่นในหลักคาํสอนของศาสนา. อิสลาม................................................ 1.3 ชุดฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯมุง ปลูกฝงใหผูเรียนเกิดการเรียนรูนําไปสูการ ปฏิบัตใินชีวิตประจําวัน...........................1.4 ชุดฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ ตอบสนองตอความตองการของชุมชนและ ทองถ่ิน.............................................. 1.5ชวยลดภาระงานและเวลาเรียนของเด็กใหนอยลงแตไดเนื้อหาครบถวนตามหลักสูตร........ ความสอดคลองของชุดแบบฝก ฯในดานสาระการเรียนรูกับมาตรฐานการเรียนรูพื้นฐานภาษาไทย พ.ศ. 2546 ............................... ความสอดคลองของชุดแบบฝก ฯในดานสาระการเรียนรูกับการบูรณาการอิสลาม...............

........ ........

........ ........

........ ........ .......

........

........ ........

........ ........

........

........

.......

........

........ ........

........ ........

........

........

........

........

........ ........

........ ........

........

........

........

........

........ ........

........ ........

.......

........

........

........

Page 33: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

296

ระดับความคดิเห็น ขอ รายการประเมิน

5 4 3 2 1 2

3

4.

คุณลักษณะของครู 2.1 ความรูความสามารถในการสอนแบบบูรณา การอิสลาม.................................. 2.2 จํานวนครูมีเพียงพอตอจํานวนผูเรียน........2.3 อบรมใหนักเรียนมี คณุธรรม จริยธรรมและ นาํไปปฏบิัติเปนแนวทางได................... 2.4 มีการพัฒนาและเพิ่มพนูความรูใหทนัสมัย..2.5 มีบุคลิกภาพที่ดีในการสอน...................... 2.6 มีความสัมพันธที่ดีระหวางครูกับศษิย.........2.7 มีความรับผดิชอบปฏบิัติหนาที่การสอน......2.8 เปนผูมีคณุธรรมและจรรยาบรรณ..............2.9 แผนการสอนมีความยดืหยุนตามความตอง การของนักเรียน....................................

คุณลักษณะดานผูเรียน 3.1 มีความรูตามมาตรฐานการเรียนรูตามระดับ ชั้นเรียน................................................. 3.2 มีการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรูตาม มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น......................3.3 ไดเลือกทํากิจกรรมดวยตนเองตามความถนัด และความสนใจ..................................... 3.4 มีความคดิสรางสรรคในการพัฒนาการเรียน ของตนเอง...........................................3.5มีการสงเสริมการรักการอานและการเรียนรู..

ปจจัยเกื้อหนุนการเรียนรู 4.1 สภาพแวดลอมในโรงเรียนเหมาะสมและเอ้ือตอการเรียนรู........................................4.2 อาคารเรียนอาคารประกอบของโรงเรียนมี ความเหมาะสม...................................... 4.3 สภาพหองเรียนมีความเหมาะสม..........

................ ........................ ....... ........ ........ ........

........ ........ ........

................

........ ........ ........

................ ............................... ................ ........

........ ........ ........

................

....... ........ ........

........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........

........ ........ ........

........ ........

........ ........ .......

........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........

........ ........ ........

........ ........

....... ........ .......

................ ............... ................................ ........

........ ........ ........

................

....... ...............

Page 34: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

297

ระดับความคดิเห็น ขอ รายการประเมิน

5 4 3 2 1

5.

4.4 สภาพชุมชนในเขตบริการของโรงเรียนมี ความเหมาะสม....................................4.5 ผูบริหารมีความรูความสามารถในการนิเทศ การสอนแบบบูรณาการอิสลาม................. 4.6 มีการประชาสัมพันธแนวทางและผลการ ประกนัคณุภาพการศึกษาใหผูเก่ียวของทราบ4.7 ผูบริหารใหการสนับสนนุและสงเสริมดานการ สอนแบบบูรณาการอสิลาม.......................4.8 จัดสื่อการสอนเหมาะสมกับวัยของผูเรียน..... 4.9 มีเครื่องมือและอุปกรณที่ใชในการฝก ปฏิบตัิเพียงพอ...................................

ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน 5.1 การจัดทําประมวลแผนการสอน................. 5.2 มีการจดัทําแผนการจดัการเรียนรู.............. 5.3 มีการบนัทึกการสอน...............................5.4 เปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมในการวางแผน จดักิจกรรมการเรียนการสอน...................5.5 จดักิจกรรมการเรียนการสอนที่สงเสริมให ผูเรียนมคีวามคดิริเร่ิมสรางสรรค............. 5.6.จัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนคุณลักษณะอัน พึงประสงคของสถานศกึษา.......................5.7 นักเรียนเรียนรูอยางมีความสุข..................5.8 บูรณาการอิสลามศึกษาควบคูการสอน........ 5.9 ฝกใหผูเรียนไดรูจักแกปญหา....................5.10 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดสอดคลอง กับความตองการของผูเรียน.................. 5.11 ชุดแบบฝกฯสอดคลองกับวัตถุประสงคของ หลักสูตรสถานศึกษา ฯ..........................5.12 มีหลักเกณฑ/วิธีการประเมินผลตามรายป/ รายภาค..............................................

........ ........

........

............... .......

........

........

........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ....... ........ ........

........ ........

........

............... .......

........

........

........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ....... ........ ........

........ ........

........

........ ....... .......

........

........

........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ....... ........ ........

........ ........

........

........ ....... .......

........

........

........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ....... ........ ........

........ ........

........

............... .......

........

........

........ ........ ........ ................................ ....... ........ ........

Page 35: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

298

ระดับความคดิเห็น ขอ รายการประเมิน

5 4 3 2 1 6 7 1

2

การวัดและประเมินผล

6.1 มีเกณฑการวัดและใหคะแนนอยางชัดเจน..... 6.2 ใชวิธีการประเมินผลที่เหมาะสมกับสภาพการ เรียนการสอน........................................6.3 มีการประเมินผลการเรียนครอบคลมุดาน พุทธิพิสัย.จิตพิสัย และทักษะพิสัย............. 6.4 มีการนําผลจากการวดัผลมาใชปรับปรุงการ เรียนการสอน........................................ 6.5 มีการวัดและประเมินผลเปนไปดวยความ ยุตธิรรม......................................... 6.6 ใชวิธีการวัดและประเมนิผลหลายวิธี......... 6.7 มีการแจงการประเมินผลใหนักเรียนทราบ ทุกคร้ัง................................................ ดานคุณลักษณะที่พึงประสงค ผลสัมฤทธิก์ารเรียนรูของนักเรียนภาษาไทย (ตอบในชั้นที่ทานรับผิดชอบ) 1.1 ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 .............................1.2 ช้ันประถมศึกษาปที่ 2 ........................... 1.3 ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 ............................ คุณลักษณะทีพ่ึงประสงค ดานเปนคนด ี2.1 นักเรียนมีจิตสํานึกที่ด.ี............................ 2.2 นักเรียนมีระเบียบวินัยดี.......................... 2.3 นักเรียนมีความเสียสละเพื่อสวนรวม........... 2.4 นักเรียนมีความซื่อสัตยสุจริต..................... 2.5 นักเรียนรูจักประหยัดอดออม.................... 2.6 นักเรียนรูจักรักษาเวลาละหมาด................. 2.7 นักเรียนรักการอานดุอาอ.และกุรอาน.......... ดานเปนคนเกง 2.8 สามารถอานคาํในบทเรยีนไดคลอง............. 2.9 สามารถเขียนคําตามทีก่ําหนดในบทเรียนได

........ ........ ........

........

................

........

............... ........

................ ........................ ................

........ ........

........ ........ ........

........

................

........

............... ........

................ ........................ ................

........ ........

........ ........ ........

........

........ ........

........

........ ....... ........

........ ........ ........ ........ ........ ........ ........

........ ........

........ ........ ........

........

........ ........

........

........ ....... ........

........ ........ ........ ........ ........ ........ ........

........ ........

........ ........ ........

........

................

........

............... ........

........................................................

................

Page 36: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

299

ระดับความคดิเห็น ขอ รายการประเมิน

5 4 3 2 1

.2.10 มีความสามารถในการใชภาษาสื่อสาร........2.11 มีความริเร่ิม มีจินตนาการ สามารถคาด การณและกําหนดเปาหมายได..........................2.12 สนใจใฝหาความรูจากแหลงตางๆ............. ดานเปนคนมีความสุข 2.13 มีอารมณราเริง แจมใส มีมนุษยสัมพันธ.....2.14 รูจักดูแลสุขภาพ และปองกันตนเองไมให เกิดอุบตัิเหตุ......................................... 2.15 มีความชื่นชมและรวมกิจกรรมดานศิลปะ ดนตรี กีฬา......................................

........ ................ ........

........ ........

........ ................ ........

........ ........

........ ........ ........ ........

........ ........

........ ........ ........ ........

........ ........

........ ................ ........

........ ........

ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะ.............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................

ขออัลลอฮฺทรงตอบแทนทานดวยสิ่งที่ดีงามในความรวมมือของทาน

Page 37: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

300

แบบสอบถาม ฉบับที่ 2 แนวทางการวิเคราะหชุดแบบฝกทักษะภาษาไทยสําหรับเด็กมุสลิม ช้ันประถมศึกษาปที่ 1-3 ของโรงเรียนจริยอิสลามศึกษาอนุสรณ

ผูวิจัยใครขอความรวมมือจากทาน กรุณาใหขอคิดเห็น ขอเสนอแนะและโปรดขีดเครื่องหมาย ลงใน ที่ทานเกี่ยวของ เพ่ือใหคุณคาประกอบการประเมินตอชุดคูมือครูและชุดแบบฝกทักษะภาษาไทยสําหรับเด็กมุสลิมของโรงเรียนจริยอิสลามศึกษาอนุสรณ อําเภอหนองจิก จังหวัดปตตานี ดังนี้

ชั้นประถมศกึษาปที ่ 1 2 3 ภาคตน ภาคปลาย

1. ความสัมพันธระหวางมาตรฐานการเรียนรูของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทยสําหรับเด็กมุสลิม ชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 กับสาระแกนกลางภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เพียงใด อยางไร ทานมีขอเสนอแนะอยางไร และมีการบูรณาการอิสลามหรือไม อยางไร เพียงใด และทานมีขอเสนอแนะอยางไร 1.1 หนวยการเรียนรูที่ 1……....…………………………………… ………………………………………………………………….

1.2 หนวยการเรียนรูที่ 2…...…………………………………….... …………………………………………………………………. 1.3 หนวยการเรียนรูที่ 3…………………………………………. ………………………………………………………………… 1.4 หนวยการเรียนรูที่ 4…………………………………………… ………………………………………………………..…………

1.5 หนวยการเรียนรูที่ 5…………………………………………… ………………………………………………………..………… 1.6 หนวยการเรียนรูที่ 6………………………………………… ………………………………………………………..…………. 1.7 หนวยการเรียนรูที่ 7…………………………………………… ………………………………………………………..…………

1.8 หนวยการเรียนรูที่ 8…………………………………………… ………………………………………………………..………… 1.9 หนวยการเรียนรูที่ 9…………………………………………… ………………………………………………………..…………

1.10 หนวยการเรียนรูที่ 10………………………………………… ………………………………………………………..…………

1.11 หนวยการเรียนรูที่ 11………………………………………… ………………………………………………………..…………

Page 38: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

301

1.12 หนวยการเรียนรูที่ 12………………………………………… ………………………………………………………..………… 1.13 หนวยการเรียนรูที่ 13………………………………………… ………………………………………………………..…………

1.14 หนวยการเรียนรูที่ 14………………………………………… ………………………………………………………..…………

1.15 หนวยการเรียนรูที่ 15………………………………………… ………………………………………………………………… …… …………

2. ความสัมพันธระหวางชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ สอดคลองกับความตองการของชุมชน: หรือไม เพียงใด และอยางไร ทานมีขอเสนอแนะอยางไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …

3. ความสัมพันธระหวางชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ สอดคลองกับความตองการของทองถ่ินภาคใตหรือไม เพียงใด และอยางไร ทานมีขอเสนอแนะอยางไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ความสัมพันธระหวางชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ สอดคลองกับความตองการของชุมชน มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ความสัมพันธระหวางชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ สอดคลองกับความตองการของทองถ่ินภาคใต สูงมาก สูง พอสมควร นอย นอยมาก

ความสัมพันธของมาตรฐานการเรียนรูภาษาไทย พ.ศ. 2544 กับชุดแบบฝกทักษะ ฯ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ความสัมพันธของมาตรฐานการเรียนรูระหวางภาษาไทยกับอิสลามศกึษามีการบูรณาการกัน มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

Page 39: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

302

4. การใชภาษาในแตละหนวยการเรียนรูของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ มี ความเหมาะ สมมากนอยเพียงไร อยางไร เม่ือเทียบกับชุดแบบเรียนภาษาไทยทั่วไปและของกระทรวงศึกษาธิการ และทานมีขอเสนอแนะอยางไรบาง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. เนื้อหาสาระของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ มีความครอบคลุมตามมาตรฐานการเรียนรูของสาระภาษาไทย และสามารถนาํไปใชมากนอยเพียงใดและทานมีขอเสนอแนะอยางไรบาง……………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. ความเหมาะสมของวัตถปุระสงคของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทยสาํหรับเด็กมุสลิม ฯ วัตถุประสงคเปนที่เขาใจชัดเจน มากนอยเพียงไร อยางไร เหตผุลประกอบ/ขอเสนอแนะ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

การใชภาษาในแตละหนวยฯของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ มีความเหมาะสม มากกวาชุดแบบเรียนทัว่ไป เทียบไดกบัชุดแบบเรียนทั่วไป ใกลเคียงชุดแบบเรียนทั่วไป

ลาสมัยกวาชุดแบบเรียนทั่วไป ลาสมัยกวาชุดแบบเรียนทั่วไปมาก มากกวาชุดแบบเรียนกระทรวง ฯ เทียบไดกบัชดุแบบเรียนกระทรวงฯ ใกลเคียงกับชุดแบบ

เรียนกระทรวง ฯ ลาสมยักวาชุดแบบเรียนกระทรวง ฯ ลาสมัยกวาชุดแบบเรยีนกระทรวง ฯมาก

เนื้อหาสาระของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ มีความครอบคลุม มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

เนื้อสาระของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯสามารถนําไปใชได มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ความเหมาะสมของวัตถุประสงคของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทยสําหรับเด็กมุสลิม ฯ เปนที่เขาใจชัดเจน

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

Page 40: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

303

6.1 วัตถุประสงคของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ สอดคลองระหวางจุดประสงคของหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย2544 และหลักสูตรอิสลามศึกษา 2546 มากนอยเพียงไร อยางไร เหตผุลประกอบ/ขอเสนอแนะ ……… …………………… ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

6.2 เนื้อหามีความสอดคลองกับจุดประสงคของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็ก

มุสลิม ฯ มากนอยเพียงไร อยางไร เหตผุลประกอบ/ ขอเสนอแนะ… ……………… ......................................................................................... ........................................................................................ ........................................................................................

6.3 การแบงเนื้อหาในแตละหนวยการเรียนรูมีความเหมาะสมในการบูรณาการอิสลาม มากนอยเพียงไร อยางไร เหตุผลประกอบ/ขอเสนอแนะ

........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

6.4 ความถูกตองของเนื้อหาและภาษาที่ใช ในดานการใชหลักภาษาไทย มากนอยเพียงไร อยางไร เหตุผลประกอบ/ขอเสนอแนะ

… ...................................................................................... ........................................................................................ ........................................................................................

วัตถุประสงคของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ สอดคลองระหวางจุดประสงค ของหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย2544 และหลักสูตรอิสลามศึกษา 2546

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

เนื้อหามีความสอดคลองกับจุดประสงคของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ความถูกตองของเนื้อหาและภาษาที่ใช ในดานการใชหลักภาษาไทย มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

การแบงเนื้อหาในแตละหนวยการเรียนรูมีความเหมาะสมในการบูรณาการอิสลาม มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

Page 41: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

304

6.5 ความเหมาะสมของภาพประกอบในดานการสื่อความหมาย มากนอยเพียงไร อยางไร เหตผุลประกอบ/ขอเสนอแนะ …

........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

6.6 ความเหมาะสมในการจัดลําดับการนําเสนอของเนื้อหา มากนอยเพียงไร อยางไร เหตุผลประกอบ/ขอเสนอแนะ …

........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

........................................................................................

6.7 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร มากนอยเพียงไร อยางไร เหตุผลประกอบ/ขอเสนอแนะ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

6.8 บทเรียนมีแรงจูงใจ นาสนใจในการเรยีน มากนอยเพียงไร อยางไร เหตุผลประกอบ/ขอเสนอแนะ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

ความเหมาะสมของภาพประกอบในดานการสื่อความหมาย มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

บทเรียนมีแรงจูงใจ นาสนใจในการเรียน มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

ความเหมาะสมในการจดัลําดับการนําเสนอของเนื้อหา มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

Page 42: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

305

6.9 บทเรียนสามารถนาํไปใชในชีวิตประจําวันได มากนอยเพียงไร อยางไร เหตุผลประกอบ/ขอเสนอแนะ …

........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ 7. คุณลักษณะที่พึงประสงคของนักเรียนจากชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ ในดาน เกง ดี มคีวามสุข ควรเปนอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8 ขอเสนอแนะในการปรับปรุงชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเดก็มุสลิม ฯ

8.1 วัตถุประสงคของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯฯ …… ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

8.2 โครงสรางของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

8.3 การบรูณาการชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ฯ และรายวิชาอื่นๆ (เชน ควรจัดหรือเพ่ิมรายวิชาใด ควรจัดลําดบัวิชาอยางไร) ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

บทเรียนสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

Page 43: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

306

8.4 การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม โดยใชชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ชั้นประถมศึกษาปที ่1-3 ของโรงเรียนจริยอิสลามศึกษาอนุสรณ (เชน การคัดเลือกนักเรียน การสอบ) ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ .

8.5 ขอเสนอแนะอื่น ๆ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................ ........................................................................................

ลงช่ือ..................................................

(.......................................................)

ขออัลลอฮฺทรงตอบแทนทานดวยสิ่งที่ดีงามในความรวมมือของทาน

Page 44: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

307

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย ฉบับที่ 3 ผูบริหารสถานศึกษา/ หัวหนาหมวดวิชา

การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม โดยใชชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมสุลิม ช้ันประถมศึกษาปที ่1-3 ของโรงเรียนจริยอิสลามศึกษาอนุสรณ

ชื่อ......................................... ................ตําแหนงปจจุบัน.............................................. ประสบการณทํางาน 1) ในการบรหิาร ..........................................ป

2) ในโรงเรียน..............................................ป ภาระงานปจจบุัน

1) ..................................................... 2) ......................................................... 3) ..................................................... 4) .........................................................

คําถาม 1. ในฐานะที่ทานเปนผูบริหารสถานศึกษา ฯ ทานมีทัศนคตติอชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิมนี้เปนอยางไร โปรดพิจารณาในดานใดตอไปนี ้

1.1 ความจําเปนและความสําคัญของการจัดการเรียนการสอนแบบบรูณาการอิสลาม โดยใชชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ช้ันประถมศกึษาปที ่1-3 “ .

1) ชั้นประถมศึกษาปที ่1.................................................................................. ....................................................................................................................

2) ชั้นประถมศึกษาปที ่2................................................................................... ....................................................................................................................

3) ชั้นประถมศึกษาปที ่3.................................................................................... .................................................................................................................... 1.2 ทานคดิวาการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม โดยใชชุดแบบฝกทกัษะ

ภาษาไทยสําหรับเด็กมุสลิม ชั้นประถมศกึษาปที ่1-3 มีประโยชนตอครูและนักเรียนอยางไร 1) ชั้นประถมศึกษาปที ่1..................................................................................

.................................................................................................................... 2) ชั้นประถมศึกษาปที ่2...................................................................................

.................................................................................................................... 3) ชั้นประถมศึกษาปที ่3.................................................................................... .................................................................................................................... 1.3 ทานคดิวาผูสอนมคีวามสามารถในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอสิลาม โดยใชชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ช้ันประถมศกึษาปที ่1-3 มากนอยเพียงใด 1) ชั้นประถมศึกษาปที ่1..................................................................................

....................................................................................................................

Page 45: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

308

2) ช้ันประถมศึกษาปที ่2................................................................................... ....................................................................................................................

3) ช้ันประถมศึกษาปที ่3.................................................................................... .................................................................................................................... 1.4 ทานมีความรูสึกที่ดีตอบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม

มากนอยเพียงใด 1) ชั้นประถมศึกษาปที ่1..................................................................................

.................................................................................................................... 2) ช้ันประถมศึกษาปที ่2...................................................................................

.................................................................................................................... 3) ช้ันประถมศึกษาปที ่3.................................................................................... .................................................................................................................... 1.5ทานคิดวาผูสอนมีเจตคติและความใสใจที่ดตีอผูเรียนมากนอยเพยีงใด 1) ช้ันประถมศึกษาปที ่1..................................................................................

.................................................................................................................... 2) ช้ันประถมศึกษาปที ่2...................................................................................

.................................................................................................................... 3) ช้ันประถมศึกษาปที ่3.................................................................................... ....................................................................................................................

2. ในฐานะที่ทานเปนผูบริหาร/หัวหนาหมวดวิชา ทานมีนโยบาย และวิธีปฏิบตัิในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลามของทานอยางไร ในดานตอไปนี ้ 2.1 โครงสรางการบริหารการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอสิลาม

....................................................................................................................

2.2 วิสัยทัศนของผูบริหารเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม ....................................................................................................................

2.3 การประสานงานภายในเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม .................................................................................................................... 2.4 การดําเนนิงานตามแผนการบริหารแบบบูรณาการอิสลาม ....................................................................................................................

2.5 หลักเกณฑในการคัดเลอืกนักเรียน ครู ....................................................................................................................

2.6 ระบบการประเมินผลการเรียน การสอนแบบบูรณณาการอิสลาม ....................................................................................................................

Page 46: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

309

2.7 ระบบสงเสริมและพัฒนาคุณภาพครูผูสอน .................................................................................................................... 2.8 การประชาสัมพันธเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม .................................................................................................................... 2.9 การประกนัคุณภาพของสถานศึกษา ฯ ....................................................................................................................

3.โปรดพิจารณาประสิทธภิาพและประสทิธิผลของเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลามในดานตอไปนีแ้ละทานมีขอเสนอแนะในการปรับปรุงอยางไร 3.1 โครงสรางของหลักสูตรสถานศึกษา ฯเกี่ยวกับการบูรณาการเนื้อหาสาระระหวางหลักสูตรแกนกลางพื้นฐานภาษาไทย พ.ศ. 2544 และหลักสูตรอิสลามศึกษา พ.ศ. 2546

1) ช้ันประถมศึกษาปที ่1.................................................................................. ....................................................................................................................

2) ช้ันประถมศึกษาปที ่2................................................................................... ....................................................................................................................

3) ช้ันประถมศึกษาปที ่3.................................................................................... ....................................................................................................................

3.2 ระบบการจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการอิสลาม 1) ช้ันประถมศึกษาปที ่1..................................................................................

.................................................................................................................... 2) ช้ันประถมศึกษาปที ่2...................................................................................

.................................................................................................................... 3) ช้ันประถมศึกษาปที ่3.................................................................................... .................................................................................................................... 3.3 ประสิทธภิาพในการจดัการเรยีนการสอนแบบบูรณาการอิสลามของครูผูสอนภาษาไทย . 1) ชั้นประถมศึกษาปที ่1..................................................................................

.................................................................................................................... 2) ชั้นประถมศึกษาปที ่2...................................................................................

.................................................................................................................... 3) ชั้นประถมศึกษาปที ่3.................................................................................... .................................................................................................................... 3.4 ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ในดานเกง ด ีมีความสุข . 1) ชั้นประถมศึกษาปที ่1..................................................................................

.................................................................................................................... 2) ชั้นประถมศึกษาปที ่2................................................................................... ....................................................................................................................

3) ชั้นประถมศึกษาปที ่3....................................................................................

Page 47: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

310

.................................................................................................................... 3.5 ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนที่จบตามชวงชั้นที่ 1 .................................................................................................................... 3.6 ระบบสนบัสนุนการเรียนการสอนโรงเรียน .................................................................................................................... 3.7 ดานงบประมาณ ....................................................................................................................

4. ทานคดิวาทิศทางของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิมฯในอนาคตจะเปนเชนไร และส่ิงท่ีทานคาดหวงัจะเปนไปไดหรือไม เพราะเหตุใด ................................................................................................................... .................................................................................................................... ....................................................................................................................

5. จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน ทานจะใหคะแนนคุณภาพของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิมฯจํานวนเทาใด เปนเพราะเหตุใด ทานมีนโยบายหรือมาตรการใดที่จะรักษาและเพ่ิมคุณภาพของชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิมฯ ใหดีข้ึน .................................................................................................................... ....................................................................................................................

ขออัลลอฮฺทรงตอบแทนทานดวยสิ่งที่ดีงามในความรวมมือของทาน

Page 48: ภาคผนวก ช ตัวอย างการจัําหนดท วยการเรียนรู ชั้นประถมศึกษาป ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//04762/Appendix_(265-311).pdf ·

311

แบบสัมภาษณผูปกครอง ฉบับที่ 4

เร่ือง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม โดยใชชุดแบบฝกทกัษะภาษาไทย สําหรับเด็กมสุลิม ช้ันประถมศึกษาปที ่1-3 ของโรงเรียนจริยอิสลามศึกษาอนุสรณ

ชื่อ......................................... ................ตําแหนงปจจุบัน...........................................

1. ทานมีความคิดเห็นอยางไรเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอิสลาม โดยใชชุดแบบฝกทกัษะภาษาไทย สําหรับเดก็มุสลิม ชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 ของโรงเรียนจริยอิสลามศึกษาอนุสรณ ในดานตอไปนี้

1) ทานคิดวามีความจําเปนและความสาํคญัอยางไรในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณา การอิสลาม โดยใชชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3

..................................................................................................................

......................................................................................................................

...................................................................................................................... 2) ทานคิดวาการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอสิลาม โดยใชชุดแบบฝกทักษะ

ภาษาไทยสําหรับเด็กมุสลิม ช้ันประถมศกึษาปที ่1-3 มีประโยชนตอครูและนักเรียนอยางไร ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ......................................................................................................................

3) ทานคิดวาครูผูสอนมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอสิลาม โดยใชชุดแบบฝกทักษะภาษาไทย สําหรับเด็กมุสลิม ชั้นประถมศกึษาปที ่1-3 มากนอยเพียงใด

......................................................................................................................

......................................................................................................................

...................................................................................................................... 4) ทานมีความรูสึกที่ดีตอบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอสิลาม

มากนอยเพียงใด ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ......................................................................................................................

ขออลัลอฮฺทรงตอบแทนทานดวยสิ่งที่ดีงามในความรวมมือของทาน