มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(amazing solar system)

13
1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล ชื่อผู้ทำาโครงงาน 1. นาย ณัฐวุฒิ ชะลิ เลขที10 ชั้น มัธยมศึกษาปีท6 ห้อง 4 2. นางสาวมยุรี จิโน เลขที16 ชั้น มัธยมศึกษาปีท6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที1-2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์

Upload: taioddntw

Post on 23-Jul-2015

37 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

1

แบบเสนอโครงรา่งโครงงานคอมพิวเตอร ์รห ัสว ิชา ง 33202 ชือ่วชิา เทคโนโลยสีารสนเทศและ

การส ื่อสาร 6ปกีารศกึษา 2557

ชือ่โครงงาน มหศัจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล

ชือ่ผ ู้ท ำาโครงงาน1. นาย ณัฐวุฒิ ชะลิ เลขที่ 10 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 หอ้ง 42. นางสาวมยุรี จิโน เลขที่ 16 ชัน้ มธัยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 4

ชือ่อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มลูวรรณ์

ระยะเวลาด ำาเน ินงาน ภาคเร ียนที่ 1-2 ปีการศ ึกษา 2557

โรงเร ียนย ุพราชวิทยาล ัย จังหว ัดเช ียงใหม่ส ำาน ักงานเขตพื้นท ี่การศ ึกษาม ัธยมศ ึกษาเขต 34

ใบงานการจ ัดทำาข ้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร ์

Page 2: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

2

สมาชิกในกลุ่ม 1.นาย ณัฐว ุฒิ ชะลิ ชั้นม ัธยมศึกษาปี่ท ี่ 6/4 เลขที่

102.นางสาว มยุร ี จิโน ชั้นม ัธยมศึกษาปีท ี่ 6/4 เลขที่

16

คำาชี้แจง ให้ผ ู้เร ียนแต่ละกลุ่มเข ียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข ้อต ่อไปนี้

ช ื่อโครงงาน ( ภาษาไทย ) มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล

ชื่อโครงงาน ( ภาษาอ ังกฤษ ) Amazing Solar System

ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาชื่อผ ู้ท ำาโครงงาน

1.นาย ณัฐวุฒิ ชะลิ 2.นางสาว มยุรี จิโน

ชื่อท ี่ปร ึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ระยะเวลาดำาเน ินงาน : 1 เดอืน

ที่มาและความสำาค ัญของโครงงาน เน่ืองจากระบบสุริยะจักรวาลของเรา มีสิ่งต่างๆมากมายที่น่าค้นหานอกเหนือจากว่าดาวต่างๆคือดาวอะไร มีทั้งเรื่องลึกลับและน่ามหัศจรรย์ต่างๆที่ไม่มีคนรู้จัก หรือยังไม่ค่อยได้รับความสนใจเท่าที่ควร ทำาให้ไม่ค่อยมีคนรู้มากนัก และอีกอย่างเรื่องพวกน้ีก็จัดได้ว่าเป็นความรู้รอบตัวอีกอย่างหน่ึงอีกด้วย ดังน้ันทางคณะผู้จัดทำาจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาเก่ียวกับสิ่งมหัศจรรย์ต่างๆ ในระบบสุริยะจักรวาล

ว ัตถ ุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาเก่ียวกับเรื่องราวต่างๆ ในระบบสุระจักรวาล2. เพื่อศึกษาหาความรู้รอบตัวให้มากขึ้น

ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เง่ือนไขและข้อจำากัดของการทำาโครงงาน)

1. จดัทำาโครงงานศึกษาเก่ียวกับเรื่องราวในระบบสุริยะจักรวาล

Page 3: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

3

2. ดวงดาว และดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาล

หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำาโครงงาน)

วงแหวนของดาวเสาร์ (The Rings of Saturn)

จากรูปที่เห็น น่ีคือบรรยากาศช้ันโทรโปสเฟียร์ของดาวเสาร์ ดา้นบนคือภาพวงแหวนในมุมมองที่ชัดเจน จะมองเห็นโครงสร้างเป็นช้ันๆ ที่สวยงามอย่างน่าอัศจรรย์ที่สุดในระบบสุริยะ แสงสะท้อนสีขาวจากวงแหวนแท้จริงแล้วคือก้อนนำ้าแข็งจำานวนนับไม่ถ้วนที่โคจรอยู่สูงจากศีรษะขึ้นไป 75,000

กิโลเมตร แสงสะท้อนน้ีถูกเรียกว่า Ringshine หากเปรียบเทียบแล้ว

Ringshine มีความสว่างกว่าพระจันทร์เสี้ยวบนโลกถึง 6 ดวง ในรูป หากก้มมองตำ่าลงมา สิ่งที่เห็นคือดวงอาทิตย์ขึ้นที่ขอบฟ้าของดาวเสาร์ แสงอาทิตย์หักเหและสะท้อนกับหมอกและผลึกของแอมโมเนีย เกิดเป็นปรากฏการณ์ซันด๊อก (ปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ซ้อนกัน 3 ดวง) แม้สถานที่ตรงน้ีจะมีปรากฏการณ์ที่สวยงามแต่ก็แฝงไปด้วยอันตราย หากคุณไปอยู่ตรงน้ัน คุณจะได้รับอันตรายจากสายลมแอมโมเนียที่พัดกรรโชกด้วยความเร็ว 1,500

กิโลเมตรต่อช่ัวโมง ไม่เพียงเท่าน้ัน ตำ่าลงไปใต้เท้าของคุณประมาณ

30,000 กิโลเมตร คือมหาสมุทรของโลหะเหลวไฮโดรเจน ความดันของมหาสมุทรน้ีสูงมากจนไม่มีสิ่งใดจะทนต่อความดันน้ีได้ จึงเป็นเหตุให้ไม่มีพาหนะใดที่ร่อนลงบนดาวดวงน้ีได้อย่างปลอดภัย

จุดแดงยักษ์บนดาวพฤหัส (Jupiter's Red Spot)

Page 4: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

4

น้ีคือทิวทัศน์ที่ขอบของจุดแดงยักษ์ ซึ่งเป็นพายุที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ กระแสลมของพายุเคลื่อนที่หมุนในทิศทวนเข็มนาฬิกา สวนทางกับการหมุนของพายุส่วนใหญ่บนโลก (จึงเรียกว่า แอนติไซโครน) เส้นผ่านศูนย์กลางของพายุมีขนาดใหญ่จนสามารถบรรจุโลกเข้าไปในพายุได้สองใบพอดี มนุษย์เคยสังเกตเห็นพายุน้ีมาเป็นเวลาประมาณ 400 ปี แล้ว น้ันหมายความว่าพายุน้ีต้องพัดมานานกว่า 400 ปี และไม่มีท่าทีว่าจะหยุด

สาเหตุของการเกิดพายุที่ยิ่งใหญ่ รุนแรง และพัดติดต่อกันนาน ที่สดุน้ียังคงเป็นปริศนา ในรูป การม้วนตัวของเมฆสีส้มทางด้านซ้ายคือเพียงส่วนเล็กๆ

ส่วนหน่ึงของจุดแดงยักษ์ สภาพของขอบพายุสะท้อนถึงความอันตรายอย่างสุดขดี สายฟ้าผ่าในมวลเมฆน้ันใหญ่และรุ่นแรงเพียงพอที่จะขยี้เมืองทั้งเมืองได้ สายลมที่ขอบนอกของจุดแดงยักษ์มีความเร็วมากกว่า 400 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง และหมุนครบรอบทุกๆ 7 วัน มีกระแสลมหมุนและพายุเล็กๆ รายล้อมจุดแดงยักษ์น้ี ทั้งหมดต่างประสานเสียงคำารามกึกก้องทั่วทั้งท้องฟ้า

หุบเขามารินาริส บนดาวอังคาร (Valles Marineris, Mars)

ไม่ว่านักเดินทางหรือนักปีนเขาจะเก่งกล้าเพียงใดก็คงต้องออกอาการยอมแพ้ตั้งแต่ครั้งแรกไปถึงหุบเขามารินเนอร์บนดาวอังคาร ในรูปน้ีแสดงถึงนักสำารวจยืนอยู่บนหุบเขา จะเห็นมีหมอกของนำ้าแข็งสีขาวอยู่จางๆ อยู่เบ่ืองล่าง แสงสีส้มที่ขอบฟ้าด้านหลังของหุบเขาแสดงถึงดวงอาทิตย์ที่กำาลังขึ้นมาจากหุบเขาฝั่งน้ัน หุบเขาแห่งน้ีมีความลึกและความกว้างเป็นที่สุดของระบบ

Page 5: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

5

สุริยะ หากคุณยืนอยู่บนหุบเขาแล้วมองลงไปคุณต้องรู้สึกใจหายในควำ่าทันที เพราะพื้นเบ่ืองล่างของหุบเขาอยู่ลึกจากเท้าลงไปประมาณ 6.44 กิโลเมตร

และเมื่อคุณมองไปข้างหน้า คุณอาจตอ้งเครียด เพราะอีกฝั่งของหุบเขาอยู่ไกลออกไปถึง 1 ใน 4 ของระยะทางรอบโลก ถึงขนาดที่ หากมีนักเดินทางอีกคนยืนอยู่อีกฝากหน่ึงของมารินเนอร์ นักเดินทางคนน้ันจะเห็นดวงอาทิตย์ขึ้นก่อนคุณถึง 6 ช่ัวโมง นักวิทยาศาสตร์สันนิฐานว่ากาลครั้งหน่ึงในอดีต

คงจะเคยมีนำ้าอยู่ระหว่างหุบเขาน้ี หรือ อาจเป็นมหาสมุทรบนดาวอังคารเลยก็ว่าได้

นำ้าพุเกร็ดนำ้าแข็งบนดวงจันทร์เอนเซลาดัส (The Geysers of Enceladus)

เอนเซลาดัสคือหน่ึงในดวงจันทร์บริวารของดาวเสาร์ ผิวของเอนเซลาดัสถือเป็นทุ่งนำ้าแข็งที่อันตรายที่สุด หากคุณได้ลงไปเดินบนทุ่งนำ้าแข็งแห่งน้ี

สิ่งเดียวที่เป็นลางบอกภัยคือแรงสันสะเทือนที่ถ่ายทอดจากพื้นสู่ตัวคุณ ทันใดน้ันพื้นนำ้าแข็งก็ปริแตกแล้วพ่นเกร็ดนำ้าแข็งจำานวนมากขึ้นสู่อวกาศด้วยความเร็วสูงถึง 1,600 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง เน่ืองจากเอนเซลาดัสมีขนาดเล็ก

มีแรงโน้มถ่วงที่ผิวไม่เกิน 1 ใน 100 ของแรงดึงดูดโลก ดวงจันทร์น้ีจึงไม่มีบรรยากาศ ทำาให้ไม่มีเสียง อันตรายจากนำ้าพุเกร็ดนำ้าแข็งน้ีจึงเป็นภัยเงียบอย่างแท้จริง คำาแนะนำาสำาหรับผู้ที่จะท่องทุ่งนำ้าแข็งคือ ให้ผูกตัวคุณเองไว้กับเครื่องช่วยกระโดด (jetpack) และเดินอย่างระมัดระวัง หากเห็นท่าไม่ดีให้รีบเปิดเครื่องช่วยกระโดดแล้วกระโดดหนีทันที รูปที่เห็นคือนำ้าพุเกร็ดนำ้าแข็งที่สะท้อนกับแสงจากดวงอาทิตย์ นักวิทยาศาสตร์เช่ือว่านำ้าพุเกร็ดนำ้าแข็งคือหลักฐานบ่งช้ีว่ามีนำ้าเหลวอยู่ใต้ดวงจันทร์เอนเซลาดัส เมื่อนำ้าได้รับความร้อนใต้พิภพจะทำาให้นำ้ากลายเป็นไอแล้วพุ่งสู่เบ่ืองบนด้วยความเร็วสูง เมื่อไอนำ้าเหล่าน้ันได้รับความเย็นที่ผิวของเอนเซลาดัส จึงแข็งตัวกลายเป็นเกร็ดนำ้าแข็ง จึงเกิดเป็นนำ้าพุเกร็ดนำ้าแข็งดังที่แสดงในรูป

Page 6: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

6

นำ้าพุเย็นจัดบนดวงจันทร์ไทรทัน (The Geysers of Triton)

ไทรทันคือดวงจันทร์บริวารดวงที่ใหญ่ที่สุดของดาวเนปจูน (ดาวดวง

สีนำ้าเงินด้านหลัง ในรูป) พื้นผิวถูกปกคลุมไปด้วยมีเทนและไนโตรเจน อกีทั้ง

มีอุณหภูมิตำ่าถึง -200 องศาเซลเซียส บนดวงจันทร์ดวงน้ีมีนำ้าพุที่ทรงพลัง

และอันตรายอยู่เช่นเดียวกับเอนเซลาดัส เพียงแต่นำ้าพุของดวงจันทร์ดวงน้ี

ไม่ใช่เกิดจากการพวยพุ่งของนำ้า แต่เป็นการพวยพุ่งของสารประกอบ

ไนโตรเจนรวมทั้งมีเทนที่เย็นจัด การพุจะมีลักษณะเหมือนควันพุ่งออกจาก

ผิวของดวงจันทร์ มีความสูงมากกว่า 8 กิโลเมตร ยอดของนำ้าพุจะถูกลมบน

พัดกระจายเป็นทางยาว เน่ืองจากความสูงและการกระจายตัวของนำ้าพุ

ทำาให้เราสามารถเห็นนำ้าพุน้ีได้แม้จะอยู่ในอวกาศ

ยอดเขาแห่งแสงนิรันดร์ (Peaks of Eternal Light)

Page 7: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

7

สิ่งมหศัจรรย์น้ีอยู่ไม่ไกลจากโลกมากนัก มันอยู่บนดวงจันทร์ของเราเอง

ที่แนวเขาทางตอนเหนือของดวงจันทร์ มีบริเวณอยู่บริเวณหน่ึงที่ถูกแสงอาทิตย์ส่องตลอดเวลาและตลอดกาล หรอืพูดอีกอย่างคือ ดวงอาทิตย์ไม่เคยตกหากมองจากบริเวณน้ี ยอดเขาแห่งแสงนิรันดร์ถูกค้นพบเมื่อปี พ.ศ.

2537 และเป็นเพียงที่แห่งเดียวในระบบสุริยะที่มีแสงส่องตลอดกาล สิ่งที่น่าสนใจคือ แม้ดวงจันทร์จะมีอุณหภูมิเฉลี่ยหนาวเย็น แต่ที่ยอดเขาแห่งแสงนิรันดร์กลับมีอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการดำารงชีวิตของมนุษย์ คือ 20 องศาเซลเซียส จึงเป็นบริเวณที่เหมาะมากสำาหรับตั้งรกรากบนดวงจันทร์ ข้อดีอีกอย่างคือจะมีพลังงานแสงอาทิตย์ให้เก็บเก่ียวผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าตลอดเวลา ไม่แน่ว่าที่แห่งน้ียังอาจจะมีนำ้าเหลวเป็นของแถมอีกด้วย

หลุมอุกกาบาตเฮอร์เชลบนดวงจันทร์ไมมาส (Herschel Crater on Mimas)

หากใครเคยดู Starwars ครบทั้ง 6 ภาพ คงต้องรู้จักอาวุธทรงอานุภาพอย่าง Death Star แน่นอน แต่รู้หรอืไม่ว่ารูปร่างของ Death Star

ถูกออกแบบจากสิ่งมหัศจรรย์น้ี น่ีคือภาพของหลุมอุกกาบาตเฮอร์เชล

(Herschel) บนดวงจันทร์ไมมาสบริวารอีกดวงหน่ึงของดาวเสาร์ ใจกลางของหลุมอุกกาบาตเฮเตอร์มีภูเขาอยู่สูงจากบริเวณรอบราว 6 กิโลเมตร และถูกล้อมไปด้วยปากหลุม ซึ่งเป็นกำาแพงของภูเขาสูง 5 กิโลเมตร หลุมอุกกาบาตน้ีมีเส้นผ่านศูนย์กลางมากถึง 139 กิโลเมตร จัดเป็นหลุมอุกกาบาติที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยพบในระบบสุริยะ หลุมน้ีจะมองเห็นได้ชัดเจนจากอวกาศจนเหมือนกับดวงจันทร์น้ีมีตาขนาดใหญ่ 1 ดวง ซึ่งก็คือต้นแบบของปากกระบอกปืน Super Laser ของ Death Star น้ันเอง นักวิทยาศาสตร์ให้ความเห็นว่าหลุมอุกกาบาตน้ีน่าจะเกิดจากไมมาสถูกชนครั้งใหญ่ด้วยอุกกาบาตขนาดใหญ่ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของไมมาส ซึ่งก็ทำาให้แม้แต่นัก

Page 8: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

8

วิทยาศาสตร์เองก็แปลกใจว่าดวงจันทร์ไมมาสรอดจากการแตกสลายอันเน่ืองจากการชนครั้งใหญ่น้ีได้อย่างไร

พระอาทิตย์ขึ้นบนดาวพุธ (Sunrise on Mercury)

1 วันบนโลกของเราจะมีดวงอาทิตย์ขึ้นและตกเพียงอย่างละครั้งเดียว แต่สำาหรับดวงอาทิตย์ขึ้นและดวงอาทิตย์บนดาวพุธมีความน่าตื่นตาตื่นใจและน่าจดจำายิ่งกว่า เทียบกับโลกแล้วดวงอาทิตย์ขึ้นและตกวันละสองครั้งครึ่ง

กล่าวคือ 1 วันบนดาวพุธ ตอนรุ่งอรุณดวงอาทิตย์จะขึ้นที่ขอบฟ้า แล้วเคลื่อนข้ามท้องฟ้าเหมือนปกติ ขณะที่ดวงอาทิตย์กำาลังตกไปยังขอบฟ้าอีกด้านหน่ึง ทันใดน้ันดวงอาทิตย์ก็หยุด แล้วเคลื่อนที่ย้อนกลับไปสู่ขอบฟ้าด้านที่มันขึ้นในตอนเช้า หลังจากน้ันดวงอาทิตย์ก็หยุดอีกครั้งแล้วเคลื่อนย้อนกลับที่ไปสู่ขอบฟ้าด้านตรงข้าม (ตรงข้ามกับด้านที่ดวงอาทิตย์ขึ้นในตอนเช้า) อกีครั้ง แล้วจึงตก ทำาให้ใน 1 วัน ดาวพุธมดีวงอาทิตย์ขึ้นสองครั้งและตกสองครั้ง ที่เป็นเช่นน้ีเพราะเวลาในการหมุนรอบตัวเองและเวลาในการหมุนรอบดวงอาทิตย์มีความใกล้เคียงกัน (3 วันบนดาวพุธ นานเท่ากับ 2 ปีของดาวพุธเอง) และความรีของวงโคจรดาวพุธก็มีผลทำาให้เกิดปรากฎการณ์น้ีเช่นกัน

OLYMPUS MONS ภูเขาไฟที่ใหญ่ที่สุดของระบบสุริยะจักรวาล

เมื่อเราเข้าใกล้ดาวอังคาร เราก็สะดุดตากับภูเขาขนาดยักษ์ลูกน้ี ฐานของมันมีขนาดเกือบ 350 ไมล์ เหมือนกับภูเขาที่มีฐานจากลอสแอนเจลิสถึง

Page 9: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

9

ซานฟรานซิสโก ถึงแม้ว่ามันจะสูงมากแต่เนินของมันค่อยๆชัน มันไม่ใช่ภูเขาไฟที่สูงชัน มันราบเรียบเป็นเนินตำ่าๆ แต่ว่ามันก็ไม่สิ้นสุดสักที ถ้าคุณปีน 13 ไมล์ถึงยอดเขา คุณอาจเห็นวิวช้ันบรรยากาศของดาวอังคาร Olympus Mons อาจจะสูงกว่าภูเขาที่สูงที่สุดบนโลกหลายเท่า และฐานของมันก็กว้างนับร้อยไมล์ มันก่อตัวขึ้นเมื่อกว่าพันล้านปีก่อนจากการระเบิดครั้งแล้วครั้งเล่าของภูเขาไฟ ซึ่งมันค่อยๆปกคลุมพื้นดินด้วยช้ันของลาวาน่ันเอง 100 ล้านปีก่อน สายลาวาร้อนไหลทะลักลงมาจากยอดเขาปกคลุมพื้นที่นับล้านตารางไมล์บนดาวแดง ปัจจุบันน้ี Olympus Mons เป็นภูเขาที่มีมวลมากกว่าภูเขาไฟเมานาโลอา (Mauna Loa) ที่ใหญ่ที่สุดของโลกในฮาวายนับร้อยเท่า Olympus Mons มีขนาดใหญ่กว่าภูเขาลูกไหนของโลกด้วยเหตุผลหลายอย่าง อย่างแรกก็คือมันมีการปะทุของภูเขาไฟเกิดขึ้นมากมาย อย่างที่สองก็คือแรงดึงดูดของดาวอังคารมีน้อยมาก นำ้าหนักเราจะน้อยมากเมื่ออยู่บนดาวอังคาร ดังน้ันเมื่อภูเขาก่อตัวขึ้นมันจึงไม่ถูกกดลง จึงกลายเป็นภูเขาไฟขนาดมหึมาที่มันไม่ถล่มลงมา อย่างที่สามก็คือดาวอังคารไม่มีการเคลื่อนไหวของเปลือกดาว ที่ไม่เหมือนกับโลก ความร้อนและแมกมาจะยังคงอยู่ที่เดิม ทำาให้มันไหลทับถมกันไปดรื่อยๆจนกลายเป็น Super Volcano น่ันเอง ตอนน้ีเราสันนิษฐานว่าดาวอังคารไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา แต่ Olympus Mons สงบแล้วจริงๆ หรอืเป็นยักษ์ที่หลับอยู่ The European Space Agency Mars Express ได้จับภาพความละเอียดสูงที่สุดเท่าที่เคยทำาได้ เป็นภาพรอยคลื่นของลาวาบางคลื่นที่มีอายุ 115 ล้านปี แต่บางคลื่นแค่สองล้านปี ในช่วงเวลาทางธรณีวิทยาถือว่ายังใหม่มาก ซึ่งบอกได้ว่าอาจมีปฏิกิริยาของภูเขาไฟบางอย่างอยู่ ถ้าเรามองที่พื้นผิวของ Olympus Mons เราจะเห็นว่ามีรอยลาวาอยู่บริเวณน้ันซึ่งมีอุกกาบาตอยู่น้อย ดังน้ันเรารู้ว่าลาวาตรงน้ันอาจมีอายุมากที่สุดถึง 10-20 ล้านปี การปะทุยังคงมีขึ้นกระทั่งไม่นานมาน้ี หรือไม่ก็จนถึงปัจจุบันน้ีก็ได้ Olympus Mons อาจเคยผลิตลาวาจำานวนมหาศาลมาแล้ว แต่ความร้อนของมันยังน้อยเมื่อเทียบอุณหภูมิของมันกับสิ่งมหัศจรรย์อันดับสอง น่ีอาจดูเหมือนลูกบอลไฟ แต่พื้นผิวของมันคือมหาสมุทรของคลื่นพลาสมาที่ร้อนถึง 10,000 องศา ลมและการระเบิดขนาดใหญ่เท่ากับการระเบิดของ TNT หน่ึงล้านลูก สิ่งมหัศจรรย์อันดับที่สองน้ันคือเพื่อนที่ดีที่สุดของโลกของเรา มันให้ทั้งความร้อนและพลังงานแก่โลกของเรา แต่มันอาจเผาผลาญเราด้วยคลื่นและพลังงานที่อาจถึงตายได้

SURFACE OF THE SUN พื้นผิวที่ร้อนฉ่าของดวงอาทิตย์

Page 10: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

10

พื้นผิวดวงอาทิตย์มันค่อนข้างวุ่นวายโกลาหล มันเดือกปุดๆและมีฟองขึ้นมาตลอดเวลา มีก๊าซความร้อนออกมาจากข้างใน แผ่พลังงาน เย็น แล้วก็กลับเข้าไป น่ีคือการหมุนเวียนของพลังงานความร้อน เราไม่เคยดูพื้นผิวดวงอาทิตย์ใกล้ๆได้ จนกระทั่งเดี๋ยวน้ี ดาวเทียมดวงใหม่ที่สามารถจับภาพ ภาพที่ไม่เคยเกิดมาก่อนทำาให้คุณรู้สึกเหมือนอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มาก ทำาให้สามารถมองเห็นพื้นผิวของดวงอาทิตย์ที่เรียกว่า โฟโตสเฟียร์ น่ีก็คือพายุสุริยะและปรากฏการณ์รุนแรง ที่พิ้นผิวของดวงอาทิตย์น้ัน ถ้าเราสามารถไปตรงน้ันได้และปองกันตนเองได้ก็จะได้ยินเสียงที่ดังสน่ัน มีความร้อนหลายพันองศา มีพายุแม่เหล็กที่สร้างคลื่นแม่เหล็กตลอดเวลาที่พื้นผิวของดวงอาทิตย์ เมฆของพลาสมาที่หนาแน่นลอยอยู่เหนือพื้นผิวของดวงอาทิตย์ สนับสนุนด้วยพลังแม่เหล็ก บางครั้งเมฆพลาสมาเหล่าน้ีมันมีอิสระและพุ่งเข้าไปในอวกาศ ดวงอาทิตย์มีสนามแม่เหล็กที่ทรงพลังอย่างเหลือเช่ือ และบางครั้งเส้นสนามแม่เหล็กเหล่าน้ันจะเช่ือมกับจุดร้อนบนพื้นผิวของดวงอาทิตย์ เมื่อก๊าซกับพลาสมาเดือดอยู่บนดวงอาทิตย์ สนามแม่เหล็กก็จะหลุดออกมาและปล่อยพลังงานมหาศาลออกมา ดวงไฟพลาสมาขนาดใหญ่ที่ถูกปล่อยออกมาเป็นแนวโค้งตามสนามแม่เหล็กที่อยู่รอบดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์ระเบิดสามารถเกิดขึ้นพร้อมการปล่อยพลังงานของดวงอาทิตย์ ทำาให้มีแรงส่งเป็นสองเท่าเมื่อส่งพลังงานมยังโลก ์ ์NASA Solar and Heliospheric Observatory หรือ SOHO ถ่ายภาพ Coronal Mass Ejection หรือ CME ได้ ฟองขนาดยักษ์ของก๊าซร้อน ประกอบด้วยวัถุอวกาศถึงหน่ึงหมื่นล้านตัน มันถูกยิงเข้าสู่อวกาศด้วยความเร็วหลายล้านไมล์ต่อช่ัวโมง Coronal Mass Ejection หรือ CME คือพายุที่มีพลังแรงอย่างมหาศาล อาจจะใหญ่เท่ากับระเบิดฮิโรชิม่านับพันล้านลูก บางครั้งมันก็มีฟองของพลาสมามากระทบกับโลกทำาให้เกิดความงดงามของแสงเหนือที่เราเรียกว่าออโรร่า และมันก็อาจจะเป็นอันตรายต่อโลกได้ด้วย เมื่อ Coronal Mass Ejection พุ่งมายังโลก มันกระตุ้นให้เกิดพายุ GO Magnetic ฟองของอนุภาคอิออนน้ีอาจสร้างความเสียหายต่อดาวเทียมได้ ยิ่งไปกว่าน้ันมันยังเป็นอันตรายต่อนักบินอวกาศที่อยู่นอกยานอวกาศอีกด้วย CME น้ันทำาให้เกิดรังสีเอ็กซ์ ถ้าคุณอยู่นอกโลกคุณก็จะได้รับรังสี เน่ืองจากบรรยากาศของโลก

Page 11: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

11

น้ันดูดซับรังสีเอ็กซ์ส่วนใหญ่เอาไว้ บนพื้นโลกจึงไม่ได้รับผลกระทบมากนัก แต่ถ้าคุณอยู่บนเครื่องบินที่อยู่สูงขึ้นไปในช้ันบรรยากาศก็ยิ่งได้รับรังสีมากขึ้น ภาพล่าสุดที่ถ่ายได้ยำ้าเตือนว่าพื้นผิวดวงอาทิตย์มีพลังมหาศาล และอาจร้อนขึ้นในอนาคตอันใกล้ จากกิจกรรมของดวงอาทิตย์มีวงรอบ 11 ปี ในปี 2013 ดวงอาทิตย์ของเราจะไปอยู่จุดสูงสุดของวงรอบที่เรียกว่า Solar Maximum คราวน้ีพื้นผิวของดวงอาทิตย์อาจสร้างปรากฏการณ์ Perfect Storm ในอดีตดวงอาทิตย์เคยเกิดพายุสุริยะที่ทำาให้เกิดกระแสไฟฟ้าและดาวเทียมสื่อสารดับ อนาคตจะมีพายุสุริยะมากขึ้น มันอาจจะเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นก็ได้ในช่วงชีวิตของเรา สิ่งที่น่าตื่นเต้นในการศึกษาดวงอาทิตย์อย่างหน่ึงก็คือ เราพยายามเข้าใจและทำานายการเกิดพายุสุริยะที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์

แต่สิ่งหน่ึงที่พายุสุริยะไม่อาจทำาลายได้คือสิ่งมหัศจรรย์อันดับหน่ึงใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ในระบบสุริยะจักรวาล มันคือดาวเคราะห์ที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 5 หน่ึงในสิบของพื้นผิวของมันถูกปกคลุมไปด้วยนำ้าแข็งอย่างถาวร และความร้อนภายในของมันทำาให้แมกม่าครุกรุ่นมากพอที่จะทำาให้ภูเขาไฟระเบิดได้นับพันล้านปี

ว ิธ ีด ำาเน ินงาน แนวทางการดำาเน ินงาน

1. กำาหนดหัวข้อโครงงานที่สนใจ2. ศกึษาและค้นคว้าข้อมูล3. จดัทำาโครงร่างงาน4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน5. ปรับปรุงทดสอบ6. การทำาเอกสารรายงาน7. ประเมินผลงาน8. นำาเสนอโครงงาน

เคร ื่องม ือและอ ุปกรณ์ท ี่ใช ้1.คอมพิวเตอร์2.อินเตอร์เน็ต

งบประมาณ100 บาท

Page 12: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

12

ขั้นตอนและแผนดำาเน ินงาน

ล ำาดบัท ี่

ขั้นตอน สัปดาห์ท ี่ ผ ู้ร ับผ ิดชอบ

1 2 3 4 5 6 7 8 910

11

12

13

14

15

16

17

มยุรี ณฐัวุฒิ

1 คิดหัวขอ้โครงงาน

มยุรี ณฐัวุฒิ

2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล

มยุรี ณฐัวุฒิ

3 จัดทำาโครงร่างงาน

มยุรี ณฐัวุฒิ

4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน

มยุรี ณฐัวุฒิ

5 ปรับปรุงทดสอบ มยุรี ณฐัวุฒิ

6 การทำาเอกสารรายงาน

มยุรี ณฐัวุฒิ

7 ประเมินผลงาน มยุรี ณฐัวุฒิ

8 นำาเสนอโครงงาน

มยุรี ณฐัวุฒิ

ผลที่คาดว ่าจะได ้ร ับ (ผลลัพธ์ที่ตอ้งการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำาโครงงาน) ได้รู้เรื่องราวต่างเก่ียวกับระบบสุริยะจักรวาลมากยิ่งขึ้น

สถานที่ด ำาเน ินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย บ้านเอื้ออาทรป่าตัน ต.ป่าตัน อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50300

กลุ่มสาระการเร ียนร ู้ท ี่เก ี่ยวข ้อง กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ (โลกและดาราศาสตร์)

แหล่งอ ้างอ ิง (เอกสาร หรือแหล่งขอ้มูลต่าง ๆ ที่นำามาใช้การทำาโครงงาน)• http://www.dailymail.co.uk/sciencetech/article-

1302234/Jupiter-swallowed-planet-times-size-Earth-massive-collision.htm :กำาเนิดตาวพฤหัส

Page 13: มหัศจรรย์ระบบสุริยะจักรวาล(Amazing solar system)

13

• http://www.vcharkarn.com/varticle/44013 : 8 สิ่งมหัศจรรย์ของระบบสุริยะ

• http://www.anyapedia.com/2013/07/7.html : 7 สิ่งมหัศจรรย์ในระบบสุริยะจักรวาล