มโนทัศน พัฒนา...

Post on 20-Jan-2020

17 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

มโนทัศนพัฒนา:

วรรณคดรีะดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

สรุปเอกสารการเรียนรูที่ 1

หลักการวิจารณวรรณคดี

หลักเบื้องตนแหงการวิจารณวรรณคดี

นักอานที่จะเปนนักวิจารณดวยนั้น จําเปนตองมีคุณสมบัติบาง

ประการดังตอไปนี้

1. เปนผูมีนิสัยรักการอานและอานหนังสือหลายประเภท อานผลงานของนักเขียนหลายคน

2. เปนผูรูจักเปรียบเทียบเรื่องที่อานกับเรื่องอื่นๆ

3. เปนผูมีความสามารถในการเขียนหรือพูด

4. เปนผูมีความเที่ยงตรง ปราศจากอคติ

5. เปนผูมีความรูในการวิจารณแนวตางๆ

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย

การศึกษาวรรณคดีวิจารณในชวยสมัยรัชกาลที่ 1-5 จะไมใชคํา”วรรณคดีวิจารณ” ตามความหมายปจจุบัน แตจะใชในความหมายที่กวางที่สุด คือ หมายถึง “ความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณคดี”การวิจารณงานวรรณคดียุคแรกๆ จึงเปนเพียงประเมินคาผลงานของตนเอง หรือผลงานของกวีอื่นๆ ในดานความไพเราะ การใชคํา การใชฉันทลักษณ ซึ่ง เปนแนวสุนทรียภาพ และรูปแบบมากกวาจะวิจารณเนื้อหาของเรื่อง

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย (ตอ)

เมื่อถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว การวิจารณวรรณคดีก็กาวหนาจนเปนศาสตรมากขึ้น แมองคพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ เองก็ยังมีพระราชวินิจฉัยเรื่อง สนุกนิ์นึก ของกรมหลวงพิชิตปรีชากรวา “กรมหลวงพิชิตปรีชากรทําหนังสือนี้ปรารถนาจะทําอยางหนังสือโนเวล”

นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ ยังทรงพระราชวิจารณเรื่อง จดหมายเหตุความทรงจํากรมหลวงนรินทรเทวี และ พระบรมราชวินิจฉัยเรื่องกฤษณาสอนนองคําฉันท ซึ่งเปนการวิจารณเชิงประวัติ เปนตน

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย (ตอ)ตอมา พ.ศ. 2457 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรง

โปรดเกลาฯ ใหจัดตั้ง”วรรณคดีสโมสร” ขึ้น เพื่อคัดหาหนังสือดีเดนสมควรเปนแบบอยาง นับวาเปนการประเมินคาวรรณคดี และมีหนังสือถือ 10 เลม ที่ไดรับยกยองจากวรรณคดีสโมสร การวิจารณเชิงประวัตินี้ยังสืบทอดมาเรื่อย ๆ จาก ร.5 ถึง ร.6

เมื่อ ม.จ. อากาศดําเกิง เขียน ผิวขาวผิวเหลือง พระองคเจา

จุลจักรพงษก็ทรงเขียนบทวิจารณอีกครั้งหนึ่ง เปนบทวิจารณเชิงวิเคราะหโครงสราง

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย (ตอ)พ.ศ.2485 นายกรัฐมนตรี จอมพล ป.พิบูลสงคราม ก็แตงตั้ง

คณะกรรมการสงเสริมวัฒนธรรมภาษาไทยขึ้น และไดจัดตั้ง วรรณคดี

สมาคมขึ้นในคราวเดียวกัน วรรณคดีสมาคมไดออกหนังสือชื่อ

วรรณคดีสาร วารสารฉบับนี้สนับสนุนการวิจารณวรรณคดี และพระ

นิพนธของพระองคเจาวรรณไวทยากรเกี่ยวกับทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ

ของตะวันตกมาจนถึงการวิจารณแนวใหม (New Criticism) ของ ไอ.

เอ. ริชารด ทําใหการวิจารณวรรณคดีของไทยมีหลักเกณฑมากขึ้น

กวายุคสมัยกอนๆ

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย (ตอ)

ในชวงป พ.ศ. 2481 หนังสือ มหาวิทยาลัย ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดลงพิมพบทวิจารณ นวนิยายของนิสิตหลายเรื่อง เชน บทวิจารณ “ผูดี” ของ ดอกไมสด โดยนิลวรรณ ปนทอง ที่เขียนวิเคราะหองคประกอบของนวนิยายตั้งแตการวางโครงเรื่อง การสรางตัวละคร การใชบทสนทนาที่เหมาะกับตัวละคร และคุณคาในเชิ งสั่ งสอนใหขอคิดพรอม ทั้งชี้ ให เห็นขอดี และ

ขอบกพรองของเรื่องนี้อยางชัดเจน

ประวัติการวิจารณวรรณคดีไทย (ตอ)

การให รางวัลวรรณกรรมซี ไรท จะมีการวิพากษวิจารณวรรณกรรมตางๆ เหลานั้นตามวารสาร หนังสือรายปกษ รายเดือน ดูเปนการเพิ่มสีสันใหกับวงการหนังสืออยูไมนอย เปนที่นาสังเกตวา นักวิจารณจะคอนขางสนใจเรื่องสั้น หรือนวนิยายมากกวารอยกรอง ปใดที่มีการใหรางวัลนวนิยาย และเรื่องสั้นนั้น จะมีการประโคมขาว วิจารณ วิพากษ คาดเดากันอยางหนาตา อาจเปนเพราะรางวัลวรรณกรรมระดับชาตินี้อาจชวยเพิ่มยอดขายใหแกสํานักพิมพก็เปนได

สรุปเอกสารการเรียนรูที่ 2การวิจารณวรรณคดีไทย

ตามแนวทฤษฎีตะวันออก

ทฤษฎีสันสกฤต

• ทฤษฎีรส วาดวยอารมณของผูอาน

• ทฤษฎีอลังการ วาดวยความงามในการประพันธ

• ทฤษฎีคุณ วาดวยลักษณะเดนของการประพันธ

• ทฤษฎีริติ วาดวยลีลาในการประพันธ

• ทฤษฎีธวนิ วาดวยความหมายแฝงในการประพันธ

• ทฤษฎีวโกรกติ วาดวยภาษาในการประพันธ

• ทฤษฎีอนุมิติ วาดวยการอนุมานความหมายในการประพันธ

• ทฤษฎีอาจิตยะ วาดวยความเหมาะสมในการประพันธ

ทฤษฎีรส• ความซาบซึ้งในความรัก (ศฤงคารรส)

• ความสนุกสนาน (หาสยรส)

• ความสงสาร (กรุณารส)

• ความแคนเคือง (เราทรรส)

• ความชื่นชมในความกลา (วีรรส)

• ความเกรงกลัว (ภยานกรส)

• ความเบื่อระอาชิงชัง (พีภัตสรส)

• ความอัศจรรยใจ (อัทภุตรส)

• ความสงบใจ (ศานตรส)

การวิเคราะหรสจากประเภทวรรณคดี

การที่จะพิจารณาวาวรรณคดีเรื่องใดหรือประเภทใดเอื้อตอการเกิดรส

หรือไมนั้นตองดูทั้งรูปแบบและเนื้อหาเพื่อใหเขาใจจุดมุงหมายของ

ผูประพันธ

• วรรณคดีพุทธศาสนา• วรรณคดีพิธีกรรม• วรรณคดีสดุดี• วรรณคดีนิราศ• วรรณคดีบันเทิง

ทฤษฎีอลังการ

อลังการ คือ การใชถอยคําที่ไพเราะและโวหารที่มี

ความหมายลึกซึ้งใหเปนประการหนึ่งอาภรณของบทประพันธ

อลังการแบงออกไดเปน อลังการทางเสียงและความหมาย คํา

อลังการที่นี้ใชในความหมายที่แคบ ถาใชคําวา อลังการศาสตร

จะมีความหมายกวางขึน้ หมายถึงวิชาวาดวยการประพันธ

วรรณคดี จแนกได 2 ลักษณะ

– อลังการทางเสียง

– อลังการทางความหมาย

อลงัการทางเสียง

1. ยมก คือ การซ้ําพยางคทีม่ีเสียงเหมือนกันแตสื่อ

ความหมายตางกนั ในคําประพันธวรรคเดียวหรือบท

เดียวกัน

2. อนุปราส คือ การซ้ําเสียงพยัญชนะ ซึ่งอาจเปนพยัญชนะ

เดี่ยวหรือพยัญชนะซอนก็ได ในคําประพันธวรรคเดียวกัน

อลังการทางความหมาย

1.อุปมา เชน ดวงหนานางนาลกระจางดุจดวงจันทร

2. รูปกะ เชน ดวงหนาของนางคือดวงจันทร

(ลักษณะนี้ ตําราวรรณคดีไทยเรียกวา “อุปลักษณ”)

3. อติศโยกติ คือ การกลาวใหเกินความจริง เชน

จงอวดผิวเรืองรองของนางเถิด ทองจะหมองลงทันที

จงเงยหนาขึ้นมาเถิด ทองฟาจะมีดวงจันทรถึงสองดวง

(ลักษณะเชนนี้ในภาษาไทย จะตรงกับ อติพจน)

จุดประสงคที่ใชอลงัการ

• เพื่อแสดงความสามารถของตน• เพื่อแสดงความคดิหรืออารมณที่ลึกซึ้ง• เพื่อเลี่ยงการกลาวตรงๆ

ลัลลนา ศิริเจริญ(2524)

ลักษณะพิเศษหรือเอกลักษณของวรรณคดีไทย

9 ประการ

• สัมผัสสระ เชน ขาแตพระบาท พระโอรสราช

• สัมผัสพยญัชนะขามวรรค เชน เปนฤษีศีลสุทธิ ์ สืบสราง

• สัมผัสพยญัชนะเปนคูๆ เชน ธ เสด็จลงสําราญสําริทธิ์

• สรอยสลับวรรค เชน อกคอืดวงไฟรอน แลนา

เหตุเทวศจากลูกปอน แลนา

• อัพภาส เชน ระรื่นรศเรณู

• คําแผลง เชน ทววมฤคามฤเคษ ในหิมเวศหิมวันต

• คําประสม เชน พลทรงสองสิพิราษฎร

ก็บาดเนื้อบาดใจฟุน

• เลนคํา เชน ทงงรูปสัตวก็จะราง

ทงงรูปรางก็จะโรย

• กลบท เชน โมงโมกมวงไม มูกมัน

จากจิกแจงจวงจันทน จิงจอ

โหมหินหิ่งหายหัน เหียงหาด

คุยเคียมคําคูนคอ คัดคาวแคคาง

สรุปเอกสารการเรียนรูที่ 3

การวิจารณวรรณคดีตามแนวตะวนัตก

การวิจารณวรรณคดี อาจแบงออกไดเปน 3 แนว

• การวิจารณวรรณคดีในแงจิตวิทยาทั่วไป (Psychological

Approach of Literary Criticism)

• การวิจารณวรรณคดีในแงหลักแบบฉบบั (Archetyped

Approach of Literary Criticism)

• การวิจารณวรรณคดีในแงสุนทรียศาสตร

1. การวิจารณวรรณคดีในแงจิตวิทยาทั่วไป

• การวจิารณตามแนวการวิเคราะหความฝน

• การวจิารณตามแนวบุคลิกภาพและพฤตกิรรม

2. การวิจารณวรรณคดีในแงหลักแบบฉบับ• หลักแบบฉบับที่ใชสัญลักษณสากล

• หลักแบบฉบับที่ใชสัญลักษณสวนบุคคล

3. การวิจารณวรรณคดีในแงสุนทรียศาสตร

• Sense หมายถึงเนื้อหา

• Felling หมายถึงความรูสึกของผูอานที่มีตอขอความที่กลาวออกมา

• Tone หมายถึงน้ําเสียงหรือทัศนคติของผูแตงที่แสดงออกมาตอ

ผูอาน

• Intension หมายถึงจุดมุงหมายหรือความตั้งใจของผูแตงที่แสดง

ออกมาในคําประพันธ

ขอควรระวงัในการวิจารณวรรณคดี

• ความหมายสี่นัย (Four kinds of meaning)

• จินตภาพ (Imagery)

• นัยประหวดั (Irrelevant association)

• ความหมายกักตนุ (Stock response)

ขอควรระวังในการวิจารณวรรณคดี (ตอ)

• อารมณอานไหวงาย (Sentimentality)

• ปฏิกิริยาตอตาน (Inhibition)

• Doctrinal adhesions

• การยดึมัน่กับแบบแผนฉันทลักษณตามเกณฑโบราณ

(Technical presupposition

• การคาดหวังสูง (Critical preconception)

Brooks ไดพูดถึงคําที่ใชเกี่ยวกับวรรณคดี

• Imagination and Fancy (จนิตนาการและแฟนซ)ี

• Symbolism and Imagery (สัญลักษณและภาพพจน)

• Paradox and Ambiguity

สรุปเอกสารการเรยีนรูที่ 4

ปริทรรศนวรรณคดีระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

เนื้อหาวรรณคดีไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

วรรณคดีและวรรณกรรมที่กําหนดใหเรียน

• นมัสการมาตาปตคุุณ นมัสการอาจริยคุณ

• บทเสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน ตอน ขุนชางถวายฎีกา

• บทละครเรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง

• สามกก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ

• ลิลิตตะเลงพาย ตอนยุทธหัตถีและชัยชนะของไทย

• รายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี

วรรณคดีและวรรณกรรมที่เสนอใหเรียน• กาพยเหเรือ

• สามัคคีเภทคําฉันท

• นิทานเวตาล

• หัวใจชายหนุม

• ไตรภูมิพระรวง ประเภทมนุษย-สี่แผนดิน : อุตรกรุุทวีป

• โคลงนิราศนรินทร

• คัมภีรฉันทศาสตร

• โคลนติดลอ เรือ่งความนิยมเปนเสมียน

• บทละครพูดคําฉันทเรื่อง มัทนะพาธา

top related