กฎหมายปกครอง (เนติบัณฑิตย์) 1 · 2020-06-13 ·...

Post on 25-Jul-2020

2 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

กฎหมายปกครอง

นายพงษ์เดช วานิชกิตติกูล

เนื้อหาที่สำคัญ

• หลักการสำคัญ

• ลักษณะของฝ่ายปกครอง (ฝ่ายปกครองคือใคร)

• อำนาจหน้าที่ของฝ่ายปกครอง

• การกระทำของฝ่ายปกครอง

• ความรับผิดของฝ่ายปกครอง

• การควบคุมฝ่ายปกครอง

• เขตอำนาจของศาลปกครอง

• คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล

หนังสืออ้างอิง

คําอธิบายวิชากฎหมายปกครอง (ภาคทั่วไป), ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. จิรนิติ หะวานนท์ ข้อความคิดและหลักการพ้ืนฐานบางประการของกฎหมายปกครอง, ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. วรพจน์ วิศรุตพิษญ์ คําอธิบายกฎหมายปกครอง, ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. ชาญชัย แสวงศักดิ์ หลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับบริการสาธารณะ, ศาสตราจารย์ ดร. นันทวัฒน์ บรมานันท์ หลักกฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมฝ่ายปกครอง, ศาสตราจารย์ ดร. บรรเจิด สิงคะเนติ

French Administrative Law and the Common-Law World, Bernard Schwartz, New York University Press, 2006. Tradition and Change in Administrative Law an Anglo-German Comparison, Martina Kunnecke, Springer, 2007. French Law: A Comparative Approach, Second Edition, Eva Steiner, Oxford University Press, 2018. Administrative Law, Sixth Edition, William F. Funk, Richard H. Seamon, Wolters Kruwer, 2020.

ความเบื้องต้น

พัมนาการของการปกครอง

• พัฒนาการเมืองการปกครอง

• การเกิดรัฐสมัยใหม่

• อำนาจหน้าที่ของรัฐ

• หลักนิติรัฐและนิติธรรม

พัฒนาการเมืองการปกครอง

Socrates มุ่งเน้น การเมืองการปกครองทางด้าน

คุณธรรมและศีลธรรมจรรยา

Plato กล่าวถึงการจัดรูปแบบของรัฐในทางอุดมคติ

ปกครองโดยนักปราชญ์ (Republic)

Aristotle กล่าวถึงรัฐที่จัดรูปแบบทางการเมืองอย่าง

เป็นระเบียบ

รูปแบบการปกครอง

ผู้ปกครองคนเดียว อริสโตเติลเห็นว่าหากผู้ปกครองคนนั้นใช้อํานาจที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม ก็ต้องเรียกว่าเป็นการปกครองในระบอบทรราชาธิปไตย (Tyranny) แต่หากผู้ปกครองนั้นใช้อํานาจเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมก็ต้องเรียกว่าเป็นการปกครองในระบอบราชาธิปไตย (Monarchy) ปกครองโดยกลุ่มคน หากกลุ่มบุคคลผู้ปกครองนั้นใช้อํานาจเพ่ือผลประโยชน์ของพวกพ้องในกลุ่มของตนก็ต้องเรียกว่าเป็นการปกครองในระบอบคณาธิปไตย (Oligarchy) แต่หากกลุ่มบุคคลนั้นใช้อํานาจเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมเรียกว่าเป็นการปกครองในระบอบอภิชนาธิปไตย (Aristocracy) ปกครองโดยประชาชน อริสโตเติลแยกออกเป็น ๒ ประเภทด้วยกัน คือ การปกครองโดยมวลชน (Democracy) และการปกครองโดยรัฐธรรมนูญ (Polity) อริสโตเติลมองการปกครองแบบมวลชนว่าเป็นการปกครองโดยประชาชนจํานวนมากที่เป็นกลุ่มคนชั้นกรรมาชีพ ส่วนการปกครองโดยรัฐธรรมนูญนั้น อริสโตเติลเห็นว่าเป็นทางสายกลาง เพราะเป็นการเอาประชาธิปไตย (Democracy) กับคณาธิปไตย (Oligarchy) มารวมกัน คือ เป็นการปกครองโดยกลุ่มคนชั้นกลางที่มีฐานะและมีความรู้

แนวคิดการเกิดรัฐ

ทฤษฎีเทวสิทธิ์ (Divine Theory) ทฤษฎีว่าด้วยสัญญาประชาคม (Social Contract Theory) โธมัส ฮ้อบส์ (Thomas Hobbes) จอห์น ล็อค (John Locke) จัง จ๊าคส์ รุสโซ (Jean Jacques Rousseau)

รัฐสมัยใหม่

องค์ประกอบของรัฐ (ดินแดน ประชากร อธิปไตย รัฐบาล)

นโปเลียน โบนาปารท์ (Napolean Bonaparte) ก่อให้เกิด

แนวคิดชาตินิยม

อำนาจหน้าที่ของรัฐ

คุ้มครองดูแลประชาชน

ภายใน

ภายนอก

ประโยชน์สาธารณะ

อํานาจเหนือประชาชนของรัฐ

นิติรัฐ / นิติธรรม

นิติรัฐ (Legal State) มีขึ้นเพ่ือจํากัดอํานาจของรัฐหรือผู้

ปกครองให้อยู่ในขอบเขตของกฎหมาย

หลักนิติธรรม (The Rule of Law) เป็นหลักการพ้ืนฐานใน

ระบบกฎหมายอังกฤษ ในประเทศอังกฤษความคิดที่ว่ามนุษย์

ไม่ควรต้องถูกปกครองโดยมนุษย์ แต่ควรจะต้องถูกปกครอง

โดยกฎหมาย

นิติรัฐ• บรรดาการกระทำทั้งหลายขององค์กรของรัฐฝ่ายบริหารจะต้องชอบด้วยกฎหมายที่ตราขึ้นโดยองค์กรของรัฐฝ่ายนิติบัญญัติ

• บรรดากฎหมายทั้งหลายที่องค์กรของรัฐ ฝ่ายนิติบัญญัติได้ตราขึ้นจะต้องชอบด้วยรัฐธรรมนูญ

• ต้องมีองค์กรตรวจสอบความชอบด้วยกฎหมายที่เป็นอิสระ

นิติธรรม

• บุคคลทุกคนย่อมเสมอภาคกันต่อหน้ากฎหมาย

• กฎหมายจะต้องบังคับเป็นการทั่วไปกับบุคคลทุกคน ไม่เว้นแม้แต่องค์กรเจ้าหน้าที่ของรัฐ

• กฎหมายจะต้องได้รับการประกาศใช้อย่างเปิดเผย

พัฒนาการของกฎหมาย

• กฎหมายเอกชน

• กฎหมายมหาชน

• กฎหมายรัฐธรรมนูญ

• กฎหมายปกครอง

พัฒนาการของกฎหมายมหาชน

ยคุโรมนั

ยคุกลาง

ยคุปฏวิตัฝิรัง่เศส

ยคุปจัจบุนั

ประเภทของกฎหมายมหาชน กฎหมายรฐัธรรมนญู

กฎหมายปกครอง

กฎหมายรัฐธรรมนูญ

ว่าด้วยการใช้อํานาจรัฐหรืออํานาจอธิปไตย

องค์กรผู้ใช้อํานาจรัฐ อํานาจหน้าที่และความสัมพันธ์

ระหว่างองค์กรผู้ใช้อํานาจ รวมถึงความสัมพันธ์กับ

ประชาชน และหลักประกันสิทธิเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานของ

ประชาชน

กฎหมายปกครอง

ว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองหรือการบริหาร

ภายในรัฐ ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับบริการสาธารณะในด้าน

ต่าง ๆ การใช้อํานาจและการกระทําทางปกครอง และ

นิติสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายปกครองกับเอกชน ตลอดจน

การควบคุมฝ่ายปกครอง

กฎหมายปกครองเปรียบเทียบ

ประเทศฝรั่งเศส

• การปฏิวัติฝรั่งเศส

• การเกิดศาลปกครองและกฎหมายปกครอง

French Administrative Legal Doctrines

• Right to fair trial, including for internal disciplinary bodies

• Right to challenge any administrative decision before an administrative court

• Equal treatment of public service users

• Equal access to government employment

• Freedom of association

• Right to Entrepreneurship (freedom of commerce and industry)

• Right to legal certainty

ประเทศเยอรมนี• การปกครองแบบรัฐรวม

• กฎหมายปกครองเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายมหาชน

• ว่าด้วยการจัดองค์กร การปฏิบัติหน้าที่ กฎระเบียบ และคำสั่งของฝ่ายปกครอง

• กฎหมายปกครองทั่วไปและกฎหมายปกครองพิเศษ

หลักการพื้นฐาน

• Principle of the legality of the authority ห้ามกระทำการโดยปราศจากกฎหมายและห้ามกระทำการฝ่าฝืนกฎหมาย

• Principle of legal security ความแน่นอนของกฎหมายและห้ามผลย้อนหลังทางกฎหมาย

• Principle of proportionality การกระทำต้องเหมาะสม จำเป็น และได้สัดส่วน

ประเทศอังกฤษ

• หลักกฎหมายจารีตประเพณี (common law)

• หลักการว่าด้วยความสูงสุดของรัสภา

• หลักนิติธรรม

แนวคิดกฎหมายปกครอง

• แบ่งแยกหลักกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน (O'Reilly v Mackman, [1983] 2 AC 237)

• ตั้งศาลปกครองในศาลสูง (High Court) ในปี 2000

ประเทศสหรัฐอเมริกา

• การปกครองแบบรัฐรวม มี 2 ระดับ

• การแบ่งแยกอำนาจ

• Federal Agencies

Administrative Procedure Act1. to require agencies to keep the public

informed of their organization, procedures and rules;

2. to provide for public participation in the rule-making process, for instance through public commenting;

3. to establish uniform standards for the conduct of formal rule-making and adjudication;

4. to define the scope of judicial review.

วิวัฒนาการกฎหมายปกครองของประเทศไทย

แนวคิดกฎหมายปกครอง• แต่เดิมนักกฎหมายไทยเข้าใจกันว่ากฎหมายแบ่งออกเป็น ๒ สาขา คือ กฎหมายแพ่งและกฎหมายอาญา

• ตอนปลายรัชกาลที่ ๖ นักกฎหมายชาวฝรั่งเศส ๒ คน คือ ดร.ดูปลาตร์ และ ดร.เอกูต์ เริ่มอธิบายแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน

• ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ นายปรีดี พนมยงค์ ได้สอนวิชากฎหมายปกครองเป็นครั้งแรกในโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม

• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ก็ได้กำหนดให้มีการจัดตั้งศาลปกครองแยกออกต่างหากจากศาลยุติธรรมไว้ในมาตรา ๒๑๒ ว่า ศาลปกครองและศาลในสาขาแรงงาน สาขาภาษี หรือสาขาสังคม จะตั้งขึ้นได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ

• พระราชบัญญัติคณะกรรมการกฤษฎีกา พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้จัดตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ขึ้นมาพิจารณาวินิจฉัยคดีปกครองแต่มิได้เป็นศาลปกครอง

การจัดตั้งศาลปกครอง

• พ.ศ. ๒๕๓๘ ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช ๒๕๓๔ โดยได้เพิ่มเติมบทบัญญัติว่า ด้วยศาลปกครองไว้ในรัฐธรรมนูญ รัฐบาลซ่ึงมีนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบาย ต่อรัฐสภาว่า “รัฐบาลจะปรับปรุงกระบวนการอํานวยความยุติธรรมท้ังทางปกครอง ทางแพ่ง และทางอาญา ให้มี ประสิทธิภาพ รวดเร็ว เป็นธรรมและท่ัวถึง รวมทั้งพัฒนาให้ทันสมัย เป็นระบบท่ีมีความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน”

• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ บัญญัติให้มีการจัดต้ังศาลปกครองข้ึนต่างจากระบบศาลยุติธรรม

ลักษณะของหลักกฎหมายปกครอง

• บทบัญญัติเกี่ยวกับฝ่ายปกครองมีจำนวนมาก

• ไม่มีหลักกฎหมายทั่วไปหรือประมวลกฎหมายที่กำหนดว่าการกระทำใดเป็นการกระทำทางปกครองอย่างชัดเจน

• องค์กรฝ่ายปกครองอาจมอบหมายให้เอกชนดำเนินการแทน

• องค์กรฝ่ายปกครองอาจจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายแพ่ง

• การกระทำของฝ่ายปกครองบางอย่างอาจอยู่ภายใต้หลักการของกฎหมายแพ่ง

หัวข้อบรรยาย

• ฝ่ายปกครองคือใคร

• รัฐและการจัดองค์กรของรัฐ

• อำนาจหน้าที่ของฝ่ายปกครอง

• การกระทำของฝ่ายปกครอง

• ประเภทของการกระทำทางปกครอง

• ผลของการกระทำทางปกครอง

การแบ่งแยกอำนาจ The Separation of Powers

แนวคิด

• มองเตสกิเออ “เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย”

• การแบ่งหน้าที่

• การดุลและคาน

อำนาจโน้มเอนสู่การฉ้อฉล อำนาจเด็ดขาดย่อมฉ้อฉลโดยสมบูรณ์

Lord Acton

การแบ่งหน้าที่

• ฝ่ายนิติบัญญัติ (The Legislative Branch)

• ฝ่ายบริหาร (The Executive Branch)

• ฝ่ายตุลาการ (The Judicial Branch)

รัฐธรรมนูญ

ความชอบด้วยกฎหมาย

• หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดแห่งรัฐธรรมนูญ

• กฎหมายเป็นที่มาแห่งอำนาจและเป็นข้อจำกัดของฝ่ายปกครอง

หลักการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ

• ความสำคัญของสิทธิเสรีภาพ

• สิทธิมนุยชน

• หลักประกันตามรัฐธรรมนูญ

• ลำดับชั้นของกฎหมาย

มาตรา ๓  อํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อํานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ

รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล องค์กรอิสระ และหน่วยงานของรัฐ ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และหลักนิติธรรม เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม

มาตรา ๔   ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง

ปวงชนชาวไทยย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญเสมอกัน มาตรา ๕  รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎหรือข้อ

บังคับ หรือการกระทําใด ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติหรือการกระทํานั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้ เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้กระทําการนั้นหรือวินิจฉัยกรณีนั้น

ไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มาตรา ๔๑  บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ

(๑) ได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะในครอบครองของหน่วยงานของรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ

(๒) เสนอเรื่องราวร้องทุกข์ต่อหน่วยงานของรัฐและได้รับแจ้งผลการพิจารณาโดยรวดเร็ว (๓) ฟ้องหน่วยงานของรัฐให้รับผิดเนื่องจากการกระทําหรือการละเว้นการกระทําของ

ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยงานของรัฐ

กฎหมายปกครอง คือ กฎหมายรัฐธรรมนูญในทางปฏิบัติ

(Constitutional law in action or concretised constitutional law)

องค์ประกอบของรัฐ

• ดินแดน (เขตแดนที่แน่นอน)

• พลเมือง (ประชากรที่มีสัญชาติเดียวกันโดยรัฐ)

• อำนาจอธิปไตย (ความเป็นเอกราช)

• รัฐบาล (ฝ่ายบริหาร)

รัฐ (รัฐบาล) และฝ่ายปกครอง

ฝ่ายบริหาร

อํานาจหนา้ทีใ่นฐานะรฐับาล ( The Government) อนัเปน็อํานาจหนา้ทีซ่ึง่คณะรฐัมนตรใีชร้ว่มกนัอยา่งหนึง่

อํานาจหนา้ทีใ่นฐานะฝา่ยปกครอง ( The Administration ) อนัเปน็อํานาจหนา้ทีซ่ึง่นายกรฐัมนตร ีหรอืรฐัมนตรแีตล่ะคนเปน็ผูใ้ชใ้นการบรหิารงานของกระทรวงหรอืทบวงการเมอืงทีต่นเปน็ผู้ปกครองบงัคบับญัชา

อำนาจหน้าที่ในฐานะรัฐบาล

อำนาจหน้าที่ที่จะกำหนดและดำเนินนโยบายของรัฐบาล กิจการที่ฝ่ายบริหารปฏิบัติในฐานะของรัฐบาลนั้น คือ กิจการประเภทสำคัญ ๆ เกี่ยวกับการดำเนินนโยบายของรัฐบาลที่จัดทำเพื่อความดำรงอยู่ ความปลอดภัย ความเจริญ และความมั่นคงของประเทศ เช่น การวางแผนเศรษฐกิจของชาติ การทำสนธิสัญญากับต่างประเทศ การติดต่อดำเนินงานระหว่างคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาเพื่อบริหารราชการของประเทศ ฯลฯ

อำนาจหน้าที่ในฐานะฝ่ายปกครอง

อำนาจหน้าที่ในการดำเนินการที่ต้องปฏิบัติเป็นปกติธุระเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายและนโยบายที่รัฐบาลวางไว้ เป็นการปฏิบัติในรายละเอียดที่มีกลไกในทางปฏิบัติมากมายหลายประการซึ่งฝ่ายปกครองจัดทำอยู่เป็นประจำ และการปฏิบัติกิจการในทางปกครองนั้น นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแต่ละคนพร้อมด้วยข้าราชการและพนักงานตามกระทรวงทบวงการเมืองต่าง ๆ เป็นผู้ปฏิบัติ คณะรัฐมนตรีไม่จำต้องวินิจฉัยสั่งการด้วยตนเองทุกเรื่องไปเหมือนกับกิจการในหน้าที่ของรัฐบาล เว้นแต่เรื่องสำคัญที่เกี่ยวกับนโยบายซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงย่อมจะนำขึ้นเสนอขอคำวินิจฉัยจากคณะรัฐมนตรีก่อนปฏิบัติ เพราะฉะนั้นกิจการในหน้าที่ของฝ่ายปกครองรัฐบาลจึงมอบหมายให้กระทรวงและทบวงการเมืองต่าง ๆ เป็นผู้ปฏิบัติแทนโดยตลอด กิจการที่ฝ่ายบริหารปฏิบัติในฐานะของฝ่ายปกครองก็คือ กิจการต่าง ๆ ที่อยู่ในหน้าที่ของกระทรวงทบวงการเมืองต่างๆ เช่น การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การป้องกันประเทศ การสาธารณสุข การคมนาคม การเกษตร การอุตสาหกรรม การเศรษฐกิจ เป็นต้น

ความหมายของฝ่ายปกครอง

• ฝ่ายบริหาร

• ความหมายในทางควบคุม

• ความหมายในการรับผิด

ความหมายในทางควบคุม

พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ

“หน่วยงานทางปกครอง” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองหรือให้ดำเนินกิจการทางปกครอง

พ.ร.บ.จัดตั้งศาลปกครองฯ

“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า

(๑) ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง คณะบุคคล หรือผู้ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานทางปกครอง

(๒) คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท คณะกรรมการหรือบุคคลซึ่งมีกฎหมายให้อำนาจในการออกกฎ คำสั่ง หรือมติใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อบุคคล และ

(๓) บุคคลที่อยู่ในบังคับบัญชาหรือในกำกับดูแลของหน่วยงานทางปกครอง หรือเจ้าหน้าของรัฐตาม (๑) หรือ (๒)

พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙

“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใช้อำนาจหรือได้รับมอบให้ใช้อำนาจทางปกครองของรัฐในการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐหรือไม่ก็ตาม

ความหมายในการรับผิด

พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ

“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้เป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัตินี้ด้วย

พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ

“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งในฐานะเป็นกรรมการหรือฐานะอื่นใด

ความหมายอย่างกว้าง

ฝ่ายปกครอง• หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

• รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา

• หน่วยงานอื่นของรัฐ

• หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางปกครองหรือให้ดำเนินกิจการทางปกครอง

หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

• ราชการส่วนกลาง

• ราชการส่วนภูมิภาค

• ราชการส่วนท้องถิ่น

ราชการส่วนกลาง

กระทรวง (รวมถงึสำนกันายกรฐัมนตร)ี

ทบวง

กรม

สว่นราชการทีเ่รยีกชือ่อยา่งอืน่และมฐีานะเปน็กรม

กระทรวงสำนกันายกรฐัมนตร ี: นายกรฐัมนตร ี

กระทรวง : รฐัมนตรวีา่การ

รวม ๒๐ กระทรวง

ทบวง

มกีารจดัตัง้ทบวงซึง่มฐีานะเทยีบเทา่กระทรวง ๑ แหง่ คอื ทบวงมหาวทิยาลยั แตป่จัจบุนัไดถ้กูยกเลกิแลว้โดยมาตรา ๓ แหง่พระราชบญัญตัริะเบยีบบรหิารราชการกระทรวงศกึษาธกิาร พ.ศ. ๒๕๔๖ ในปจัจบุนัจงึไมม่ทีบวงซึง่มฐีานะเทยีบเทา่กระทรวง เปน็หนว่ยงานในระบบราชการสว่นกลางอกีตอ่ไป

ทบวงซึง่สงักดัสำนกันายกรฐัมนตรีหรอืกระทรวงนัน้ ไมป่รากฏวา่มกีารจดัตัง้ขึน้ในระบบราชการแตอ่ยา่งใด

กรม

สงักดัสำนกันายกรฐัมนตร ีกระทรวงหรอืทบวง

มอีำนาจหนา้ทีเ่กีย่วกบัราชการสว่นใดสว่นหนึง่ของกระทรวงหรอืทบวงตามที่กำหนดในกฎกระทรวงแบง่สว่นราชการของกรม หรอืตามกฎหมายวา่ดว้ยอำนาจหนา้ทีข่องกรมนัน้

มอีธบิดเีปน็ผูบ้งัคบับญัชาขา้ราชการและรบัผดิชอบในการปฏบิตัริาชการ

การแบง่สว่นราชการภายในกรมเปน็ไปตามกฎกระทรวง ซึง่อาจแบง่ออกเปน็ กอง สำนกั กลุม่งาน ฝา่ย แผนก ลดหลัน่กนัไปตามสายการบงัคบับญัชา

ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม

สว่นราชการทีอ่ยูใ่นสงักดัของกระทรวงหรอืทบวง

สว่นราชการทีไ่มอ่ยูใ่นสงักดัของกระทรวงหรอืทบวง

ราชการส่วนภูมิภาคจงัหวดั

อำเภอ

ตำบล

หมูบ่า้น

ราชการส่วนท้องถิ่นองคก์ารบรหิารสว่นจงัหวดั

เทศบาล

องคก์ารบรหิารสว่นตำบล

รัฐวิสาหกิจ

รัฐวิสาหกิจ เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบบริการสาธารณะทางอุตสาหกรรม

และพาณิชยกรรม (Industrial and Commercial Public Services) ซึ่งผลิต

และจําหน่ายสินค้าหรือบริการ ที่มีลักษณะเป็นการให้บริการสาธารณะและ

งานสาธารณูปโภคขนาดใหญ่หรืองานของรัฐบางด้านที่มีความสาคัญต่อ

ความมั่นคงและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ หรือ การดําเนินกิจกรรม

มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนที่รัฐยังจําเป็นต้องควบคุมและ

ดําเนินการแต่ผู้เดียว หรือเป็นงานที่ภาคเอกชน ยังไม่พร้อมที่จะะลงทุน

ดําเนินการหรือเป็นกิจการที่รัฐจําเป็นต้องแทรกแซงตลาดเพื่อให้เกิดการ

แข่งขันที่เป็นธรรมหรือให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายเฉพาะทั้งนี้เพื่อให้งานให้

บริการนั้นได้มาตรฐานทั้งในเรื่องคุณภาพ ปริมาณ ค่าใช้จ่าย และอื่น ๆ

พระราชบัญญัติการพัฒนาการกำกับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๖๒

พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑

พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑

พระราชบัญญัติการบริหารหนี้สาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๘

พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓

พระราชบัญญัติพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๑

พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๑๘

ความหมายที่กล่าวถึงส่วนใหญ่ คือ องค์การของรัฐบาลตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดตั้งองค์การของรัฐบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ กิจการของรัฐซึ่งมีกฎหมายจัดตั้งขึ้น หรือ หน่วยงานธุรกิจที่รัฐบาลเป็นเจ้าของ

รัฐวิสาหกิจ

• รัฐวิสาหกิจที่เป็นหน่วยงานทางปกครอง

• รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นหน่วยงานทางปกครอง

รัฐวิสาหกิจที่เป็นหน่วยงานทางปกครอง

รฐัวสิาหกจิทีจ่ดัตัง้ขึน้โดยพระราชบญัญตั ิ

รฐัวสิาหกจิทีจ่ดัตัง้ขึน้โดยพระราชกฤษฎกีา

รัฐวิสาหกิจที่ไม่เป็นหน่วยงานทางปกครอง

รฐัวสิาหกจิทีจ่ดัตัง้ขึน้ตามกฎหมายเอกชน

รฐัวสิาหกจิทีจ่ดัตัง้โดยระเบยีบหรอืขอ้บงัคบัของหนว่ยงานทางปกครอง

หน่วยงานอื่นของรัฐ

องค์การมหาชน หมายถึง องค์การมหาชนทั้งหลายที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษีกาออกโดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. ๒๕๔๒ องค์การมหาชนประเภทนี้เป็นหน่วยงานของรัฐที่ได้รับมอบหมายภารกิจในการจัดทำบริการสาธารณะเฉพาะด้าน หรือจัดทำให้แก่ประชาชนเฉพาะกลุ่ม

หน่วยงานอิสระของรัฐ เป็นหน่วยงานของรัฐที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดให้ตราเป็นพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติจัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่เป็นหน่วยธุรการของศาลต่าง ๆ องค์กรของรัฐที่เป็นอิสระ

กองทุนนิติบุคคล หมายถึง นิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นโดยตราเป็นพระราชบัญญัติเนื่องจากต้องการอำนาจรัฐในการบังคับฝ่ายเดียวต่อภาคเอกชนหรือประชาชนในการสมทบเงินเข้ากองทุน ทั้งนี้ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุนก็เพื่อเป็นเครื่องมือทางเศรษฐกิจของรัฐในการดำเนินบริการสาธารณะแก่ประชาชน หรือกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ หรือเพื่อการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจเฉพาะด้าน

หลกัเกณฑใ์นการพจิารณาการเปน็หนว่ยงานของรฐั

๑. ความสมัพนัธก์บัรฐั

๒. กจิกรรม

๓. งบประมาณ/รายไดข้องหนว่ยงาน การคํา้ประกนัหน้ ี

๔. สถานะของบคุลากร

๕. วธิกีารและระบบกฎหมายทีใ่ชใ้นการทํากจิกรรม

๖. ความเปน็เจา้ของและอํานาจในการบรหิารจดัการ

หน่วยงานที่ใช้อำนาจทางปกครอง

• องค์กรวิชาชีพ

• องค์การเอกชนที่ไม่ได้เป็นส่วนราชการหรือเป็นหน่วยงานของรัฐ

• รัฐวิสาหกิจที่มิได้จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือโดยพระราชกฤษฎีกา

องค์กรวิชาชีพ

ใชอ้ำนาจปกครองกำหนดคณุสมบตัขิองการประกอบวชิาชพี

อยูภ่ายใตก้ารกำกบัดแูลจากรฐัหรอืฝา่ยปกครอง

คำสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ ๑๑๙/๒๕๔๖

กรณีประธานกรรมการมรรยาททนายความมีคำสั่งรับหรือไม่รับคำกล่าวหาว่า ทนายความประพฤติผิดมรรยาททนายความเป็นคำสั่งทางปกครองตามข้อบังคับของสภาทนายความว่าด้วยการสอบสวนคดีมรรยาททนายความ พ.ศ. ๒๕๓๕ ดังนั้น สภาทนายความจึงเป็นหน่วยงานทางปกครองและการออกคำสั่งของผู้ถูกฟ้องคดีจึงเป็นการกระทำในฐานะเจ้าหน้าที่ของรัฐ

องค์การเอกชน

กรณทีีพ่ระราชบญัญตัมิอบหมายใหเ้อกชนเปน็ผูด้ำเนนิการ

กรณทีีร่ฐัวสิาหกจิตามกฎหมายเอกชนเปน็ผูด้ำเนนิการบรกิารสาธารณะ

คำวินิจฉัยชี้ขาดที่ ๓๗/๒๕๕๐

คดีนี้ จําเลยมีสถานะเป็นบริษัท กสท. โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชน จํากัด เมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๖ โดยการเปลี่ยนทุนของการสื่อสารแห่งประเทศไทยซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจตามพรบ.การสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นทุนของบริษัทที่รัฐถือหุ้นทั้งหมดตามพรบ.ทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๔๒ แม้โดยผลของกฎหมายทําให้จําเลยมีสถานะเป็นบริษัทมหาชน แต่จําเลยยังคงมีฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจประเภทหนึ่งตามมาตรา ๒๖ แห่งพรบ.ทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบพรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๒ และมีอํานาจหน้าที่เช่นเดิมที่เกี่ยวกับกิจการโทรคมนาคมและให้บริการทางด้านโทรคมนาคม จึงเป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้ใช้อํานาจ ทางปกครองหรือให้ดําเนินกิจการทางปกครองและมีฐานะเป็นหน่วยงานทางปกครองตามมาตรา ๓ แห่ง พรบ.จัดตั้งศาลปกครองฯ พ.ศ. ๒๕๔๒

top related