(collocalia fuciphagabioff.forest.ku.ac.th/pdf_file/feb_2012/15_5.pdf ·...

Post on 26-Dec-2019

2 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

พฤติกรรมการสรางรังวางไขและเลี้ยงดูลูกออนของนกแอนกนิรัง

(Collocalia fuciphaga)

ที่วัดสุทธิวาตวราราม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

นายยุทธพงค ดําศรีสุข

สาขาวิชาการจัดการสัตวปาและทุงหญา ภาควิชาชีววิทยาปาไม

คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

บทนําบทนํา

ลําดับอนุกรมวิธาน

นกแอนกินรังมีชื่อสามัญวา Edible-Nest Swiftlet

Class Aves

Order Apodifomes

Family Apodidae

Genus Collocalia

Species Collocalia fuciphaga

นิสา พงศชู. 2528. ชีววิทยาของนกแอนกินรัง (Collocalia fuciphaga (Thunburg, 1821))

ศุภลักษณ วิรัชพินทุ. 2545. นิเวศวิทยาการสืบพันธุของนกแอนรังขาว Aerodramus fuciphagus(Thunberg)

ปราโมทย ราตรี. 2546. ถิ่นที่อยูอาศัย การทํารังและการเจริญเติบโตของลูกนกของนกแอนหางสี่เหลี่ยมในบริเวณอุทยานแหงชาติหมูเกาะชาง

ภควัต โพธนาค. 2547. นิเวศวิทยาบางประการของนกแอนกินรังตะโพกขาว (Collocaliagermani Oustalet) ในอุทยานแหงชาติหมูเกาะชาง จังหวัดตราด

ตวงรตัน โพธิ์เที่ยง. 2547. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุของนกแอนกินรัง (Collocaliafuciphaga)

บทนํา (ตอ)บทนํา (ตอ)

การศึกษานกแอนกินรังในเมืองไทย

วัตถุประสงค

1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสรางรังของนกแอนกินรังตลอดระยะเวลาในการ

สรางรังไดแก การสรางรัง การผสมพันธุ การวางไข การฟกไขและการเลี้ยง

ดูลูก

2. เพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอการตายและการสูญเสียรัง

อุปกรณ

วิธีการวิธีการ

การตั้งกลองวงจรปด (CCTV)

- ทําการหาคาเฉลี่ย (Mean), สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)

1. การสรางรัง

2. การผสมพันธุ

3. การวางไขและฟกไข

4. การเลี้ยงดูลูก

5. พฤติกรรมลูกนกและพัฒนาการ

- เปรียบเทียบโดยใช T-test

วิธีการ (ตอ)วิธีการ (ตอ)

การวิเคราะหขอมูล

สถานที่ทําการศึกษา

ผลและวิจารณผลและวิจารณ

พฤติกรรมการสรางรัง

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

พฤติกรรมการสรางรัง

รัง 5 วัน รัง 10 วัน

รัง 20 วัน รัง 39 วัน

ความถี่ในการสรางรัง

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

พฤติกรรมการสรางรัง พฤติกรรมการสรางรัง

No sig. difference between 2 nests (Pair-Ttest, P = 0.229, t = 1.233, df = 25)

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

พฤติกรรมการสรางรังพฤติกรรมการสรางรัง

นกใชระยะเวลาสรางรัง 39 วัน (n = 2)

นกทั้งสองตัวชวยกันสรางรัง 26.10 ± 7.67 ครั้งตอวัน การสรางรังแตละครั้งใชเวลา 3.83 ± 0.55 นาที

ในหนึ่งวันนกใชเวลาสรางรัง 1.65 ± 0.49 ชั่วโมง

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

พฤติกรรมการผสมพันธุพฤติกรรมการผสมพันธุ

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

พฤติกรรมการผสมพันธุ

Sig. difference between 2 nests (Pair-Ttest, P = 0.006, t = 3.103, df = 17 )

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

พฤติกรรมการวางไขและฟกไข

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

พฤติกรรมการวางไขและฟกไข

- นกใชเวลาฟกไขฟองแรก 24 วัน (527 ชั่วโมง) ฟองที่สอง 23 วัน (498 ชั่วโมง) (n = 1)

-นกใชเวลาฟกไข 21.88 ± 3.88 ชั่วโมงตอวัน (n = 26)

- นกกกลูกนกจนอายุ 9 วัน

- การกกจะใชเวลา 19.15 ± 1.97 ชั่วโมงตอวัน

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

พฤติกรรมการเลี้ยงดูลูก

ผลการศึกษา (ตอ)ผลการศึกษา (ตอ)

พฤติกรรมการเลี้ยงดูลูก

การปอนอาหารการปอนอาหาร

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

พฤติกรรมการเลี้ยงดูลูก

ในแตละวันพอแมนกบินเขามาปอนอาหาร 9 ± 2.98 ครั้งตอวัน (n = 2)

ลูกนกแตละตัวไดรับการปอนอาหาร 5.57 ± 2.02 ครั้งตอวัน (n = 4) ซึ่งใกลเคียง

กับการศึกษาของศุภลักษณ (2545) ที่รายงานวานกนําอาหารมาปอนเฉลี่ย 5.35

กอนตอวัน

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

การเจริญเติบโตและพฤติกรรมของลูกนก

อายุ 1 วัน

อายุ 20 วัน อายุ 31 วัน อายุ 40 วัน

อายุ 12 วัน อายุ 5 วัน

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

ปจจัยที่สงผลตอการตายและการสูญเสียรัง

ปจจัยจากสิ่งมีชีวิต

- แมลงสาบ

- ตุกแกบาน

ผลและวิจารณ (ตอ)ผลและวิจารณ (ตอ)

ปจจัยที่สงผลตอการตายและการสูญเสียรัง

ปจจัยจากสิ่งแวดลอม

- ความชื้น

- อุณหภูมิ

1. นกแอนกินรังมีพฤติกรรมสรางรังสรางรังในชวงกลางคืนมากกวากลางวัน ในหนึ่ง

วันมีการสรางรัง 26.10 ± 7.67 ครั้ง การสรางรังแตละครั้งใชเวลา 3.83 ± 0.55 นาที

และใชเวลาในการสรางรัง 1.65 ± 0.49 ชั่วโมงตอวัน

2. นกแอนกินรังผสมพันธุบริเวณหนารัง โดยชวงเวลาที่พบมักเปนเวลากลางคืน

3. นกแอนกินรังจะชวยกันฟกไขทั้งเวลากลางวันและเวลากลางคืนโดยใชเวลาในการฟก

ไข 21.88 ± 3.88 ชั่วโมงตอวัน

สรุปสรุป

4. นกแอนกินรังจะกกลูกจนถึงอายุ 9 วัน ในแตละวันลูกนกจะไดรับการปอนอาหาร 5.57

± 2.02 ครั้งตอวัน ชวงเวลาที่นกใชปอนถี่มากสุดคือชวงเวลาเชา และเวลาเย็น โดยลูกนก

ที่ฟกออกจากไขกอนจะมีพัฒนาการและบินออกจากรังเร็วกวา

5. ลูกนกแอนกินรังแรกเกิดลําตัวยังไมมีขนปกคลุม ตาปดสนิททั้งสองขาง เมื่ออายุ 4-5 วัน

ก็เริ่มปรากฏแนวขนและลืมตาเมื่ออายุประมาณ 26 วัน บินออกจากรังเมื่ออายุ 39-48 วัน

6. ปจจัยที่มีผลตอการตายและการสูญเสียรังเกิดจาก 2 ปจจัย คือ ปจจัยจากสิ่งมีชีวิตไดแก

แมลงสาบและตุกแกบาน และปจจัยจากสิ่งแวดลอมไดแก อุณหภูมิและความชื้น

สรุป (ตอ)สรุป (ตอ)

1. การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาในชวงระยะเวลาสั้น จึงควรมีการศึกษาให

ครบระยะในรอบป และเพิ่มจํานวนตัวอยางในการศึกษาใหมากขึ้น

2. ปญหาเรื่องอุณหภูมิและความชื้น ซึ่งนาจะเปนสาเหตุที่ทําใหรังนกรวงตก

ลงมางาย

3. ปญหาเรื่อง แมลงสาบ และตุกแกบาน การจัดการสัตวพวกนี้ออกจากพระ

วิหารไดก็จะสามารถชวยใหนกมีประชากรเพิ่มขึ้น

ขอเสนอแนะขอเสนอแนะ

ขอขอบคุณขอขอบคุณ

ผศ.ดร.วิจักขณ ฉิมโฉม อาจารยที่ปรึกษาโครงงาน

ดร. นันทชัย พงษพัฒนานุรักษ

ผศ.ดร.รองลาภ สุขมาสรวง

ดร.ประทีป ดวงแค

พระสาครมุนี เจาอาวาสวัดสุทธิวาตวราราม

พระสุขสันติ ติยวํโส วนศาสตรรุนที่ 62 Wildlifer 20

คุณ ศศิธร หาสิน วนศาสตรรุนที่ 62

คุณ ยุทธภูมิ เกียรติอุมสม วนศาสตรรุนที่ 69 Wildlifer 27

นิสิตสาขาวิชาการจัดการสัตวปาและทุงหญา รุนที่ 32

top related