research methodology - king mongkut's university of ... · research methodology. 1. ......

Post on 18-Jul-2020

5 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

070115805

ระเบียบวิธีการวิจัยResearch Methodology

1

อาจารยผูสอน

• ผศ. ดร.ทิพยา จินตโกวิท

[thippaya.c@it.kmutnb.ac.th]

2

จุดมุงหมายของรายวิชา

• นักศึกษามีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับงานวิจัย

และวิธีการวิจัย

• นักศึกษาสามารถคนควา อาน และวิเคราะหงานวิจัย

ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

• นักศึกษาสามารถเขียนเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของกับ

งานวิจัย

3

การวิจัยกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา???

4

ความหมายของการวิจัย

5

การวิจัยคืออะไร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจยั

การวิจัย หมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรู โดยอาศัยระเบียบวิธทีางวิทยาศาสตร อยางมีจริยธรรม

การวิจัย = กระบวนการเสาะแสวงหาความรู + ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร + จริยธรรม

6

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจยั

•วิธีการ 4 ข้ันตอน

•ลักษณาการ 4 ขอ

7

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจัย

•วิธีการ 4 ข้ันตอน

1. ข้ันสังเกต

2. ข้ันต้ังสมมติฐาน

3. ข้ันทดสอบสมมติฐาน

4. ข้ันสรุปไปใชทั่วไป

8

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจัย

•วิธีการ 4 ข้ันตอน

1. ข้ันสังเกต

จับตาดูปรากฏการณตางๆ

เห็นปญหาอันเปนจุดเริ่มตน

เสาะแสวงหาความรูมาอธิบายหรือแกไข

9

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจัย

•วิธีการ 4 ข้ันตอน

2. ข้ันต้ังสมมติฐาน

ใชความรูที่มีอยูเดิมและความรูที่หาเพิ่มเติม

คาดคะเนคําตอบของปญหาที่พบ

10

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจัย

•วิธีการ 4 ข้ันตอน

3. ข้ันทดสอบสมมติฐาน

จัดเก็บขอมูลมาวิเคราะห

ยอมรับหรือไมยอมรับสมมติฐาน

11

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจัย

•วิธีการ 4 ข้ันตอน

4. ข้ันสรุปไปใชทั่วไป (generalization)

นําผลการทดสอบไปเผยแพรเพื่อใหเกิดประโยชนตอมนุษยชาติทั่วไป

12

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจัย

•ลักษณาการ 4 ขอ

1. ความเปนปรนัย หรือ objectivity

2. มีหลักฐาน หรือ empirical

3. มีการควบคุม หรือ control

4. มีระบบ หรือ system

13

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจัย

•ลักษณาการ 4 ขอ

1. ความเปนปรนัย หรือ objectivity

ไมนําอคติสวนตัวใสในกระบวนการเสาะแสวงหาความรู

ไมบิดเบือนขอมูล ไมบิดเบือนผลการวิเคราะห

14

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจัย

•ลักษณาการ 4 ขอ

2. มีหลักฐาน หรือ empirical

มีหลักฐานยืนยัน / สนับสนุน

พรอมที่จะใหตรวจสอบ / สอบทาน

15

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจัย

•ลักษณาการ 4 ขอ

3. มีการควบคุม หรือ control

มีการปองกันไมใหส่ิงที่ไมเกี่ยวของมาปนเปอนในกระบวนการเสาะแสวงหาความรู

16

ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร

ท่ีมา: สยบมารงานวิจัย

•ลักษณาการ 4 ขอ

4. มีระบบ หรือ system

การเสาะแสวงหาความรูตามกระบวนการตองทําอยางมีเจตนา มีข้ันตอน มีลําดับกอนหลัง

17

จุดมุงหมายทั่วไปของการวิจัย

ท่ีมา: สถิติและวิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. เพื่อใชในการทํานาย (Prediction)

2. เพื่อใชในการอธิบาย (Explanation)

3. เพื่อใชในการบรรยาย (Description)

4. เพื่อใชในการพัฒนา (Development)

18

กระบวนการวิจัย

19

กระบวนการวิจัย

ท่ีมา: Research Methods: The Basics

•What are you going to do?

•Why are you going to do it?

•How are you going to do it?

•When are you going to do it?

20

กระบวนการวิจัย

ท่ีมา: Research Methods: The Basics

ทบทวนเนื้อหา ตํารา งานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อระบุปญหา

ศึกษาปญหานั้นๆ เพื่อกําหนดปญหาวิจัย

ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของ และวิธีการวิจัยที่เกี่ยวของ

เขียนโครงรางงานวิจัย

21

กระบวนการวิจัย

ท่ีมา: Research Methods: The Basics

ศึกษาขอมูลพ้ืนฐาน งานวิจัยท่ีเกี่ยวของเพ่ิมเติม เพ่ือกําหนดปญหาวิจัยใหชัดเจนมากขึ้น

(เขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหา)

สํารวจวิธีการเก็บขอมูลและวิธีวิเคราะหขอมูล

(เขียนอธิบายเหตุผลท่ีเลือกใชวิธีการดังกลาว และอธิบายขั้นตอนของวิธีการวิจัย)

ดําเนินการเก็บขอมูลและวิเคราะหขอมูล

(เขียนรายงานผลการวิจัย อภิปรายผล และสรุป)

เผยแพรผลงานวิจัย และระบุจุดท่ีควรวิจัยตอไปในอนาคต

22

ประเภทของการวิจัย

23

ประเภทของการวิจัย

ท่ีมา: สถิติและวิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. จําแนกตามลักษณะของขอมูล

- การวิจัยเชิงปริมาณ

- การวิจัยเชิงคุณภาพ

24

ประเภทของการวิจัย

ท่ีมา: สถิติและวิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

2. จําแนกตามเปาหมายของการวิจัย

- การวิจัยพื้นฐาน

- การวิจัยประยุกต

25

ประเภทของการวิจัย

ท่ีมา: สถิติและวิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. จําแนกตามสาขาวิชา

- การวิจัยทางวิทยาศาสตร

- การวิจัยทางสังคมศาสตร

26

จรรยาบรรณนักวิจัย

27

จรรยาบรรณขอที่หน่ึงนักวิจัยตองซ่ือสัตยและมีคุณธรรมในทางวิชาการ

และการจัดการ

28

จรรยาบรรณขอทีส่องนักวิจัยตองตระหนักถึงพันธกรณีในการทาํวจิัย

ตามขอตกลงที่ทําใหกบัหนวยงานที่สนับสนุนการวิจยัและตอหนวยงานที่ตนสังกัด

29

จรรยาบรรณขอทีส่ามนักวิจัยตองมีพื้นฐานความรูในสาขาวิชาการ

ที่ทําวิจัย

30

จรรยาบรรณขอทีส่ี่นักวิจัยตองมีความรับผิดชอบตอสิ่งที่ศึกษาวิจัย

ไมวาจะเปนสิ่งทีม่ีชีวิต หรือไมมีชีวิต

31

จรรยาบรรณขอทีห่านักวิจัยตองเคารพศักด์ิศรีและสิทธิของมนุษยทีใ่ชเปน

ตัวอยางการวิจัย

32

จรรยาบรรณขอทีห่กนักวิจัยตองมีอิสระทางความคิดโดยปราศจากอคติในทุก

ขั้นตอนของการทําวิจยั

33

จรรยาบรรณขอทีเ่จด็นักวิจัยพึงนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนในทางทีช่อบ

34

จรรยาบรรณขอทีแ่ปดนักวิจัยพึงเคารพความคิดเหน็ทางวิชาการของผูอืน่

35

จรรยาบรรณขอทีเ่กานักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบตอสังคมทุกระดับ

36

การทบทวนวรรณกรรมLiterature Review

37

การทบทวนวรรณกรรม

•การทบทวนวรรณกรรม คือ “การถอยความรู” ไปเรียนรูความรูที่มีอยูแลวในอดีต

• เพ่ือปองกันไมใหเกิด “การลาหลังทางความรู” และมัวแตงมโขงหาความรูที่บรรพชนเคยหาไวใหแลว

•ควร “ปรับนาฬิกาความรู” ของตนใหเปนปจจุบันดวยการทํา Literature Review ใหเปน คือการทําอยางมีความรูวาเพ่ือใหเปนฐานใหเรา “กาวสูอนาคต”

•ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ

38

เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

•เอกสารและงานวิจัยที่มีเนื้อหาที่สัมพันธกับหัวขอเรื่องหรือประเด็นของปญหาการวิจัย – พิชิต ฤทธิ์จรูญ

39

เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

•การคนควาศึกษารวบรวมและประมวลผลงานทางวิชาการ เชน ผลงานวิจัย บทความเอกสารทางวิชาการ และตําราที่เกี่ยวของกับเรื่องหรือประเด็นที่ทําการวิจัย เพ่ือประเมินประเด็น แนวความคิด ระเบียบวิธีการวิจัย ขอสรุป ขอเสนอแนะจากผลงานวิจัยหรือเอกสารสิ่งพิมพตางๆ ที่เกี่ยวของกับหัวขอหรือประเด็นของปญหาของการวิจัย กอนที่จะลงมือทําการวิจัยของตนเองและในบางครั้งอาจมีการทบทวนเพ่ิมเติมหลังจากที่ไดลงมือทําไปบางแลว – สุชาติ ประสิทธ์ิรัฐสินธุ

40

บทความวิชาการ

• นิยาม

•การเขียนทางวิชาการซึ่งมีการกําหนดประเด็นที่ตองการอธิบาย หรือวิเคราะหอยางชัดเจน ทั้งน้ีมีการวิเคราะหประเด็นดังกลาวตามหลักวิชาการ จนสามารถสรุปผลการวิเคราะหในประเด็นน้ันได อาจเปนการนําความรูจากแหลงตางๆ มาประมวลรอยเรียงเพ่ือวิเคราะหอยางเปนระบบ โดยที่ผูเขียนแสดงทัศนะของตนไวไดอยางชัดเจนดวย

41

บทความวิชาการ

•รูปแบบ

• เปนบทความที่มีความยาวไมมากนัก

•ประกอบดวยการนําความที่แสดงเหตุผล หรือที่มาของประเด็นที่ตองการอธิบายหรือวิเคราะห กระบวนการอธิบายหรือวิเคราะหและบทสรุป

•มีการอางอิง และบรรณานุกรมที่ครบถวน สมบูรณ

42

งานวิจัย

• นิยาม

•ผลงานทางวิชาการที่เปนงานศึกษาหรืองานคนควาอยางมีระบบ ดวยวิธีวิทยาการวิจัยที่เปนที่ยอมรับในสาขาวิชาน้ันๆ และมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนเพ่ือใหไดมาซึ่งขอมูล คําตอบหรือขอสรุปรวมที่จะนําไปสูความกาวหนาทางวิชาการ หรือเอ้ือตอการนําวิชาการน้ันไปประยุกต

43

งานวิจัย

•รูปแบบ

•รายงานการวิจัย ที่มีความครบถวนสมบูรณและชัดเจนตลอดทั้งกระบวนการวิจัย อาทิ การกําหนดปญหา วัตถุประสงค สมมติฐาน การเก็บรวบรวมขอมูล การพิสูจนสมมติฐาน การวิเคราะหขอมูล การสรุปผล และใหขอเสนอแนะ การอางอิง และอ่ืนๆ

•บทความวิจัย ที่ประมวลสรุปกระบวนการวิจัยในงานวิจัยน้ัน ใหมีความกระชับและสั้น สําหรับการนําเสนอในการประชุมทางวิชาการ หรือในวารสารทางวิชาการ

44

เปาหมายของการทบทวนวรรณกรรม

•จะไดทราบวามีใครเคยทํางานวิจัยที่เกีย่วกับเรื่องที่เรากําลังศึกษา

•ทําใหไมทําวิจัยซํ้ากับผูอื่น

•ทําใหทราบอุปสรรค หรือขอบกพรอง ในการทําวิจัยในเรื่องนั้น ๆ

•ใชเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการพิจารณากําหนดขอบเขตและตัวแปรในการวิจัย

45

เปาหมายของการทบทวนวรรณกรรม

•ชวยในการกําหนดสมมติฐานการวิจัย

•ชวยในการกําหนดรูปแบบและวิธีการวจิัย

•ชวยในการเชือ่มโยงส่ิงที่คนพบในการวิจัยครั้งนี้กับที่พบจากการวจิัยที่ผานมา

46

เปาหมายของการทบทวนวรรณกรรม

•แสดงใหผูตรวจสอบโครงการรูวา ผูเสนอโครงการ

•มีความรูครบถวนแลวทั้งทฤษฎีตางๆที่เกี่ยวของ ที่สอดคลองและที่ขัดแยง

•รูครบถวนแลววา ใครทําอะไรไวบาง

• เพ่ือสรุปใหไดในตอนทายวา ดวยความรูทั้งปวงที่ปรากฏอยูน้ัน ทําใหเราเช่ือไดวาเราตองทําอะไรตอไป

47

ความสําคัญของการทบทวนวรรณกรรม

• เปนเครื่องมือเชื่อมโยงความรูทางวิชาการ ระหวางงานวิจัย และขอความรูในอดีตกับงานวิจัยท่ีกําลังทํา

• เปนบทสรุปสังเคราะหองคความรูท้ังมวลในเรื่องท่ีกําลังทํา

• เปนเครื่องมือในการแสวงหาวิธีวิจัยท่ีมีคุณภาพ

• เปนเครื่องมือบงชี้คุณภาพของงานวิจัย เชน ไมซํ้าซอน หรือ มีการเสริมสรางองคความรูใหมๆ

• เปนการลงทุนทางวิชาการของนักวิจัย

• เปนหลักฐานประกันความสําเร็จของงานวิจัย กลาวคือ มีความรูจริงในเรื่องท่ีจะทํา

48

การทบทวนวรรณกรรม

• ในการทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการวิจัย จะชวยทําให

•กําหนดปญหาของการวิจัย

•กําหนดกรอบแนวคิดในการทําวิจัย และ

•ทําใหการวิจัยมี คุณคามากยิ่งขึ้น

• เน่ืองจากสามารถใชทฤษฎี สนับสนุนและอธิบายผลที่ไดจากการวิจัยได

49

การทบทวนวรรณกรรม

• โดยรวมแลว การทบทวนวรรณกรรม ควรจะไดคําตอบตอคําถามตอไปน้ี

•“อะไร”

•“อยางไร”

•“ใคร”

•“เมื่อใด”

•“ที่ไหน”

50

ขอบกพรองที่พบมากในการทบทวนวรรณกรรม

• ทําการทบทวนวรรณกรรมอยางไมรูเปาหมาย

• ทําการทบทวนวรรณกรรมโดยการบอกผูอานวาตนเองไดอานอะไรมาบาง

• เขียนยอหนาเทากับจํานวนเอกสารท่ีอาน

• แตละยอหนาเขียนสรุปวา แตละ Paper ทําอะไร ไดอะไร โดยการลอกบางสวนของ Abstract และ Conclusion

• เขียนเรียงป พ.ศ. กันไปตามลําดับ

• ไมรู “หนาท่ี” และ “เปาหมาย” ของการทบทวนวรรณกรรม

51

การทบทวนวรรณกรรม

•การเขียนเรียงยอหนาแตละ Paper จะไมมีการสังเคราะหความสัมพันธของความรูในอดีตและไมสังเคราะหใหเห็นเปาหมายความรูในอนาคต จึงไมใชการทบทวนวรรณกรรม

52

การทบทวนวรรณกรรม

•การทบทวนวรรณกรรม คือ “การเขียนใหม” จากที่อานมาทั้งหมด

•จะตองจับเน้ือหาของทุก paper ใหหลอมเปนเรื่องเดียวกันใหได และ “เขียนใหม” จากที่อานมาทั้งหมด

53

เอกสารอางอิง

• การทบทวนวรรณกรรม, ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ

• การทบทวนวรรณกรรมสําหรับนักวิจัย, นพ.เฉวตสรร นามวาท

• การทบทวนวรรณกรรมในการวิจัย, นิรมล เมืองโสม

• การทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ, รศ.ดร.ดุษฎี โยเหลา

• คูมือปฏิบัติการทําวิจัยเบื้องตน สําหรับการทําวิจัย

54

top related