title with pictures layoutforestinfo.forest.go.th/pfd/files/fileebook/eb15.pdf1% พล...

Post on 07-Mar-2021

5 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

อนาคตอุตสาหกรรมปาไมไทย

ผศ.ดร. สาพิศ ดิลกสัมพันธคณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

การประชุมเชิงวิชาการ “มิติใหมการสงเสริมไมเศรษฐกิจเพือ่การพฒันาที่ย่ังยืน”28 ธันวาคม 2560 อาคารเทียมคมกฤส กรมปาไม

Global Gross Domestic Product: GDP• การเติบโตทางดานเศรษฐกิจจากผลิตภัณฑมวลรวมของโลก(Global GDP) ประมาณ 16 ลานลานเหรียญ ในป พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) เปน 47 ลานลานเหรียญ ในป พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) และมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นถึง 100 ลานลานเหรียญ พ.ศ. 2573 (ค.ศ. 2030)

• การเติบโตทางดานเศรษฐกิจอยางรวดเร็วของประเทศกําลังพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย

ที่มา: FAO (2009)

สถานการณและแนวโนมปริมาณการผลิตและการใชไมของโลก

3

0

1000

2000

3000

4000

5000

2508 2533 2548 2563 2573

ปริมา

ณ (ลา

น ลบ

.ม.)

ป พ.ศ.

Global wood productionsawnwood wood-based panelpaper & paperboard roundwood

0

1000

2000

3000

4000

5000

2508 2533 2548 2563 2573

ปริมา

ณ (ลา

น ลบ

.ม.)

ป พ.ศ.

Global wood consumptionsawnwood wood-based panelpaper & paperboard roundwood

สถานการณและแนวโนมปริมาณการใชไม

ของเอเชียและแปซิฟก

4

Growth in industrial pellet demand and supply

5

แนวโนมปริมาณความตองการไมในอุตสาหกรรมท่ีใชไมเปนวัตถุดิบ

0

20

40

60

80

100

120

140

2548 2559 2570 2580

66

87

112128

ปริมา

ณคว

ามตอ

งการ

ไม (ลา

น ลบ

.ม.)

ป พ.ศ.

6

มูลคาการนําเขาไมสูงสุด 90,000 ลานบาท/ปมูลคาจากการสงออกไมสูงสุด 120,000 ลานบาท/ป(มากกวา 70% เปนไมยางพารา)ปริมาณไมยังไมเพียงพอตอความตองการในปจจุบันและอนาคต

ปริมาณการใชไมในอุตสาหกรรม ป 2559 เทากับ 87 ลาน ลบ.ม. (58 ลานตัน) อุตสาหกรรมเย่ือ

กระดาษ

12% อุตสาหกรรมช้ินไมสับ

10%

อุตสาหกรรมแผนไม

ประกอบ

10%

อุตสาหกรรมไมแปรรูป

12%อุตสาหกรรมครัวเรอืน

1%

ไมเสาเข็ม

1%

พลังงานในครัวเรือน

26%

อุตสาหกรรมพลังงาน

28%

7

สถานการณและแนวโนมอุตสาหกรรมปาไมไทย

ไมแปรรูป (Hardwood) การผลิตยังอาศัยภูมิปญญาชาวบาน มีขอจํากัดเรื่องวัตถุดิบ

ไมแปรรูป

(Rubberwood)

มีวัตถุดิบมากพอ แตไมสม่ําเสมอ และบางสวนหางไกล

มีตลาดรองรับ และการแขงขันยังไมสูง

มาตรฐานการผลิตยังคอนขางตํ่า

ไมอัดและไมบาง ขอจํากัดเรื่องวัตถุดิบ

อุตสาหกรรมที่แขงขันไดในระดบัโลกตองใชเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยและตนทนุตํ่า

เฟอรนิเจอร และ

ผลิตภัณฑไม

เทคโนโลยีการผลิตเฟอรนิเจอรไมยางพารามีความทันสมัย ตลาดสงออกเฟอรนิเจอรไมยางพารามีแนวโนมเพิม่ข้ึน

การขาดแคลนวัตถุดิบเปนขอจาํกัดการขยายตัวของอุตสาหกรรมเฟอรนิเจอรไมสัก และไมมีคาอ่ืนๆ

แผนไมประกอบ

(composite boards)

การใชยางพาราเปนวัตถุดิบมีแนวโนมเพิ่มมากข้ึน

เทคโนโลยีการผลิต particle board และ fiberboard มีความทันสมัยมากข้ึน

การแขงขันดานสวนแบงการตลาด และวัตถุดิบเพิ่มสูงข้ึน

เย่ือและกระดาษ การใชกระดาษ และ paper board ทั่วโลกมีอัตราการเพิ่มข้ึนเฉล่ียรอยละ 3 (ปจจุบัน 450 ลานตันตอป)

ไมพลังงาน พลังงานในครัวเรือน

อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนตามแผนแมบทพลังงานไทย 20 ป มากกวา 3000 MW (wood biomass/liquid

fuel)

การสงออก wood pellets

ทิศทางการสงเสริมอุตสาหกรรมไมของไทย

การพัฒนาระบบและกลไกทางการตลาดไมเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มขีดความสามารถดาน

การแขงขันทั้งภายในและตางประเทศ

• การสรางตลาดกลางซื้อขายไม

• การจัดทําระบบฐานขอมูลอุตสาหกรรมท่ีใชไม

• การสงเสริมองคกรรัฐ/เอกชนใชไมจากปาปลูกภายในประเทศ

• การสงเสริมตลาดการทองเท่ียวเชิงนิเวศในสวนไมเศรษฐกิจ

• การสงเสริมตลาดไมเศรษฐกิจภายในและตางประเทศ เชน สงเสริมการจัดงานตลาด

ไมระดับประเทศและระดับภูมิภาคประจําป การจัดงานตลาดไมในตางประเทศ ฯลฯ

• การสรางตลาดซื้อขายลวงหนาไม เพื่อเปนกลไกในการกําหนดราคาของตลาด และ

สรางเสถียรภาพของราคา

ทิศทางการสงเสริมอุตสาหกรรมไมของไทย

• การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมไมเศรษฐกิจแบบครบวงจร

• การถายทอดองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมไมเศรษฐกิจสูผูประกอบการ

• การเสริมสรางเครือขายความรวมมือขององคกรภาคประชาสังคมและธุรกิจเพื่อการพัฒนาไม

เศรษฐกิจอยางมีสวนรวม เชน กลุมเครือขายผูประกอบการไมเศรษฐกิจ (ระดับจังหวัด/ภูมิภาค)

• การพัฒนาอาชีพผูประกอบการ

• การพัฒนาศักยภาพผูประกอบการอุตสาหกรรมไมเพื่อเปนผูออกแบบและผลิตสินคาเสนอ

ใหกับบริษัทที่ขายในแบรนดของตัวเอง (Original Design Manufacturer: ODM)

• การพัฒนาศักยภาพผูประกอบการอุตสาหกรรมไมเพื่อเปนผูขายสินคาที่ผลิตภายใต

แบรนดของตัวเอง (Original Brand Manufacturer: OBM)

• การพัฒนาศักยภาพผูประกอบการ SME ดานอุตสาหกรรมไม

ทิศทางการสงเสริมอุตสาหกรรมไมของไทย

•การพัฒนาระบบรับรองปาไม

•การพัฒนาวิธีปฏิบัติตามระบบมาตรฐานการรับรองดานปาไมของประเทศไทยเทียบเทามาตรฐานระดับสากล

•การเตรียมความพรอมและพัฒนาศักยภาพองคกรรับรองมาตรฐานดานปาไมและผูตรวจประเมินการรับรองปาไม

•การพัฒนาศักยภาพเกษตรกรและผูประกอบการเพื่อรับการตรวจรับรองปาไม

ขอบคุณคะ

ผศ.ดร. สาพิศ ดิลกสัมพันธsapit.d@ku.ac.th

การประชุมเชิงวิชาการ “มิติใหมการสงเสริมไมเศรษฐกิจเพือ่การพฒันาที่ย่ังยืน”28 ธันวาคม 2560 อาคารเทียมคมกฤส กรมปาไม

top related