analysis of science and technology affect the education

32
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลง ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย นายพิเชษฐ พิมพ์เจริญ นิสิตสาขาวิชาการบริหารและการจัดการการศึกษา (อุดมศึกษา) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Upload: tor-jt

Post on 21-Jun-2015

333 views

Category:

Education


0 download

DESCRIPTION

Analysis of trends and changes in science and technology affect higher education of Thailand.

TRANSCRIPT

Page 1: Analysis of science and technology affect the education

การวเิคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลง

ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา

ระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย

นายพิเชษฐ พิมพ์เจริญ

นิสิตสาขาวิชาการบริหารและการจัดการการศึกษา (อุดมศึกษา)

คณะศกึษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 2: Analysis of science and technology affect the education

ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เป็นปัจจยัสําคัญที่ส่งผล

ต่อการจ้างงาน นับตั้งแต่เทคโนโลยีที่เอือ้ต่อ

- การเพิ่มผลผลิตในภาคการเกษตร

- เทคโนโลยีที่เปน็แรงขับเคลื่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรม

- เทคโนโลยีที่เพิม่มูลค่าในภาคบริการตลอดจนเทคโนโลยีนําสมัย

ในยุคฐานความรู้ ก่อให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า “ผลิตภาพ”

(Productivity) และ “นวัตกรรม” (Innovation)

ในกระบวนการผลิตทั้งที่เป็น

สินค้าและบริการ

แผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565)

Page 3: Analysis of science and technology affect the education

นอกเหนือจากการมองภาพอนาคตทางเทคโนโลยี (Technology

foresight) แล้ว ในโลกตะวันตกมักมีนักคิดอนาคต (Futurists)

ที่มีแนวคิดต่อเทคโนโลยีที่มองไม่เห็นในวันนี้ เช่น เทคโนโลยีทาง

การแพทย์เพื่ออายุยืนยาว เทคโนโลยีเพื่อรองรับความ

เปลี่ยนแปลงทางภูมิอากาศ เทคโนโลยี ด้านพลังงานใหม่ ๆ ซึ่ง

เกี่ยวข้องกับอุดมศึกษา

Page 4: Analysis of science and technology affect the education

การพัฒนาเทคโนโลยีโดยอุดมศึกษานั้น นอกเหนือจากการวิจัยและ

พัฒนาเพื่อการตีพิมพ์บทความทางวิชาการแล้ว การทําวิจัยตาม

ความต้องการของประเทศก็เป็นประโยชน์เช่นเดียวกัน ความร่วมมือ

อย่างใกล้ชิดระหว่างอุดมศึกษากับหน่วยงานพัฒนาวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยีระดับประเทศ ซึ่งมีรอยต่อกับโจทยก์ารพัฒนา

เศรษฐกิจ สังคม และภาคเอกชนอยู่แล้ว อาทิ ความร่วมมือกับ

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต ิเป็นต้น

Page 5: Analysis of science and technology affect the education

โลกยุคสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่สาร การปฏิวัติสารสนเทศเริ่มขึ้นโดยวิวัฒนาการของวงจรรวม คอมพวิเตอร ์ระบบสื่อสารโทรคมนาคม และอินเทอร์เน็ต ก่อใหเ้กิดการจา้งงานและความมัง่คัง่ทางเศรษฐกิจ โลกยุคสารสนเทศเป็นสังคมไรพ้รมแดน การเขา้ถงึข้อมลูข่าวสารและความรู้กระทาํไดง้า่ย เทคโนโลยีแพรก่ระจายอยา่งกวา้งขวาง โดยไม่มีข้อจํากดัดา้นเวลา มนีวัตกรรมและตลาดแรงงานใหม่ ๆ ทีม่ีมูลค่าเพิ่มและมลูค่าสูง บนพื้นฐานของนวตักรรมทรัพยากรมนุษย ์และการจา้งงานของแรงงานในอนาคต ซึ่งเป็นภาพอนาคตที่สําคัญต่อการออกแบบอุดมศกึษาในปัจจุบัน

Page 6: Analysis of science and technology affect the education

การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ทั้งด้านเศรษฐกิจ

และสังคม จะอยูใ่นรูปแบบของ

- โครงการพัฒนาทางด้านสังคม (e-Society)

- โครงการพัฒนาทางด้านการศึกษา (e-Education)

- โครงการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรม (e-Industry)

- โครงการพัฒนาทางด้านพาณิชยกรรม (e-Commerce)

โดยรัฐมีบทบาทนําผ่านโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-

Government)

Page 7: Analysis of science and technology affect the education

เยาวชน นักศึกษา และบัณฑิตในอนาคต

ด้วยวิวัฒนาการหลาย ๆ ประการ เช่น ความก้าวหน้าทาง

เทคโนโลยี อิทธิพลของสื่อสารมวลชน ระบบการศึกษาและ

อุตสาหกรรมใหม ่รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของสังคม

วัฒนธรรม และความคิด ทําให้เด็ก เยาวชน และนักศึกษาในวันนี้มี

ความเปลี่ยนแปลงทั้งในมิติ การใช้ชีวิต การเรียนรู้ ครอบครัว

ตลอดจนภาวะเสี่ยงต่าง ๆ ซึง่สะท้อนถึงแนวโน้มของสังคม

ภายหลังยุคอุตสาหกรรมและความทันสมัย (Post-industrial /

Post-modern)

Page 8: Analysis of science and technology affect the education

ในขณะเดียวกัน เริ่มมีสัญญาณที่ชี้ไปในทางเปลี่ยนแปลงของ

ชีวิตการทํางานของบัณฑิตในอนาคต อาท ิการทํางานโดย

เปลี่ยนงานบ่อย ๆ การทํางานไร้สังกัด (Freelance) ความเสี่ยง

ต่อความไม่แน่นอนของรายได้ การจับคู่และเปลี่ยนคู่ผู้ร่วมงาน

เป็นต้น ซึ่งจะเปน็เหตุให้เกดิความไม่สอดคล้องกัน (Mismatch)

ระหว่างการศึกษา และทักษะอาชีพที่พึงประสงค์ในอนาคต

Page 9: Analysis of science and technology affect the education

นอกจากความเชี่ยวชาญเฉพาะศาสตร์ ต้องพัฒนา

- ทักษะการสื่อสาร

- การทํางานเป็นหมู่คณะ

- การแก้ปัญหา การรับความเสี่ยง

- การออกแบบและความสร้างสรรค์

- ความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและต่อผู้อื่น

- การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

- การบริหารจัดการตนเอง

- คุณธรรมจริยธรรม

Page 10: Analysis of science and technology affect the education

อุดมศึกษาควรส่งเสริมกิจกรรมนอกหลักสูตร เพื่อเพิ่มพื้นที่การเรียนรู้ในรูปแบบของทักษะชีวิต ทักษะสังคม (Socialization) สมรรถนะพื้นฐานที่ข้ามพ้นความรู้วิชาการ (Base line competencies) การสะสมความรู้และความสามารถเชิงบูรณาการที่ฝังตัว (Tacit knowledge and ability) ที่หาไม่ได้จากการเรียนการสอนในห้องที่ขาดปฏิสัมพันธ์โดยปรับรูปแบบและเนื้อหาให้เหมาะสมกับสภาพสังคม , การบูรณาการกิจกรรมนอกหลักสูตรและชีวิตจริงเข้ากับหลักสูตรเป็นอีกแนวทางหนึ่ง เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึก มีความท้าทายต่อนักศึกษาและต่ออาจารย์ มากกว่าการสอนจากตําราอย่างเดียว

Page 11: Analysis of science and technology affect the education

การจัดสถาบันอุดมศึกษา 4 กลุ่ม (category) คือ

: กลุ่มวิทยาลัยชุมชน (Community Colleges)

: กลุ่มมหาวิทยาลัยสี่ปี (4-year University) และมหาวิทยาลัยศิลปะศาสตร์ (Liberal Arts University)

: กลุ่มมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ีมหาวิทยาลัยเฉพาะทาง (Specialized University) มหาวิทยาลัย Comprehensive

: กลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัย (Research University) และมหาวิทยาลัยบัณฑิตศึกษา (Graduate University)

สถาบันอุดมศึกษา

Page 12: Analysis of science and technology affect the education
Page 13: Analysis of science and technology affect the education

แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศกึษา ฉบบัที ่11

(พ.ศ.2555-2559)

ในปีการศึกษา 2559 ได้ตั้งเป้าหมายการผลิตบัณฑิต โดยมี

สัดส่วนการรับนักศึกษาในกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี :

วิทยาศาสตร์สุขภาพ : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

เป็น 40 : 10 : 50 เท่ากับ 235,412 : 58,853 : 294,266 คน

ซึ่งสอดคล้องกับกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2

(พ.ศ.2551 -2565)

Page 14: Analysis of science and technology affect the education

แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับท ี10 มีเป้าหมายเชิง

ยุทธศาสตร์ มีสาระสําคัญ คือ มีผู้เข้าเรียนอุดมศึกษาของประเทศไม่

น้อยกว่าร้อยละ 37 ของประชากรวัย 18-24 ปี เพิ่มสัดส่วนผู้เข้า

ศึกษาอุดมศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี:ด้านมนุษย์ศาสตร์

และสังคมศาสตร์จากเดิม 28 : 72 เป็น 33 : 67

Page 15: Analysis of science and technology affect the education

เป้าหมายการรับนักศึกษาเข้าใหม่

Page 16: Analysis of science and technology affect the education

ประมาณการจํานวนผู้สําเร็จการศึกษา

Page 17: Analysis of science and technology affect the education

โครงสร้างพื้นฐานด้านไอซีทีในสถานศึกษา

Page 18: Analysis of science and technology affect the education
Page 19: Analysis of science and technology affect the education

การใช้ไอซีทีเป็นฐานในการเรียนรู้

Page 20: Analysis of science and technology affect the education
Page 21: Analysis of science and technology affect the education

ด้านหลักสูตรไอซีที

Page 22: Analysis of science and technology affect the education

การพัฒนาบุคลากรไอซีที

Page 23: Analysis of science and technology affect the education

งานวิจัยด้านไอซีที

Page 24: Analysis of science and technology affect the education

ภาครัฐควรให้การสนับสนุน/ช่วยเหลือ

• จัดสรรคอมพวิเตอร์และอุปกรณ์ใหส้ถานศึกษามากขึ้น

• สนับสนุนโปรแกรมต่าง ๆ

• พัฒนาบุคลากรให้มีความชํานาญด้านไอซีที

• บรรจุอาจารย์ จนท. ด้านไอซีทีโดยตรง

• สนับสนุน ส่งเสริม ทนุการวิจัยด้านไอซีที

Page 25: Analysis of science and technology affect the education

ความต้องการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาประเทศ

• สาขาเกษตร

• สาขาอุตสาหกรรมการ

ผลิต

• สาขาการบริการและการ

พาณิชย์

• สาขาการศึกษา วฒันธรรม สุขอนามัยและสวัสดิการ

• สาขาสิ่งแวดล้อม

• สาขาพลังงาน

• สาชาสื่อสารและโทรคมนาคม

ข้อมลูจาก สวทช.

Page 26: Analysis of science and technology affect the education

ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนากําลังคน

ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

“ไม่มปีระเทศใดเลยที่สามารถพฒันาความสามารถทาง

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยั่งยืนได้ โดยที่ไม่สามารถผลิต

นักวทิยาศาสตร์ที่มีคณุภาพและในปรมิาณที่เพียงพอ และไม่

สามารถผลิตบุคลากรในอาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้องที่มีคณุภาพได้”

Page 27: Analysis of science and technology affect the education

เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาของอุดมศึกษา

Page 28: Analysis of science and technology affect the education
Page 29: Analysis of science and technology affect the education
Page 30: Analysis of science and technology affect the education
Page 31: Analysis of science and technology affect the education
Page 32: Analysis of science and technology affect the education

บรรณานุกรม• กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565) สํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

• แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) สํานกังาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

• นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแหง่ชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2555-

2564)

• สํานักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา สืบค้นทาง http://www.uni.net.th/

• สํารวจการมีการใช้เทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารในสถานศึกษา พ.ศ. 2551

สํานักงานสถิติแหง่ชาติ กระทรวงเทคโนโลยสีารสนเทศและการสือ่สาร

• วิสัยทศัน์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยไีทย สถานภาพและยทุธศาสตร์ (ฉบับสมบูรณ)์

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแีหง่ชาติ กระทรวงวทิยาศาสตร์ เทคโนโลยี

และสิง่แวดล้อม