bcm revised

23
.. มารวย ส่งทานินทร์ 27 มกราคม 2557

Upload: maruay-songtanin

Post on 28-May-2015

100 views

Category:

Business


0 download

DESCRIPTION

Business Continuity Management (BCM)

TRANSCRIPT

Page 1: BCM revised

พ.อ. มารวย สง่ทานินทร ์

27 มกราคม 2557

Page 2: BCM revised
Page 3: BCM revised

Business Continuity Management คือ “กระบวนการบริหารจดัการ

ธุรกิจแบบองคร์วม โดยมีการระบุผลกระทบที่อาจเป็นภยัคกุคาม

ตอ่องคก์ร และมีกรอบในการสรา้งความอ่อนตวัและขีด

ความสามารถในการตอบสนองที่มีประสิทธิภาพ เพื่อปกป้อง

ผลประโยชนใ์หก้บัผูมี้สว่นไดส้ว่นเสียท่ีส าคญั รวมทั้งช่ือเสียง

ตราสินคา้ และกิจกรรมในการสรา้งคณุค่าขององคก์ร

ส่วน ความยืดหยุน่ทางดจิติอล (Digital Resilience) หมายถึง

ความสามารถ ความทนทาน หรอืการฟ้ืนตวั ท่ีมีตอ่ภยัคกุคามท่ีท า

ใหร้ะบบดิจติอลขององคก์รเกิดความลม้เหลว ”

Page 4: BCM revised

ขั้นตอนทัว่ ๆ ไปภาพรวมของการบรหิารความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ

(BCM) แบ่งไดเ้ป็น 4 ขั้นตอนใหญ ่ๆ คือ

1. การเริม่ตน้และใหค้ านิยามใหม่ (Initiation and Redefinition)

2. การวางแผนความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ (Planning for Business

Continuity)

3. การน าแผนไปปฏิบตั ิ(Implementation)

4. การบรหิารการปฏิบตักิาร (Operational Management)

Page 5: BCM revised

1. การเริ่มตน้และใหค้ านิยามใหม่

เป็นขั้นของการทบทวนและประเมินความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ ที่

ผูน้ าระดบัสูงมีความตระหนกัถึงภยัคกุคาม โดยมีการก าหนด

นโยบาย ระบุโครงสรา้งทีมงานตา่ง ๆ การจดัสรรทรพัยากร การ

จดัท าโครงการ และมีกลไกการทบทวนตรวจสอบ

องคก์รมีการก าหนดวตัถปุระสงคแ์ละขอบเขตของความตอ่เน่ือง

ทางธุรกิจ ซ่ึงเป็นการเปล่ียนแนวคิดของบุคลากรจากการฟ้ืนฟู

สภาพ มาเป็นการฟ้ืนฟูและการป้องกนั

Page 6: BCM revised

2. การวางแผนความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ

จดุส าคญัหรือหวัใจของขั้นตอนน้ีคือ การวิเคราะหผ์ลกระทบท่ีมี

ตอ่ธุรกิจ (Business Impact Analysis: BIA) โดยการวิเคราะหท์ั้ง

ปัจจยัภายนอกและปัจจยัภายใน

ผลจากการวิเคราะหจ์ะน ามาใชใ้นการสรา้งแผนการบริหารธุรกิจ

อยา่งตอ่เน่ืองตอ่ไป โดยจะมีการตั้งวตัถุประสงค ์การประเมิน

ความเสี่ยง การจดัล าดบัความส าคญั การจ าลองสถานการณท์ี่

อาจเกิดข้ึน และการสรา้งแผนรองรบั

Page 7: BCM revised
Page 8: BCM revised

แผนงานท่ีเป็นแนวทางปฏิบตักิารในการบริหารความตอ่เน่ือง

ทางธุรกิจ มี 4 องคป์ระกอบคือ

1. แผนงานเม่ือเกิดเหตกุารณวิ์กฤต เป็นคู่มือหรือแนวทางปฏิบตัิ

2. รายการที่ตอ้งปฏิบตั ิเป็นแนวทางการรายงานตามล าดบัขั้น

3. ระยะเวลาการฟ้ืนฟู เป็นรายการท่ีตอ้งท า โดยมีการจบัเวลาตั้งแต่

เกิดเหตกุารณ ์

4. การปฏิบตัตินของแผนในระดบัแผนกตา่ง ๆ ตามแผนกลยุทธข์อง

การฟ้ืนฟู

Page 9: BCM revised

3. การน าแผนไปปฏิบตั ิ

การท าใหแ้ผนการหรอืแนวทางการบรหิารความตอ่เน่ืองทาง

ธุรกิจไปใชป้ระโยชน ์เพ่ือใหฝั้งตวัอยูใ่นเน้ือของการปฏิบตังิาน

ประจ า มี 2 แนวทางใหญ ่ๆ คือ

ตามโครงสรา้งองคก์ร ที่มีสายการบงัคบับญัชา การควบคมุ

และการสื่อสารที่ชดัเจน

ตามภาพแวดลอ้มขององคก์รท่ีเอ้ือตอ่การปฏิบตั ิคือ การ

สื่อสาร วฒันธรรมองคก์ร การควบคุม การใหร้างวลั และการ

ฝึกอบรม

Page 10: BCM revised

4. การบริหารการปฏิบตักิาร

เป็นการทดสอบ และการบรหิารเหตกุารณ ์

การท่ีจะจดัการกบัเหตกุารณไ์ดด้ีข้ึนกบัการส่ือสารตามล าดบัขั้น

ที่ลงตวัพอดี เวลาเป็นสิ่งส าคญั โดยเฉพาะ 24 ชัว่โมงแรก ว่าจะ

จดัการเหตกุารณไ์ดด้ีเพียงไร

Page 11: BCM revised
Page 12: BCM revised

โครงสรา้งการบงัคบับญัชาในการบริการความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ

ที่แนะน าแบ่งเป็น 3 ระดบั เพ่ือใหส้ายการบงัคบับญัชาสั้น แต่

สามารถน าไปดดัแปลงใชไ้ด ้ซ่ึงข้ึนกบัขนาดขององคก์ร คือ

ระดบัทอง (ดา้นกลยุทธ)์

ระดบัเงิน (ดา้นกลวิธี)

ระดบัทองแดง (ดา้นปฏิบตักิาร)

Page 13: BCM revised

ระดบัทอง (ดา้นกลยุทธ)์ เป็นระดบัของผูบ้ริหารสูงสุดขององคก์ร มีหนา้ท่ี

ควบคุมกลยุทธ ์การใหข่้าวกบัสื่อมวลชน และตดิตอ่ส่ือสารกบัผูมี้ส่วนได้

ส่วนเสีย จะไม่ลงมายุง่กบัรายระเอียดของการจดัการเหตกุารณวิ์กฤต

ระดบัเงิน (ดา้นกลวิธี) เป็นศูนยป์ระสานงาน มีหวัหนา้ศูนยป์ระสานงาน

เป็นผูร้บัผิดชอบ เป็นผูอ้อกแบบกลวิธีในการรบัมือกบัเหตกุารณวิ์กฤต

จดัสรรทรพัยากรใหก้บัทีมงานปฏิบตักิารตา่ง ๆ และเป็นผูอ้อกค าสัง่เม่ือ

เกิดเหตกุารณวิ์กฤต

ระดบัทองแดง (ดา้นปฏิบตักิาร) เป็นผูป้ฏิบตัใินดา่นหนา้ ท่ีเม่ือพบ

เหตกุารณวิ์กฤตแลว้ จะตอ้งรายงานใหก้บัหวัหนา้ศูนยป์ระสานงานไดร้บั

ทราบ และเป็นผูล้งมือปฏิบตัิการเม่ือเกิดเหตกุารณข้ึ์นจริง

Page 14: BCM revised
Page 15: BCM revised

การทดสอบแผนการบรหิารความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ

เป็นการท าแผนใหท้นัสมยัอยูเ่สมอ เพื่อใหมี้การรบัมือกบั

เหตกุารณวิ์กฤตไดด้ีที่สุด เพื่อการตอบสนองที่ถูกตอ้งและมี

ความปลอดภยั และเพื่อใหแ้น่ใจว่าสามารถด าเนินการตอ่เน่ือง

ทางธุรกิจไดต้ามแผนที่วางไว ้

การฝึกซอ้มแผนมีทั้งแบบแจง้ล่วงหนา้และไม่ไดแ้จง้ล่วงหนา้

การทดสอบโดยแจง้ล่วงหนา้สามารถท าไดบ้่อยกว่า ส่วนการ

ทดสอบโดยไม่แจง้ล่วงหนา้ใหร้ะวงัการเกิดความเขา้ใจผิดของผู ้

มีสว่นไดส้ว่นเสีย เพราะอาจคิดว่าเกิดเหตกุารณข้ึ์นจรงิจนกว่าจะ

ทราบว่าเป็นแค่การซอ้ม

Page 16: BCM revised

รูปแบบของการทดสอบแผนท่ีวางไวมี้วิธีปฏิบตัดิงัน้ี คือ

1. การทดสอบบนโตะ๊ (desk check) เป็นการตรวจเอกสาร เพื่อ

ตรวจความเป็นปัจจบุนัที่สุด ไม่ว่าจะเป็นบุคคลท่ีมีรายช่ือในแผน

เบอรโ์ทรศพัท ์หรอื หน่วยปฏิบตักิาร ว่ายงัคงมีอยูจ่ริง เป็น

วิธีการที่นิยมใชม้ากที่สุด

2. การตรวจสถานที่ (walk-through or talk-through) ยงัเป็นการ

ตรวจเอกสาร โดยตรวจผูท้ี่มีส่วนเก่ียวขอ้งจรงิ ในสถานที่จริง ทุก

คนมาแสดงบทบาทท่ีตนเองรบัผิดชอบ มีการจบัเวลา และ

ทดสอบระบบการรายงาน

Page 17: BCM revised

3. การจ าลองสถานการณ ์(simulation exercise) มีผูท้ี่เก่ียวขอ้ง

เพ่ิมข้ึนเพ่ือศึกษาการบูรณาการของแผนตา่ง ๆ และหน่วยงานที่

เก่ียวขอ้งในการฟ้ืนฟู เริม่จบัเวลาตั้งแตช่ัว่โมงที่ 0 ถึงชัว่โมงท่ี

72 หรือมากกว่า แตย่น่ยอ่เวลาเหลือ 1 ใน 4 โดยไม่จ าเป็นตอ้ง

ท าไดส้มบูรณ ์แตรู่ว่้าจะตอ้งท าอะไร อยา่งไร

4. การทดสอบหนา้ที่หรือการปฏิบตักิาร (function or operational

testing) เป็นทดสอบแบบจ ากดัวงแค่ 1 หรือ 2 แผนก โดย

สถานที่เดิมจะถูกปิดลง แลว้ใหบุ้คลากรไปฟ้ืนฟูในสถานท่ีใหม่ท่ี

ก าหนด เพื่อทดสอบการท าหนา้ที่ของแผนกตา่ง ๆ ว่าสามารถท า

ไดต้ามที่ก าหนดหรอืไม่

Page 18: BCM revised

5. การทดสอบเตม็รูปแบบ (full or live exercise) เป็นการ

ทดสอบที่โดยมากจะท าปีละครั้ง หรือปีละ 2 ครั้งเทา่นั้น เพราะ

ตอ้งลงทุนมากและไม่มีการแจง้ล่วงหนา้ เพื่อทดสอบความ

เช่ือมโยงของแผนงานที่วางไว ้เพราะระยะเวลาการฟ้ืนฟูของ

แผนกตา่ง ๆ จะมีความเรง่ดว่นไม่เท่ากนั

Page 19: BCM revised

ภายหลงัการทดสอบแผน จะมีการประเมิน เพ่ือดปูระสิทธิภาพ

ของแผน บุคลากรไดท้ าตามแผนหรอืแตกตา่งออกไป จุดใดที่

เกิดความลา่ชา้ บุคลากรท าหนา้ที่ไดด้ีหรอืไม่ มีการปฏิบตัไิด้

ตามคาดหวงัหรือไม่ มีอะไรตอ้งปรบัเปล่ียน และจะท าใหด้ีข้ึนได้

อยา่งไร

Page 20: BCM revised

เอกสารทีใ่ชใ้นการบริหารความตอ่เน่ืองทางธุรกิจเป็นสิ่งท่ีไม่

หยุดน่ิง ควรมีการปรบัปรุงแกไ้ข มิฉะนั้นจะกลายเป็นการลงทุน

ที่สูญเปล่า ไม่ควรท าเป็นแค่โครงการเทา่นั้น แตค่วรท าเป็นส่ิง

ปกตขิององคก์ร

Page 21: BCM revised

การบริหารความตอ่เน่ืองทางธุรกิจ มีวิวฒันาการจากการเตรยีม

ความพรอ้มเพ่ือความตอ่เน่ืองของระบบสารสนเทศ แลว้ขยายตวั

สูป่ฏิบตักิารอื่น ๆ เพื่อใชใ้นการเพิ่มคุณค่าใหก้บัองคก์ร และ

ตอ่มาถือว่าเป็นความสามารถขององคก์รในการไดเ้ปรยีบในการ

แข่งขนั คือ มีความสามารถในการป้องกนั และความสามารถใน

การฟ้ืนฟูจากภยัพิบตั ิ

Page 22: BCM revised

Japanese Proverb

Page 23: BCM revised