bio diesel

18
น้ํามันไบโอดีเซล คืออะไร ไบโอดีเซลเปนเชื้อเพลิงเหลวที่ผลิตไดจาก น้ํามันพืชและไขมันสัตว เชน ปาลม มะพราว ถั่วเหลือง ทานตะวัน เมล็ดเรพ (rape seed ) สบูดํา หรือ น้ํามันพืช น้ํามันสัตว ที่ผานการใชงานแลว นํามาทําปฏิกิริยาทางเคมี transesterification รวมกับเมทานอล หรือ เอทานอลจนเกิดเปนสารเอสเตอรที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกับน้ํามัน ดีเซล เรียกวา ไบโอดีเซล (B100) ซึ่งเมื่อนํามาผสมกับน้ํามันดีเซลเกรดที่ใชกันในปจจุบันในสัดสวนรอยละ 5- 10 (B5-B10) จะสามารถนํามาใชงานในเครื่องยนตดีเซลไดเปนอยางดี โดยไมตองดัดแปลงเครื่องยนต นอกจากนี้ยังไดกลีเซอรอลและกรดไขมัน เปนผลพลอยได ซึ่งปฏิกิริยาทางเคมีที่เกิดขึ้นสามารถแสดงไดดังนีปฏิกิริยา TRANSESTERIFICATION วัตถุดิบที่ใชผลิตไบโอดีเซล ไบโอดีเซลเปนเชื้อเพลิงเหลวที่ผลิตไดจาก น้ํามันพืชและไขมันสัตว เชน ปาลม มะพราว ถั่วเหลือง ทานตะวัน เมล็ดเรพ (rape seed ) สบูดํา หรือ น้ํามันพืช น้ํามันสัตว ที่ใชแลว ซึ่งพืชน้ํามันเหลานี้เปนแหลงทรัพยากร ทีสามารถผลิตทดแทนไดในธรรมชาติ เมล็ดเรพ มีลักษณะเปนเม็ดเล็กๆ เหมือนเมล็ดงา เปนพืชลมลุกประเภทวัชพืชที่พบอยูทั่วไปในทวีปยุโรป มีชื่อ วิทยาศาสตรวา Brassica napus ในป ..2525 ไดมีการริเริ่มคิดคนกระบวนการ Trans-Esterification โดยใช เมล็ดเรพ ที่สถาบัน Institute of Organic Chemistry, Graz, Austria และไดรับการยอมรับจากผูใชรถเปนอยางดี ปจจุบันเมล็ดเรฟเปนวัตถุดิบที่ใชในอุตสาหกรรมการผลิตไบโอดีเซลมากที่สุดในยุโรป คือ มีสวนแบงในการ ผลิตถึงรอยละ 80 ของวัตถุดิบอื่นๆ ทั้งหมด ซึ่งประเทศเยอรมันถือไดวาเปนทั้งผูนําในการนําไบโอดีเซลมาใช แทนน้ํามันดีเซลและเปนผูนําทางดานเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซลโดยใชวัตถุดิบจากเมล็ดเรพ นอกจากนี้ยัง

Upload: vinz-primo

Post on 02-Nov-2014

992 views

Category:

Education


3 download

DESCRIPTION

เฉพาะกลุ่ม ของ มิวสิกครับ...

TRANSCRIPT

Page 1: Bio diesel

น้ํามันไบโอดีเซล คืออะไร ไบโอดีเซลเปนเช้ือเพลิงเหลวท่ีผลิตไดจาก น้ํามันพืชและไขมันสัตว เชน ปาลม มะพราว ถ่ัวเหลือง ทานตะวัน เมล็ดเรพ (rape seed ) สบูดํา หรือ น้ํามันพชื น้ํามันสัตว ท่ีผานการใชงานแลว นํามาทําปฏิกิริยาทางเคมี transesterification รวมกับเมทานอล หรือ เอทานอลจนเกดิเปนสารเอสเตอรท่ีมีคุณสมบัติใกลเคียงกบัน้ํามันดีเซล เรียกวา ไบโอดีเซล (B100) ซ่ึงเม่ือนาํมาผสมกับน้ํามันดีเซลเกรดที่ใชกันในปจจุบันในสัดสวนรอยละ 5- 10 (B5-B10) จะสามารถนํามาใชงานในเคร่ืองยนตดีเซลไดเปนอยางด ีโดยไมตองดดัแปลงเคร่ืองยนต นอกจากนี้ยังไดกลีเซอรอลและกรดไขมัน เปนผลพลอยได ซ่ึงปฏิกิริยาทางเคมีท่ีเกิดข้ึนสามารถแสดงไดดังนี ้

ปฏิกิริยา TRANSESTERIFICATION

วัตถุดบิท่ีใชผลิตไบโอดีเซล ไบโอดีเซลเปนเช้ือเพลิงเหลวท่ีผลิตไดจาก น้ํามันพืชและไขมันสัตว เชน ปาลม มะพราว ถ่ัวเหลือง ทานตะวัน เมล็ดเรพ (rape seed ) สบูดํา หรือ น้ํามันพชื น้ํามันสัตว ท่ีใชแลว ซ่ึงพชืน้ํามันเหลานีเ้ปนแหลงทรัพยากร ท่ีสามารถผลิตทดแทนไดในธรรมชาติ เมล็ดเรพ มีลักษณะเปนเม็ดเล็กๆ เหมือนเมล็ดงา เปนพืชลมลุกประเภทวัชพืชท่ีพบอยูท่ัวไปในทวีปยุโรป มีช่ือวิทยาศาสตรวา Brassica napus ในป พ.ศ.2525 ไดมีการริเร่ิมคิดคนกระบวนการ Trans-Esterification โดยใชเมล็ดเรพ ท่ีสถาบัน Institute of Organic Chemistry, Graz, Austria และไดรับการยอมรับจากผูใชรถเปนอยางด ีปจจุบันเมล็ดเรฟเปนวัตถุดบิท่ีใชในอุตสาหกรรมการผลิตไบโอดีเซลมากท่ีสุดในยโุรป คือ มีสวนแบงในการผลิตถึงรอยละ 80 ของวัตถุดบิอ่ืนๆ ท้ังหมด ซ่ึงประเทศเยอรมันถือไดวาเปนท้ังผูนําในการนําไบโอดีเซลมาใชแทนน้ํามันดีเซลและเปนผูนําทางดานเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซลโดยใชวัตถุดิบจากเมล็ดเรพ นอกจากนี้ยัง

Page 2: Bio diesel

มีประเทศผรั่งเศส และสเปน ท่ีใชเมล็ดเรพและทานตะวนัเปนวัตถุดิบเชนกัน

ถ่ัวเหลือง เปนพืชน้ํามันท่ีนิยมใชเปนวตัถุดิบเพื่อผลิตไบโอดีเซลมากท่ีสุดในสหรัฐอเมริกา ซ่ึงมีปริมาณการผลิตถ่ัวเหลืองสูงถึงกวา 30 ลานตันตอป นอกจากนี้ยังมีประเทศอิตาลีซ่ึงนิยมใชถ่ัวเหลืองในการผลิตไบโอดีเซล ปาลมน้ํามัน เปนพืชน้ํามันท่ีนิยมใชเปนวตัถุดิบหลักในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยขณะน้ี เนื่องจากเปนพืชท่ีมีศักยภาพในการนํามาผลิตเปนเช้ือเพลิงสูงกวาพืชน้ํามันชนิดอ่ืน คือมีตนทุนการผลิตตํ่า ใหผลผลิตตอพื้นท่ีสูง โดยปาลมน้ํามันใหผลผลิตน้ํามันตอไรสูงกวาเมล็ดเรฟ ซ่ึงใชเปนวัตถุดบิหลักในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศแถบยโุรปถึง 5 เทา และสูงกวาถ่ัวเหลืองท่ีใชกันมากในสหรัฐอเมริกาถึง 10 เทา เนื่องจากปาลมน้ํามันเปนพืชยนืตน ทนตอผลกระทบจากภยัธรรมชาติ อีกท้ังสามารถเก็บเกีย่วผลผลิตไดนานถึง 20 ป จึงทําใหความตองการน้ํามันปาลมดบิในประเทศเพ่ิมข้ึนอีกเปนจํานวนมากในอนาคตอันใกลนี ้ซ่ึงประเทศท่ีมีการปลูกปาลมน้ํามันมากท่ีสุดคือประเทศมาเลเซีย สําหรับความคุมคาในการเพาะปลูกปาลมน้ํามันนัน้ จากขอมูลของกระทรวงเกษตรและสหกรณการเกษตร พบวาโดยเฉล่ียการเพาะปลูกปาลมน้ํามันมีผลตอบแทนกําไรตอไร สูงถึงประมาณ 4,000 บาทตอป จึงมีการสงเสริมใหเกษตรกรมกีารปลูกปาลมพันธุดี ทดแทนพืชอ่ืนๆ ท่ีมีรายไดตํ่ากวา

รัฐไดดําเนินการสํารวจพื้นท่ีเพาะปลูกปาลมท่ีเหมาะสมทั้งภาคใตและภาคอีสาน รวมท้ังมีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ และใหความรูเกีย่วกับเทคโนโลยีการเพาะปลูกแกเกษตรกร โดยพื้นท่ีเพาะปลูกสวนใหญจะอยูในพืน้ท่ีภาคใตต้ังแตจงัหวัดประจวบคีรีขันธลงไป ในปจจบัุนจงัหวัดกระบ่ีมีพื้นท่ีเพาะปลูกปาลมน้ํามันมากท่ีสุดในประเทศไทย คือ ประมาณ รอยละ40 ของพื้นท่ีเพาะปลูกปาลมน้ํามันท้ังประเทศ รองลงมาคือ สุราษฎรธานี และ ชุมพร อยางไรก็ตามไดมีการทดลองปลูกปาลมน้ํามันในภาคกลาง เชน โครงการพัฒนาทุงรังสิต ซ่ึงพบวาสามารถใหผลผลิตไดเม่ือสวนปาลมมีอายุประมาณ 28 เดือน

Page 3: Bio diesel

สบูดํา เปนพืชน้ํามันอยางหนึ่งท่ีภาครัฐมีนโยบายสงเสริมใหปลูกเปนวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลชุมชน เนื่องจากเปนพืชท่ีเพาะปลูกงายไมตองดูแลมาก ทนตอสภาพแลงและน้ําทวมทําใหปลูกไดในพื้นท่ีท่ัวทุกภาคแมแตในพื้นท่ีท่ีใชประโยชนทางการเกษตรไดนอย สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตไดภายในหนึ่งปหลังปลูก และมีอายุยืนกวา 30 ป อีกท้ังปลูกไดในพื้นท่ีแหงแลง น้ํามันท่ีบีบจากผลสบูดําสามารถนํามาใชในเคร่ืองยนตดีเซลรอบตํ่าสําหรับการเกษตรแทนน้ํามันดีเซลไดทันที ประชาชนสวนใหญอาจไมรูจักสบูดํา ท้ังท่ีในความเปนจริงเปนพืชท่ีปลูกในประเทศไทยมานานกวา 200 ปแลว โดยชาวโปรตุเกสนําเขามาเม่ือปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา เพื่อใหคนไทยปลูก แลวรับซ้ือเมล็ดซ่ึงมีสีดํากลับไปอัดบีบเปนน้ํามันสําหรับใชทําสบู ดวยเหตุนี้อาจเปนท่ีมาของคําวา “สบูดํา” อยางไรก็ตาม คนไทยจะเรียกช่ือพืชชนิดนีแ้ตกตางกันออกไปในแตละทองถ่ิน ภาคกลางเรียก สบูดํา ภาคตะวนัออกเฉียงเหนือเรียก มะเยา ภาคใตเรียก มะหงเทศ สวนภาคเหนือเรียก มะหุงฮ้ัว แตช่ือวิทยาศาสตรเรียกวา Jatropha curcas Linn.

สบูดําเปนพืชน้ํามันทางเลือกท่ีเหมาะสมอีกชนิดหนึ่ง ท่ีผูเช่ียวชาญดานการเกษตรระบุวา หากมีการพัฒนาเมล็ดพันธุและมีวิธีดูแลการเพาะปลูกท่ีเหมาะสมแลวจะสามารถใหน้ํามันตอไรไดสูงถึงปละ 300 ลิตร แตถาปลูกตามธรรมชาติจะไดผลผลิตเพียง 100 ลิตรตอไรตอปเทานั้น ขณะท่ีผลผลิตปาลมใหน้ํามันปละประมาณ 600 ลิตร แตตองใชเวลาปลูก 3 - 4 ป และขอดีอีกประการหนึ่งจากท่ีสบูดาํเปนพืชรับประทานไมไดซ่ึงแตกตางจากพชืน้ํามันชนิดอ่ืน จึงทําใหราคาไมผันผวน โดยราคาเมล็ดสบูดําอยูท่ีประมาณ 3 - 4 บาทตอกิโลกรัม การสกัดตองใชจํานวนเมล็ดถึง 4 กิโลกรัมจึงจะไดน้ํามัน 1 ลิตร ทําใหตนทุนน้ํามันสบูดําอยูท่ี 12 - 16 บาทตอลิตร ซ่ึงยังคงตํ่ากวาราคาน้ํามันปาลมดิบท่ีมีราคาคอนขางผันผวนประมาณ 14 - 22 บาทตอลิตร น้ํามันสบูดําท่ีสกัดไดจะสามารถนําไปใชกบัเคร่ืองจักรกลทางการเกษตรท่ีเปนเคร่ืองยนตดเีซลรอบตํ่าได เชน เคร่ืองปนไฟ รถอีแตน รถแทรกเตอร หรือเคร่ืองสูบน้ําไดโดยไมตองดัดแปลงเคร่ืองยนต แตมีปญหาดานคุณภาพบางประการ อาทิ คาความหนดืท่ีสูงกวาน้ํามันดเีซลถึง10 เทา ทําใหไมสามารถใชกับเคร่ืองยนตดเีซลรอบสูงท่ัวไปได จําเปนตองนําไปผานกระบวนการ Transesterification แปลงเปนไบโอดีเซล ( B 100 ) กอนนําไปผสมกับน้ํามันดีเซลปกติเพื่อใชเปนเช้ือเพลิง ในตางประเทศสบูดําเปนพชืทองถ่ินท่ีมีอยูท่ัวไปในประเทศเม็กซิโก และไดมีการสงเสริมใหเพาะปลูกในประเทศตางๆ ในทวีปอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย มานานเกือบ 20 ปแลว โดยเฉพาะประเทศท่ีมีพืน้ท่ีแหงแลงเปนจํานวนมากซ่ึงไมสามารถใชประโยชนทางการเกษตรได เชน ประเทศในทวีปแอฟริกา หรืออินเดีย ซ่ึงนอกจากจะไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนในประเทศเหลานั้นแลว ยังพบวามีหลายประเทศในแถบยุโรป อาทิ ประเทศเยอรมนี ประเทศอังกฤษ ท่ีเขาไปลงทุนเพาะปลูกสบูดําท่ีประเทศอินเดีย และ ประเทศ

Page 4: Bio diesel

มาลิ (Mali) ซ่ึงประเทศเหลานี้ไดเขารวมในสนธิสัญญาเกียวโต โดยมีเปาหมายท่ีจะลดการปลอยกาซเรือนกระจก เพื่อบรรเทาปญหาภาวะโลกรอน ซ่ึงมาตรการหน่ึงท่ีจะลดปญหาดังกลาว คือการใชพลังงานทดแทนจากเช้ือเพลิงชีวภาพโดยมีขอตกลงท่ีเรียกวา “The EU Biofuel Directive” มีเปาหมายการใช เอทานอล และ ไบโอดีเซล จากรอยละ 2 ของปริมาณการใชเช้ือเพลิงท้ังหมดในป 2005 เพิ่มเปนรอยละ 5.75 ในป 2010 และ รอยละ 20 ภายในป 2020 ประเทศในกลุมยุโรปจึงมีการสงเสริมการปลูกตนเรพเพ่ือนําเมล็ดเรพไปเปนวัตถุดิบผลิตไบโอดีเซล แตจากเปาหมายท่ีกําหนดไวพบวาปริมาณไบโอดีเซลท่ีจะผลิตไดภายในประเทศมีไมเพียงพอ จึงตองไปลงทุนปลูกพืชน้ํามันในประเทศอ่ืนและรับซ้ือผลผลิตกลับมายังประเทศของตน นอกจากเหตุผลของการนํามาใชเปนพลังงานทดแทนแลว ประโยชนจากการเพาะปลูกสบูดาํยังมีไวเพื่อใชเปนพืชคลุมดินลดการกดัเซาะหนาดนิจาก ลมและนํ้า รวมท้ังชวยปรับปรุงคุณภาพของดินใหสามารถใชเพาะปลูกพืชเกษตรอื่นได น้ํามันพชืใชแลว ในระหวางท่ีตองรอการขยายพื้นท่ีเพาะปลูกปาลมใหเพยีงพอ วัตถุดิบอีกประเภทหนึ่ง ท่ีควรสงเสริมใหนําไปผลิตไบโอดีเซล คือ น้ํามันพืชใชแลว ซ่ึงนอกจากจะเปนประโยชนดานพลังงานแลว ยังชวยลดปญหาดานส่ิงแวดลอมและสาธารณสุข โดยในชวง 20 ปท่ีผานมา ท่ัวโลกมีอัตราเฉล่ียในการบริโภคน้ํามันพชืเพิ่มข้ึนถึงรอยละ 4 ตอป สงผลใหปจจบัุนมีการบริโภคน้ํามันพืชสูงกวา 100 ลานตันตอป เพราะวิถีการบริโภคท่ีหันมานิยมอาหารประเภทจานดวน (Fast Food) ท่ีปรุงดวยการทอดมากข้ึน ผลท่ีตามมา คือ มีน้ํามันพืชใชแลวจํานวนมากท่ีเหลือจากการปรุงอาหารซ่ึงจําเปนตองหาวิธีจัดการ ไมวาเปนการกําจดั บําบัด หรือนํากลับมาใชประโยชนใหม โดยไมกอใหเกิดปญหาดานส่ิงแวดลอมและสาธารณสุข

สําหรับประเทศไทยมีการบริโภคน้ํามันพืชกวา 800,000 ตันตอป ประเมินกันวานาจะมีน้ํามันพืชใชแลวเหลือมากกวา 100 ลานลิตรตอป ในจํานวนนี้ สวนหนึ่งนําไปใชประโยชนเปนวัตถุดิบในการผลิตสบู หรือใชผสมเปนอาหารสัตว ขณะท่ีบางสวนถูกท้ิงออกสูคูคลองสาธารณะซ่ึงกอใหเกิดปญหาตอส่ิงแวดลอม บางก็ถูกลักลอบนําไปขายในราคาถูกเพื่อใชทอดซํ้า ซ่ึงน้ํามันพืชท่ีนํากลับมาใชซํ้าจะมีลักษณะท่ีเส่ือมสภาพท้ังทางกายภาพและทางเคมี ท้ังนี้ผูท่ีบริโภคอาหารท่ีปรุงดวยน้ํามันพืชดังกลาวตอเนื่องเปนเวลานาน เซลลตับและไตจะถูกทําลาย รวมถึงอาจเปนโรคมะเร็งไดอีกดวย ภาครัฐ ไดตระหนักถึงปญหาดานสุขภาพของประชาชนท่ีบริโภคน้ํามันพืชใชแลวโดยไมรูตัว จึงไดออกประกาศ ฉบับท่ี 283 ป 2547 โดยกําหนดมาตรฐานน้ํามันพืชท่ีนําไปใชประกอบอาหารเพ่ือจําหนาย แตประสบกับปญหาการบังคับใชกฎหมาย ประกอบกับภาระตนทุนท่ี

Page 5: Bio diesel

สูงข้ึนของผูประกอบการในปจจุบัน ทําใหบางรายนําน้ํามันพืชใชแลวมาปรุงอาหารเพ่ือลดตนทุน ยังผลใหการรณรงคไมนําน้ํามันพืชใชแลวมาใชซํ้าไมคอยไดผลเทาท่ีควร ซ่ึงตางจากประเทศท่ีพัฒนาแลว ไมวาจะเปนสหรัฐอเมริกา ยุโรป หรือญ่ีปุน ท่ีมีการออกกฎหมายมาควบคุมดูแล และมีวิธีการจัดการกับน้ํามันพืชใชแลวอยางเขมงวด เพราะถือวาเปนของเสียท่ีตองถูกกําจัด หรือบําบัดอยางถูกตองตามกฎหมาย โดยประเทศพัฒนาแลวตางๆ นิยมนําน้ํามันพืชใชแลวมาใชประโยชนในดานพลังงานดวยการนําไปผลิตเปน “น้ํามันไบโอดีเซล” ซ่ึงมีการดําเนนิการอยางเปนรูปธรรม ในป 2550 บริษัทบางจากฯ ไดริเร่ิมโครงการรับซ้ือน้ํามันพืชใชแลวจากตลาดท่ัวไป และรับซ้ือผานสถานีบริการน้ํามันกวา 20 แหง เพื่อใชเปนวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลของหนวยผลิตไบโอดีเซลบางจาก สุขุมวิท64 มีกําลังผลิต 50,000 ลิตรตอวัน

Page 6: Bio diesel
Page 7: Bio diesel

ไบโอดีเซลในประเทศไทย o ป 2528 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัฯ ทรงมีพระราชดําริใหมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร สราง

โรงงานสกัดน้าํมันปาลมขนาดเล็ก ณ สหกรณนิคมอาวลึก จังหวัดกระบ่ี เนื่องจากเปนแหลงท่ีมีการปลูกปาลมน้ํามันเปนจํานวนมาก ประกอบกับเกิดวิกฤติราคาน้ํามันปาลมดิบตกตํ่าเพราะมีผลผลิตลนตลาด และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางโรงงานสกัดน้ํามันปาลมบริสุทธ์ิขนาดเล็กมีกําลังผลิตวันละ 110 ลิตร ณ ศูนยการศกึษาพัฒนาพิกลุทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดนราธิวาส

o ป 2543 กองงานสวนพระองคไดทําวจิัยพฒันา และทดลองนําน้ํามันปาลมบริสุทธ์ิหรือปาลมดีเซล มาทดลองใชกับรถยนตเคร่ืองยนตดเีซลของกองงานสวนพระองค ท่ีพระราชวังไกลกงัวล อําเภอหวัหิน จังหวดัประจวบคีรีขันธ

o จากผลความสําเร็จดังกลาว ในวันท่ี 9 เมษายน พ.ศ.2544 พระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวัฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหนายอําพล เสนาณรงค องคมนตรี เปนผูแทนพระองค ยื่นจดสิทธิบัตร ณ กรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย ในพระปรมาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัฯ ช่ือท่ีแสดงถึงการประดิษฐคือ “การใชน้ํามันปาลมกล่ันบริสุทธ์ิเปนน้ํามันเช้ือเพลิงเคร่ืองยนตดีเซล” สิทธิบัตรเลขท่ี 10764

o วันท่ี 16 พฤษภาคม พ.ศ.2544 วันพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ มีหนวยงาน 4 หนวยงาน ไดนําผลงานเกี่ยวกบัการวิจยัใชน้าํมันปาลมเปนน้ํามันในเคร่ืองยนตดเีซลไปจัดนิทรรศการที่สวนจิตรลดา ไดแก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การปโตรเลียมแหงประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ และบริษัท ยนูิวานิช จํากัด

o ป พ.ศ.2544 สํานักงานคณะกรรมการวิจยัแหงชาติไดจัดสงผลงานในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัฯ ไปรวมแสดงในงานนิทรรศการส่ิงประดิษฐนานาชาติช่ืองาน “Brussels Eureka 2001” ณ กรุงบรัสเซลส ประเทศเบลเยยีม ดวยพระอัจฉริยะภาพและพระปรีชาสามารถในการประดิษฐคิดคนของพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวัฯ สงผลใหผลงานการคิดคน 3 ผลงานของพระองค คือ “ทฤษฎีใหม” “โครงการฝนหลวง” และ “โครงการน้ํามันไบโอดีเซลสูตรสกัดจากน้าํมันปาลม” ไดรับเหรียญทอง ประกาศนยีบัตรสดุดีเทิดพระเกยีรติคุณ พรอมถวยรางวลั ในงานดังกลาวลวนเปนผลงานการคิดคนแนวใหมในการพัฒนาประเทศ นํามาซ่ึงความปลาบปล้ืมปติยินดแีกประชาชนชาวไทยท้ังมวล ตอมา หนวยงานราชการ ภาคเอกชน เกษตรกร และบริษทัผูคาน้ํามัน รวมมือกันพัฒนาหนวยผลิตตนแบบ ในหลายๆ โครงการ อยางตอเนื่อง จนสามารถผลิตไดในเชิงพาณิชย และเพื่อเปนการสงเสริมใหประชาชนไดรูจักและสรางความม่ันใจในการใชน้ํามันไบโอดีเซล ภาครัฐจึงไดมีโครงการนํารอง เพื่อสงเสริมการใชน้าํมันไบโอดีเซล ดังตอไปนี ้

o โครงการทดลองจําหนายน้ํามันไบโอดีเซล B2 ไดเร่ิมดําเนินการในชวงปลายป 2547 โดยเปน

Page 8: Bio diesel

โครงการที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) สนับสนุนใหนําไบโอดีเซลมาผสมกับน้ํามันดีเซลเพื่อทดแทนสารเพ่ิมความหลอล่ืนในสัดสวนรอยละ 2 (B2) จําหนายผานสถานีบริการน้ํามันบางจาก และ ปตท. โดยจําหนายใหรถยนตสองแถวรับจางของจังหวดัเชียงใหมท่ีเขารวมประมาณ 1,300 คัน ในราคาท่ีตํ่ากวาน้าํมันดีเซลปกติ 50 สตางคตอลิตร โครงการน้ีถือเปนโครงการนํารองสนับสนุนใหผูใชรถหันมาใชน้ํามันไบโอดีเซล

o โครงการนํารองของชุมชนสหกรณชาวสวนปาลมน้ํามันกระบ่ี ซ่ึงมีพื้นท่ีปลูกปาลมประมาณ 200,000 ไร มีโรงหีบน้าํมันท่ีมีกําลังการผลิต 200,000 ลิตรตอวัน สามารถขยายกําลังการผลิตเพิ่มเปน 400,000 ลิตรตอวันได และมีการลงทุนสรางโรงงานไบโอดีเซล กําลังผลิต 20,000 ลิตรตอวัน โดยใชเทคโนโลยีการผลิตของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร เปนผูออกแบบ และไดรับการสงเสริมจากภาครัฐ

o โครงการนํารองหวยโมง จังหวัดหนองคาย มีพื้นท่ีท่ีเหมาะสมตอการปลูกน้ํามันปาลมประมาณ 40,000 ไร และไดทดลองปลูกปาลมในพ้ืนท่ีดังกลาวประมาณ 30 เดอืน ไดผลใกลเคียงกับการทดลองในจังหวดัสุราษฎรธานี ปจจบัุนไดมีบริษัทเอกชนกําลังศึกษารายละเอียดเพ่ือเขารวมโครงการ นอกจากนี้ภาครัฐยังมีโครงการอ่ืนๆ สําหรับศึกษาความเปนไปไดในการผลิตและการใชน้ํามันไบโอดีเซล อาทิ

o โครงการศึกษาความเหมาะสมการผลิตและการใชไบโอดีเซลจากพืชน้ํามันและไขมันสัตว ซ่ึงเปนการทดลองใชงานจริงกับรถยนตราชการ โดยใชไบโอดีเซลผสมกับน้ํามันดีเซลในสัดสวนรอยละ 20 , 40 และ 100 ตามลําดับ แลวนําผลการใชมาเปรียบเทียบสมรรถนะกับรถท่ีใชน้ํามันดีเซลปกติ

o โครงการศึกษาออกแบบจดัต้ังโรงงานผลิตไบโอดีเซลนํารองระดับชุมชน โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดสงเสริมใหมีการศึกษาพัฒนาเครื่องตนแบบระบบผลิตไบโอดีเซลระดับชุมชนจากน้ํามันปาลมดิบแบบตอเนื่อง ขนาดกําลังการผลิต 50 ลิตรตอวัน

o โครงการศึกษาจัดทําแผนยุทธศาสตรและปฏิบัติการสงเสริมการใชไบโอดีเซลในภาคขนสง เพื่อศึกษาวจิัย พัฒนาและสาธิต การใชงานจริงไบโอดีเซลรวมกับกาซธรรมชาติเปนเช้ือเพลิงในรถยนตตูโดยสาร และรถยนตในลักษณะ Dual Fuel โดยใชน้ํามันไบโอดีเซลรอยละ 30 ผสมกับกาซธรรมชาติอัด

o โครงการกรุงเทพฟาใสดวยไบโอดีเซล เปนโครงการนํารองของ พพ. เพื่อสงเสริมการจําหนายน้ํามันไบโอดีเซล B5 ในเชิงพาณิชย ในเขตพื้นท่ีกรุงเทพฯ เพื่อเปนการสงเสริม ประชาสัมพันธและ

Page 9: Bio diesel

สรางความรู ความเขาใจใหกบัประชาชน o โครงการหนวยผลิตไบโอดีเซลจากน้ํามันพืชใชแลว ขนาดกําลังผลิต 50,000 ลิตรตอวัน ของบริษัท

บางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) โดยนอมนําแนวพระราชดําริดานพลังงานทดแทน มาขยายผลและสงเสริมใหประชาชนหนัมาใชไบโอดเีซล พรอมเปดจุดรับซ้ือน้ํามันพืชใชแลวเพือ่ผลิตไบโอดีเซล ณ โรงกล่ันน้ํามันบางจาก สุขุมวิท64 และสถานีบริการน้ํามันบางจากอีกกวา 20 แหง ใน กทม. ปริมณฑล และท่ีอําเภอศรีประจันต จงัหวดัสุพรรณบุรี รวมท้ังไดรณรงครับซ้ือน้ํามันพืชใชแลวจากตลาดตางๆ ในเขตกรุงเทพฯ เพื่อเปนวัตถุดบิปอนหนวยผลิตไบโอดีเซลท่ีต้ังอยูในโรงกล่ันน้ํามันบางจาก อีกท้ังไดขยายสถานีบริการน้ํามันบางจากท่ีจําหนายไบโอดีเซลสูตร B5 ออกไปท่ัวประเทศมากกวา 300 แหง ในป 2549 และมีแผนจะเพิ่มเปน 500 แหงในป 2550 ซ่ึงจะเปนการชวยลดปญหาดานส่ิงแวดลอมจากการทิ้งน้าํมันพืชใชแลวสูสาธารณะและลดผลกระทบตอสุขภาพประชาชนจากการนําไปใชซํ้า

o โครงการไบโอดีเซลเพื่อสังคมไทยสูเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา เปนความรวมมือของ กรุงเทพมหานคร บริษัทบางจากฯ และชุมชน ในการรณรงคเพื่อส่ิงแวดลอมและสุขภาพอนามัยท่ีดี โดยรวบรวมน้ํามันพืชใชแลวจากชุมชนมาจําหนายใหกับบริษัทบางจากฯ เพื่อผลิตไบโอดีเซล พรอมนอมนําแนวพระราชดาํริและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาขยายผล ใหเขตพระโขนงเปนพื้นท่ีนํารอง จากนัน้จะขยายใหครบท้ัง 50 เขตใน กทม. รวมถึงผลักดันใหรถยนตของหนวยงาน กรุงเทพมหานคร (กทม.) ใชไบโอดีเซล B5 ซ่ึงเปนการสรางความรวมมือในการจดัการส่ิงแวดลอมของ กทม. และสรางรายไดใหกับชุมชนและทุกภาคสวนท่ีเขารวม โครงการตางๆ เหลานี้มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการใชไบโอดีเซล และมุงสรางความเช่ือม่ันตอประชาชนวาน้าํมันไบโอดีเซลสามารถใชทดแทนน้ํามันดเีซลปกติได และมีการผลิต-จําหนายไดในเชิงพาณิชย

Page 10: Bio diesel

ประวัติความเปนมา

เคร่ืองยนตดีเซลสันดาปภายใน ไดถูกพัฒนาข้ึนคร้ังแรกในป พ.ศ. 2440 (ค.ศ. 1897) โดยวศิวกรท่ีช่ือวา รูดอลฟ ดีเซล สวนการนําน้ํามันจากพืชมาใชในเคร่ืองยนตดีเซลเปนคร้ังแรกเกดิข้ึนในป พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) เม่ือใชไประยะหน่ึงกต็องหยุดไปเนือ่งจากมีการคนพบวิธีการผลิตน้ํามันดีเซลจากปโตรเลียมท่ีมีราคาถูกกวา จนกระท่ังป พ.ศ. 2513 (ค.ศ. 1970) เกิดวกิฤติราคาน้ํามันข้ึนทําใหพลังงานจากพืชไดรับความสนใจอีกคร้ังหนึ่ง ดังรายละเอียดตอไปนี้

o ไบโอดีเซล มีจุดเร่ิมตนมาจากประเทศในแถบยุโรป มีการทดลองกระบวนการ Trans-Esterification ในป พ.ศ.2525 โดยใชเมล็ดเรฟ ณ สถาบัน Institute of Organic Chemistry, Graz, Austria

o ปจจุบันในสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา มีการผลิตและจําหนายอยางกวางขวางโดยไดรับการยอมรับจากบริษัทผูผลิตรถยนตและผูคาน้ํามัน โดยผสมไบโอดีเซลในสัดสวนรอยละ 2 (B2) ซ่ึงบังคับใชในมลรัฐมินิโซตา และรอยละ 20 (B20) ตามคําแนะนําใหใชไดตามกฏหมายยานยนตเช้ือเพลิงทดแทนของสหรัฐอเมริกา

o กวา 28 ประเทศท่ัวโลกมีการศึกษาและพัฒนาการผลิตไบโอดีเซลอยางตอเนื่อง และในรอบ 10 ปท่ีผานมา ประเทศท่ีผลิตไบโอดีเซลเปนอุตสาหกรรมมากท่ีสุด 5 อันดับแรก ไดแก เยอรมนี ฝร่ังเศส อิตาลี สหรัฐอเมริกา และออสเตรีย

o ประเทศสหรัฐอเมริกานิยมใชน้ํามันถ่ัวเหลือง และนํ้ามันใชแลว (Used cooking oil) เปนวัตถุดิบ o ประเทศท่ีพัฒนาแลว ใชน้ํามันปาลม น้ํามันลินสีด และไขสัตว เปนวตัถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล

Page 11: Bio diesel

เทคโนโลยี และกระบวนการผลิต กระบวนการผลิตน้ํามันปาลมดิบ การผลิตน้ํามันปาลมดิบท่ีไดจากโรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบ โดยนําผลปาลมท่ีผานกระบวนการนึ่ง มาทําการสกัด โดยไดผลผลิต 2 ประเภท คือ น้ํามันปาลมท่ีไดจากเนื้อปาลม 15-20% และปาลมเมล็ดในประมาณ 5%

กระบวนการผลิตไบโอดีเซล ประเภทของกระบวนการผลิตไบโอดีเซล แบงออกเปน 4 ประเภทดวยกัน คือ

1. การผลิตไบโอดีเซลแบบกะ (Batch Technology) เปนการผลิตแบบไมตอเนื่องทําใหผลิตไดคราวละไมมาก และผลผลิตมีคุณภาพไมสมํ่าเสมอ แตมีขอดีคือ ใชเงินลงทุนตํ่า

2. แบบตอเนื่อง - ทรานเอสเทอริฟเคช่ัน (Continuous Trans-Esterification) เปนกระบวนการผลิตท่ีตองใชเงินลงทุนสูงกวาแบบแรก แตใหผลผลิตท่ีมีคุณภาพดีกวา และมีกําลังการผลิตสูงกวา

3. แบบตอเนื่อง – 2 ข้ันตอน (2 Step Reaction) เปนกระบวนการท่ีสามารถใชไดกับวัตถุดิบหลายชนดิ รวมถึงน้ํามันท่ีกรดไขมันอิสระสูง โดยการทําปฏิกิริยาเอสเทอริฟเคช่ันในข้ันแรก และผานกระบวนการทรานเอสเทอริฟเคช่ันอีกคร้ัง ทําใหไดผลผลิตท่ีมากกวา 2 ประเภทแรก แตอยางไรก็ตามเงินลงทุนก็สูงข้ึนเชนกนั

4. ไมโครเวฟ เทคโนโลยี (Micro Wave Technology) เปนกระบวนการผลิตท่ีสามารถทําปฏิกิริยาไดเร็วข้ึน ดวยการใชคล่ืนไมโครเวฟ และใชพืน้ท่ีในการติดต้ังนอย อยางไรกต็ามปจจุบันยังคงมีเฉพาะ Pilot Plant และใชเงินลงทุนสูงมาก

Page 12: Bio diesel

กระบวนการผลิตไบโอดีเซล ประกอบดวยข้ันตอนดังน้ี

1. Pre-treatment เปนการสกัดยางเหนียว ส่ิงสกปรก และน้ํา ออกจากนํ้ามันปาลมดิบ 2. Reaction Step เปนกระบวนการทําปฏิกิริยา Transesterification โดยการเติมเมทานอลหรือเอทานอล

พรอมท้ังสารเรงปฏิกิริยา เชน โซเดียมไฮดรอกไซด ภายใตอุณหภูมิสูง ไดเปน เมทิลเอสเตอร หรือ เอทิวเอสเตอร พรอมท้ังได กลีเซอลีนในสัดสวนประมาณรอยละ 10 ซ่ึงจะถูกแยกออกจากไบโอดีเซล หลังจากท่ีปลอยใหเกิดการแยกช้ัน

3. Washing เปนการนําเอาไบโอดีเซลท่ีไดจากการทําปฏิกิริยา Transesterification ไปลางน้ําเพื่อกําจัดกลีเซอลีน และสารปนเปอนอ่ืนๆ ท่ีสามารถละลายนํ้าได

4. Methanol Recovery เปนกระบวนการกล่ัน เพื่อดึงเมทานอลท่ีเหลือจากปฏิกริยากลับมาใชใหม 5. Drying เปนการกําจัดน้ําออกจากไบโอดีเซล 6. Glycerin Evaporation Unit เปนกระบวนการทํากลีเซอลีนใหบริสุทธ์ิท่ี 80% (Technical Grade) 7. Glycerin Distillation Unit เปนกระบวนการทํากลีเซอลีนบริสุทธ์ิท่ี 99.7% (Pharmaceutical Grade)

Page 13: Bio diesel

สําหรับในประเทศไทยไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซล มาอยางตอเนือ่งต้ังแตป 2545 ซ่ึงไดแก

o โครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา o โครงการวิจัยและพัฒนาการผลิตไบโอดีเซลจากน้ํามันพืชโดยสถาบันวิจยัวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) o โครงการศึกษาและสาธิตการทดลองผลิตไบโอดีเซลระดับชุมชน o การพัฒนาระบบผลิตไบโอดีเซลติดต้ังบนรถบรรทุกโดยคณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (มอ.)

ซ่ึงเปนการพฒันาเคร่ืองตนแบบท้ังในการผลิตแบบตอเนื่องและไมตอเนื่อง จนถึงระดับท่ีสามารถผลิตไบโอดีเซลในเชิงพาณิชย เชน หนวยผลิตไบโอดเีซลของบริษัทบางจากฯ และชุมนุมสหกรณชาวสวนปาลมน้ํามันกระบ่ี ซ่ึงไดรับความรวมมือจาก คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ในการออกแบบโรงงานโดยใชเทคโนโลยีท่ีไดจากการวิจัยของทางมหาวิทยาลัยเอง ซ่ึงเปนไปตามมาตรฐานยุโรป โดยมีกระบวนการผลิตครบวงจร คือ มีการนํา เมทานอลกลับมาใชใหม เพื่อไมกอใหเกิดมลภาวะ

Page 14: Bio diesel

นโยบายสงเสริม จากเปาหมายของภาครัฐ ในการสงเสริมการผลิตและใชไบโอดีเซลทดแทนการใชน้ํามันดีเซล เพื่อลดการนําเขาน้ํามันจากตางประเทศ เพิ่มความม่ันคงดานพลังงาน และเปนการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนจากพืช อันเปนผลผลิตภายในประเทศ รวมท้ังการใชเช้ือเพลิงจากพืชยังชวยลดมลพิษทางอากาศ และพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนของประชาชน

o มติคณะรัฐมนตรีวันท่ี 12 พฤศจิกายน พ.ศ.2547 เห็นชอบในหลักการจัดต้ังบริษัทจดทะเบียนเพื่อชวยเหลือเกษตรกรในดานการตลาด การเงิน และการจัดการ โดยจัดต้ังบริษัทจํากัด หรือนิติบุคคลเฉพาะกิจ (Special Purpose Vehicle: SPV) เพื่อสนับสนุนธุรกิจเกษตร

o วันท่ี 18 มกราคม 2548 กระทรวงพลังงานรวมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาและสงเสริมการใชไบโอดีเซลจากปาลมน้ํามัน โดยมีเปาหมายสงเสริมการผลิตและการใชไบโอดีเซล 8.5 ลานลิตร/วัน เพื่อทดแทนการใชน้ํามันดเีซล 10% ในป 2555

o วันท่ี 17 พฤษภาคม 2548 กระทรวงพลังงานรวมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ และกระทรวงการคลัง จัดทําแผนปฏิบัติการพฒันาและสงเสริมการใชไบโอดีเซล เพื่อใหเกิดการพฒันาตามยุทธศาสตรฯ อยางเปนรูปธรรม

Page 15: Bio diesel

มาตรการสงเสริม การผลิตและการใช ไบโอดีเซลเชิงพาณิชยของภาครัฐ มีแนวทางดงันี้

1. สนับสนุนการปลูกปาลม 5 ลานไร เพื่อเปนวัตถุดิบสําหรับผลิตไบโอดีเซล 2. สนับสนุนผูประกอบการผลิตไบโอดีเซล ตามสิทธิประโยชนของสํานักงานคณะกรรมการสงเสริม

การลงทุน BOI เชน ยกเวนภาษีนําเขาเคร่ืองจักร ยกเวนภาษีรายได 8 ป เปนตน 3. สรางตลาดสําหรับไบโอดีเซล โดยใชมาตรการทางภาษ ีเพื่อใหราคาขายปลีกน้ํามันไบโอดีเซลต่ํากวา

น้ํามันดีเซล 4. ออกประกาศกรมธุรกิจพลังงานฯ เร่ือง กําหนดลักษณะและคุณภาพของไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอ

สเตอรของกรดไขมัน พ.ศ. 2548 เม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม 2548 เพื่อสรางความเช่ือม่ันใหแกผูบริโภค

นอกจากนี้แลว เม่ือวนัท่ี 5 กุมภาพันธ 2550 คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) ไดมีมติเห็นชอบเกี่ยวกับราคาไบโอดีเซล ดังนี้ 1. หลักเกณฑกําหนดราคาไบโอดีเซล B 100 B100 Price = 0.97CPO + 0.15 MetOH + 3.32 บาท/ลิตร

2. กําหนดกองทุนน้ํามันเพื่อจูงใจ ใหราคาขายปลีกน้ํามันดีเซล B5 ตํ่ากวาดเีซลปกติเพิ่มใหเปน 1 บาท/ลิตร เม่ือมี B100 มากเพียงพอ

โดย 1. B100 Price คือ ราคา B100 มีหนวยเปน บาท/ลิตร 2. CPO คือ ราคาน้ํามันปาลมดิบ มีหนวยเปน บาท/กิโลกรัม 3. MetOH คือ ราคาเมทานอล มีหนวยเปน บาท/กิโลกรัม

Page 16: Bio diesel

ประโยชน

สําหรับประเทศไทยซ่ึงมีความตองการใชน้าํมันดีเซลสูงสุดในบรรดาผลิตภัณฑน้ํามันชนิดตางๆ และมีอัตราการขยายตัวสูงมากในแตละป ผลจากราคาน้ํามันดีเซลท่ีแพงข้ึนสงผลกระทบตอภาคเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคการขนสง และภาคการเกษตร ซ่ึงเกี่ยวของกับประชาชนสวนใหญของประเทศและเปนผูท่ีมีรายไดนอยท่ีตองเผชิญกับคาครองชีพ และตนทุนดานการเกษตรท่ีสูงข้ึน ดังนั้นประโยชนจากการผลิตไบโอดีเซลเพื่อนํามาใชทดแทนนํ้ามันดีเซล สรุปไดดังนี ้

o ลดการสูญเสียเงินตราตางประเทศในการนาํเขาน้ํามัน o แกไขปญหาความยากจนในระดับรากหญาทําใหเกษตรกรมีรายไดดีข้ึน o เผาไหมไดสมบูรณทําใหลดควันดํา จึงชวยลดการปลอยกาซท่ีกอใหเกิดภาวะเรือนกระจก

(Greenhouse effect) โดยเฉพาะกาซคารบอนไดออกไซด เพื่อแกปญหาโลกรอน o ไอเสียยังมีมลพิษตํ่ากวาการใชน้ํามันดีเซล คือ ไมมีกํามะถันและสารกอมะเร็งเปนองคประกอบ o เพิ่มความม่ันคงดานพลังงานของประเทศ เนื่องจากคุณสมบัติของน้ํามันไบโอดีเซลท่ีใชงานกับ

เคร่ืองยนตดีเซลไดด ีเชนเดียวกับน้ํามันดีเซล และยังสามารถสลับกันใชไดโดยไมจําเปนตองปรับแตงเคร่ืองยนต

o การนําน้ํามันท่ีใชแลวมาเปนวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซล ยังชวยลดปริมาณนํ้ามันทอดซํ้าซ่ึงอาจเปนอันตรายตอรางกาย กอใหเกิดมะเร็งในเม็ดเลือดขาว หรือเนื้องอกในอวัยวะตางๆ ตอผูบริโภคไดดวย

บทสรุป ในอนาคตการใชไบโอดีเซลจะไดรับความนิยมมากข้ึนตามลําดับ ดวยเหตุผลหลายดานดังกลาว ประการท่ีสําคัญท่ีสุด การพัฒนาโครงการไบโอดีเซลในประเทศถือไดวาเปนการพัฒนาเพื่อการพึ่งพาตนเองตามแนวทฤษฎีเศรษฐกจิพอเพียงของพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวัฯ อยางแทจริง

Page 17: Bio diesel

ผลทดสอบการใชไบโอดีเซล ดานสมรรถนะเครื่องยนต, อัตราการส้ินเปลืองน้าํมัน, อัตราการปลอยมลพิษ

การตรวจวัดสมรรถนะและการปลอยมลพษิของรถยนตท่ีใชไบโอดีเซล กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดวาจางท่ีปรึกษา 2 หนวยงาน คือ กรมอูทหารเรือ และกรมควบคุมมลพิษ เพื่อทดสอบสมรรถนะและการปลอยมลพิษของรถยนตท่ีใชไบโอดีเซล โดยทําการทดสอบการใชไบโอดีเซลในสัดสวนท่ีแตกตางกัน คือ B2, B5, B20, B40, B50 และ B100 ผลการทดสอบ ดังนี ้

1. สมรรถนะเคร่ืองยนต ผลการทดสอบรถยนตของกรมอูทหารเรือ พบวา รถยนตท่ีใช B100 เคร่ืองยนตจะมีกาํลังมากท่ีสุดทุกความเร็วรอบ รองลงมา คือ รถยนตท่ีใช B40, B20 และ B5 ตามลําดับ สวนน้ํามันดีเซลทําใหเคร่ืองยนตมีกําลังนอยท่ีสุด กลาวคือ เม่ือใชน้ํามันท่ีมีสวนผสมของไบโอดีเซลในสัดสวนท่ีเพิ่มข้ึนจะทําใหเคร่ืองยนตมีกําลังสูงข้ึน ซ่ึงผลการทดสอบดังกลาวมีความขัดแยงกับผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษ โดยผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษ ระบุวา หากใชน้ํามันท่ีมีสวนผสมของไบโอดีเซล จะทําใหเคร่ืองยนตมีกําลังลดลง โดยนํ้ามันท่ีมีสวนผสมของไบโอดีเซลมากข้ึนยิ่งทําใหเคร่ืองยนตมีกําลังลดลง 2. อัตราการส้ินเปลืองน้ํามันเช้ือเพลิง ผลการทดสอบรถยนตของกรมอูทหารเรือ พบวา รถยนตท่ีใชน้ํามันดีเซลและน้ํามันดีเซลท่ีมีสวนผสมของไบโอดีเซลมีอัตราการส้ินเปลืองไมแตกตางกัน ประมาณ 12 ลิตรตอกิโลเมตร ขณะท่ีผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษ พบวา น้าํมันดีเซลท่ีมีสวนผสมของไบโอดเีซลมีอัตราการส้ินเปลืองนอยกวาน้ํามันดีเซล ทําใหรถยนตสามารถวิ่งไดในระยะทางท่ีเพิม่ข้ึน 3. การปลอยมลพิษ

ควันดํา ผลการทดสอบรถยนตของกรมอูทหารเรือ พบวา รถยนตท่ีใชน้ํามันดีเซลท่ีมี

สวนผสมของไบโอดีเซลมีคาของควันดํานอยกวารถยนตท่ีใชน้ํามันดีเซล โดยรถยนตท่ีใชไบโอดีเซลในสัดสวนท่ีเพิ่มข้ึน ยิ่งทําใหคาควันดําลดลง กลาวคือ ควันดําของรถยนตท่ีใช B100 มีคาตํ่าท่ีสุด สอดคลองกับผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษ กาซจากทอไอเสีย (THC, CO และ CO2)

ผลการทดสอบรถยนตของกรมอูทหารเรือ พบวา รถยนตท่ีใชน้ํามันดีเซลท่ีมีสวนผสมของไบโอดีเซลมีปริมาณการปลอยกาซสวนท่ีเปนกาซพิษ คือ CO และ TCH นอยมาก และต่ํากวาคามาตรฐานท่ีกรมควบคุมมลพิษกําหนด สวนกาซท่ีไมใชกาซพิษ คือ CO2 มีปริมาณการปลอยกาซสูงกวาน้ํามันดีเซลเล็กนอย สอดคลองกับผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษใช B100 มีคาตํ่าที่สุด สอดคลองกับผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษ

Page 18: Bio diesel

กาซจากทอไอเสีย (THC, CO และ CO2) ผลการทดสอบรถยนตของกรมอูทหารเรือ พบวา รถยนตทีใ่ชน้ํามนัดีเซลที่มี

สวนผสมของไบโอดีเซลมีปริมาณการปลอยกาซสวนที่เปนกาซพิษ คือ CO และ TCH นอยมาก และตํ่ากวาคามาตรฐานทีก่รมควบคุมมลพษิกําหนด สวนกาซที่ไมใชกาซพิษ คือ CO2 มีปริมาณการปลอยกาซสูงกวาน้าํมันดีเซลเล็กนอย สอดคลองกับผลการทดสอบของกรมควบคุมมลพิษ

จัดทําโดยศูนยปฏิบัติการเคร่ืองจักรกลท่ี 3 ต.น้ําพอง อ.น้ําพอง จ.ขอนแกน โทร.043-441490